ทบทวนความทรงจำอีกครั้ง : "เส้นทางชีวิตการเป็นนักวิชาการของผม"
รศ.สิทธิกร ศักดิ์แสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เส้นทางในชีวิตการเป็นนักวิชาการของผม เริ่มจากการเป็นนักมวยและต่อยมวยหารายได้เรียนหนังสือด้วยตัวเองจนจบการศึกษาระดับปริญญาโทและได้ทำงานเข้าสู่การเป็นนักวิชาการ ดังนี้
1.เส้นทางชีวิตพื้นฐานที่ช่วยเสริมทำให้ผมเกิดเป็นนักวิชาการ
จากชีวิตเด็กบ้านนอกตัวเล็กๆ ในอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ปี 2529 เรียนจบชั้นประถมที่โรงเรียนวัดสมุหเขตตาราม และ
สอบเข้าเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 (ม.1)โรงเรียนสวนศรีวิทยา โรงเรียนประจำอำเภอ ในขณะเดียวกันก็ชกมวยไทยและชกมวยสากลสมัครเล่นให้โรงเรียนควบคู่กับการเรียนไปด้วย จนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 และ ปี 2536 ได้ทุนการศึกษาทุนนักกีฬามวยสากลสมัครที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ คณะนิติศาสตร์
เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต ปี 2540 ก็สอบเข้าศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา กฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยเดียวกัน ซึ่งรับอิทธิพลทางความคิดจาก ศ.(พิเศษ) ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ในการเลือกเรียนสาขากฎหมายมหาชน และได้รับทุนการศึกษาทุนกีฬามวยสากลสมัครเล่น
หมายเหตุในช่วงเป็นนักมวยไทยและนักมวยสากลสมัครเล่น
มวยไทย (ชื่อมวยไทย รุ่งศักดิ์ ส.วรพิน) ผมเริ่มชกมวย ปี 2527 และเลิกชกมวยไทย ปี 2538 ในปี 2535 -2537 ติดยอดไอ้แอ๊ดระดับประเทศ ต่อยคู่เอกราชดำเนนินและลุมพินีหลายครั้ง
มวยสากลสมัครเล่น เริ่มชกปี 2532 แชมป์โรงเรียน แชมป์จังหวัด เหรียญทองแดงเยาวชนแห่งชาติ แชมป์กีฬามหาวิยาลัยแห่งประเทศไทย 5 สมัย แชมป์กีฬาแห่งชาติและเหรียญทองแดงชิงแชมป์ประเทศไทย
2.เส้นทางชีวตินักวิชาการ
เมื่อผมได้สำเร็จการศึกษานิติศาสตรมหาบัณฑิต (ระดับปริญญาโท) สาขากฎหมายมหาชน ที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (ปี 2543) และได้เป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเวสเทริ์น) ซึ่งในช่วงสมัยผมเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยณิวัฒนา ผมก็มักจะเข้าไปหาอาจารย์ ดร.พีระพันธุ์ พาลุสข คณบดีบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในขณะนั้น (ปัจจุบันท่านอาจารย์ได้เสียชีวิต ด้วยเส้นโลหิตตีบ ในขณะที่ท่านรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์) อาจารย์สั่งสอนและส่งเสริมผมให้เขียนผลงานทางวิชาการ เริ่มต้นจากการเขียนเอกสารประกอบการสอน โดยอาจารย์ได้แปลคู่มือการเขียนตำรา ที่เป็นคู่มือภาษาฝรั่งเศส มาเป็นภาษาไทย โดยให้ผมจับจดขึ้นมาในเรื่องวิธีการเรียบเรียงและวิธีการเขียน ให้เป็นเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน/ตำรา/หนังสือและงานวิจัย ขึ้นมา
และที่สำคัญผมโชคดีที่ได้ทำวิทยานิพนธ์ กับ ศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพทูรย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ท่านสอนวิธีการเขียนวิทยานิพนธ์ วิธีคิดค้นคว้าด้วยตนเอง ทำให้ผมพื้นฐานในการเขียนและเรียบเรียงผลงานทางวิชาการ จนเกิดผลงานทางวิชาการและได้เป็นเคล็ดลับในการเขียนผลงานทางวิชาการที่ผมเขียนผลงานทางวิชาการให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งผมได้รับโอกาสเข้าอบรมประกันคุณภาพการศึกษามาตลอด จนทำให้ผมได้มีรายชื่อที่สามารถเป็นประธานผู้ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ในสถาบันการศึกษา ของ สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) และผมก็ได้เขียนผลงานทางวิชาการตามที่กำหนดตามประกันคุณภาพการศึกษามาตลอด จึงเกิดประโยชน์ของตัวผมเองและตัวสถาบันที่ทำงาน และที่สำคัญจงมีความสุขกับการทำงานต้องคิดว่า "การทำงานเยอะยิ่งได้ความรู้เยอะ" สามรถพัฒนาตนเองได้เร็วกว่าคนอื่น อย่าคิดว่าตัวเองทำงานแล้วคนอื่นไม่ทำงานและคิดน้อยใจแล้วไปว่าคนอื่นโวยวายไป นั่นคือ "สิ่งที่บั่นทอนจิตใจเราทำให้เราไม่สามารถที่จะพัฒนาไปข้างหน้าได้เลย"
ผมเริ่มทำงาน เป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาครั้งแรก วันที่ 16 ตุลาคม 2544 ผมเสียเวลา 3 ปีกับการรับงานบริหาร คือ เป็นหัวหน้าแผนกวินัยและพัฒนานักศึกษา ที่มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเวสเทริ์น) จังหวัดสุพรรณบุรี (ปี 2544-2546) และได้ลาออกไปช่วยเพื่อนทำหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตและเป็นเลขานุการ คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยสันตพล จังหวัดอุดรธานี (ปี 2546-2548) อยู่ดูแลหลักสูตรจนได้รับรองมาตรฐาน แล้วก็เริ่มเขียนผลงานทางวิชาการ คือ การเขียนตำรากฎหมายเบื้องต้น เอกสารประกอบการสอนวิชา นิติปรัชญา บทความ
ปลายปี 2548 เริ่มมีปัญหากับผู้บริหารสถาบัน (ปัญหาที่ผมออกรายโทรทัศน์ท้องถิ่น วิพากษณ์การทำงานของตำรวจ การทำงานของรัฐบาลทักษิณ ในเชิงหลักวิชาการ แต่ได้การถูกเรียกให้ไปพบผู้บริหารวิทยาลัย ให้ผมทำหนังสือขอโทษต่อรัฐบาลผ่านผู้ว่าราชการจังหวัด แต่ผมยืนยันที่จะไม่ทำหนังสือขอโทษ โดยระบุว่าถ้าผมพูดอะไรล่วงละเมิดหรือหมิ่นประมาท ดำเนินทางกฎหมายต่อผมได้เลย จึงเกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างผมกับผู้บริหาร) ประจวบกับคิดอยากกลับบ้าน อยากอยู่ใกล้แม่ จึงลาออกมาอยู่ วิทยาลัยตาปี (ปัจจุบัน เป็นมหาวิทยาลัยตาปี) จังหวัดสุราษฎ์ธานี (ปี 2548) ผมมาอยู่มหาวิทยาลัยตาปี ก็เขียนผลงานทางวิชาการโดยการสนับสนุนจาก ท่านอาจารย์ รองศาสตราจารย์ ดร.โกเมศขวัญเมือง คณบดี ในการเขียนผลงานทางวิชาการ เอกสารประกอบการสอน ตำรา และบทความทางวิชาการ และ
ในขณะเดียวกันท่านอาจารย์ โกเมศ ขวัญเมือง ท่านได้เสนอให้ผมเป็นผู้ช่วย ส.ส. (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์ พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดชุมพร) ให้ผมเข้าเรียนรู้งานในฝ่ายนิติบัญญัติในฐานะอนุกรรมาธิการป้องกันและปรามปรามการทุจริตประพฤติมิชอบสภาผู้แทนราษฎร ทำให้ผมได้พบนักกฎหมาย ที่เป็นนักการเมือง นักวิชาการที่เข้ามาเป็นกรรมาธิการที่มีความรู้ทางกฎหมายโดยเฉพาะทางด้านกฎหมายมหาชน ทำให้ผมมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการเขียนตำรา/บทความความ และทางกรรมาธิการมีการจัดอบรมเสวนาให้ความรู้กฎหมายแก่ประชาชน ผมได้รับแต่งตั้งเป็นวิทยากรของคณะกรรมาธิการเพื่อบรรยายกฎหมายทำให้ผมต้องค้นคว้าเอกสารเพิ่มมากขึ้นและสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ผมได้ความรู้เพิ่มมากขึ้นทำให้ผมสามารถเขียนผลงานวิชาการได้อีก
ในเดือนตุลา 2550 ผมก็เสนอขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ผศ.) และซึ่งในขณะนั้นผมได้รับมอบหมายให้ทำหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชนด้วย (หลักสูตร ปโท) และจัดทำหลักสูตรสำเร็จ เปิดดำเนินการผมทำหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการบริหารหลักสูตรฯ หน้าที่ของผมต้องทำงานดูแลหลักสูตรเกือบทั้งหมด ไม่ว่าเป็นด้านการจัดเอกสาร การจัดทำงบประมาณ และประสานงานต่างๆ รวมไปถึงการจัดตารางเรียนตารางสอน ประสานงานอาจารย์ผู้สอน ปโท ในช่วงเวลานี้เองผมได้เขียนผลงานทางวิชาการเสนอต่ออาจารย์ที่มาสอนพิเศษในหลักสูตร ป.โท ทำให้ผมมีความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีงานเพิ่มมากขึ้น เข่น ความรู้ในการเขียนบทความ เขียนตำรา เขียนงานวิจัย
และในขณะเดียวกัน (ปี 2551-2553) ผมได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการไกล่ข้อพิพาทคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน ต่อมาได้รับการแต่งตั้งอนุกรรมาธิการคณะเดียวกัน ในคณะกรรมาธิการการยุติธรรมการตำรวจ วุฒิสภา อีกตำแหน่งหนึ่ง
ในคณะอนุกรรมาธิการทำหน้าท่ียกร่างกฎหมายไกล่ข้อพิพาทในชั้นสอบสวน และได้รับทุนวิจัยจากสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ด้วยกันในเวลานั้น ผมจึงรู้เรียนงานจากประสบการณ์ประชุม การสัมมนา ต่างๆ
และสิ่งที่สำคัญในช่วงเวลานั้น ผมทำงาน 7 วัน คือ 3 วัน จันทร์ อังคาร พุธ อยู่กรุงเทพฯ (วันหยุดผมจันทร์ อังคาร ส่วนวันพุธ ขออนุญาติโดยมีหนังสือขอตัวจากวุฒิสภา) 4 วัน พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ทำงานที่มหาลัยตาปี ผมใช้ชีวิตแบบนี้ 3 ปี (2551-2553) เต็มในการทำงานแบบไม่มีวันหยุด อยู่ในแหล่งข้อมูลที่สำคัญ ห้องสมุดรัฐสภา ทำให้มีโอกาสค้นคว้าเอกสารและเขียนงานวิจัย เขียตำรา เขียนบทความวิชาการ และหนังสือเพิ่มมากขึ้น เกิดตำราและหนังสือที่ได้ตีพิมพ์หลายเล่ม รวมไปถึงบทความที่ได้รับตีพิมพ์มากกว่า 30 เรื่อง
เดือนตุลา ปี 2554 (ผมใช้เวลาอีก 4 ปี หลังจากได้รับตำแหน่ง ผศ. ซึ่งผมขอ ผศ.ปี กย.2550) ผมก็ยื่นเสนอขอตำแหน่งรองศาสตราจารย์ (รศ.) และได้ผ่านการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยตาปี ในปี 56 มีผลย้อนหลัง ปี 2554 และขณะเดียวกันผมได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการสำนักวิจัยควบคู่กับผู้อำนวยการบริการวิชาการ
อีกงานหนึ่งเป็นการบริการวิชาการให้กับท้องถิ่น ซึ่งทางมหาลัยได้ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ องค์การบริหารส่วนตำบลตะเคียนทอง อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎ์ธานี โดยมอบหมายให้ผมเป็นผู้ประสานงาน ผมได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายและแผนนโยบายให้กับ องค์การบริหารส่วนตำบล (ปี2552-2556) ไปด้วย ได้วางแผนพัฒนา จนองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งนี้ได้รับรางวัลชมเชยพระปกเกล้า ในการบริหารงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล ซึ่งในช่วงที่เป็นที่ปรึกษาให้กับ องค์การบริหารส่วนตำบล ได้มีการร้องขอให้คณะนิติศาสตร์ ให้ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตะเคียนทอง ก็ได้ทำโครงการวิจัยดังกล่าว โดย มี รองศาสตราจารย์ ดร.โกเมศ ขวัญเมือง เป็นหัวหน้าโครงการ ผมเป็นผู้ร่วมวิจัยในโครงการวิจัยนี้ด้วย
ต่อมาผมได้ลาออกจากมหาวิทยาลัยตาปี เมื่อมีนาคม 2556 ผมได้มาทำงานที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (เริ่มงาน ตุลา 2556)
ในขณะที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ ราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ของรศ.ผมต้องให้ เกิดปัญหา คือ
ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ของสถาบันเอกชนต้องให้ สกอ.รับรอง ซึ่งสถาบันได้ส่งเอกสารชี้แจงให้กับ สกอ.รับรอง ช้า ทำให้ สกอ.พิจารณารับรองโดยใช้เกณฑ์ ประกาศ กพอ. เผยแพร่ผลงานวิชาการ 2556 มาพิจารณาเผยแพร่ผลงานผม ทั้งที่ผมเผยแพร่ผลงาน ปี 2552 แต่เอาเกณฑ์ปี 56 มาพิจารณา และสภามหาวิทยาลัยแห่งนั้นไม่นำเสนอเอกสารพิจารณายืนยันให้กับผม ทำให้ ทำให้สกอ.ไม่รับรอง ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ในส่วนของการเผยแพร่ผลงาน แต่รับรองผลงานวิชาการทั้งหมด
ทำให้ต้องยื่นเสนอ รศ.ใหม่ คือ ด้วยการ การเขียนผลงานเผยแพร่ คือ บทความวิจัย 2 เรื่อง (ส่วนงานวิจัย หนังสือ ตำรา รับรองใช้ได้ )
ผมจะยื่นใหม่ในปี 2557 ในสถาบันใหม่ก็ยื่นไม่ได้ เพราะไม่มีระเบียบการขอและการเทียบตำแหน่งทางวิชาการของมหาลัยรอวรับ และต้องรอให้ระเบียบออกมารองรับ
และผมได้ยื่น รศ. เสนอใหม่ ในปี 2558 แต่คณะได้พิจารณาว่าผมเผยแพร่ผลงานซ้ำผิดจรรยาบรรณ เสนอให้มหาวิทยาลัยพิจารณา มหาวิทยาลัยได้ทำหนังสือขอหารือ ไปที่ สกอ. ซึ่ง ใช้เวลาพิจารณาตอบข้อ หารือ มาถึง มหาลัย ปลายปี 2559 ว่าไม่ได้มีการซ้ำซ้อน เพราะการเผยแพร่ใหม่ คือ บทความวิจัย ไม่ใช่บทความรายงานวิจัย ถ้าบทความรายงานวิจัยเผยแพร่ได้ครั้งเดียว แต่บทความวิจัย คือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของการงานวิจัย และทำให้ผมเสียเวลาไป ปี กว่า
และสุดท้าย มหาวิทยาลัย รับการยื่น รศ. เป็นทางการในเดือนธันวาคม 2559 ส่งให้ผู้ทรงอ่าน บทความวิจัย 2 เรื่อง ผลงานการอ่านส่งมาครบ ในต้นปี 2562
ปัญหาต้องเกิดอีกครั้ง คือ มีคนร้องเรียนถึงรักษาการอธิการบดีว่าผลงานผมเผยแพร่ซ้ำและเผยแพร่ผลงาน นั้นมีชื่อผม คนเดียว แต่งานวิจัย ทำกันหลายคน ให้ผมทำหนังสือชี้แจง และผมได้ทำหนังสือชี้แจงต่อมหาลัย
คือ ผมได้เผยแพร่ ผลงานบทความวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งงานวิจัย และเผยแพร่ในส่วนงานวิจัยในบทหรือส่วนที่ผมรับผิดชอบ ไม่ได้เขียนในส่วนที่ไม่ได้รับผิดชอบ ส่วนบทความรายงานวิจัยที่ผมเขียนไปครั้งแรกที่เผยแพร่ใน ปี 2552 นั้นเสนอชื่อไปทุกคนที่ทำวิจัย
และต่อมาผ่านมาอีก 3 เดือน มีหนังสือให้ผมทำหนังสือชี้แจงและให้ผู้วิจัยร่วม ทำหนังสือยินยอมว่าไม่มีส่วนร่วมในการเขียนบทความวิจัย รับทราบและยินยอมการเขียนบทความวิจัยนี้ ผมต้องใช้ความพยายามประสานงานกับผู้ร่วมวิจัย โดยให้ภรรยาไปรับเอกสารจากผู้ร่วมวิจัย ซึ่งนับว่าเป็นเรื่องที่เป็นภาระอย่างมาก แต่ภรรยาก็สามารถเอาเอกสารนั้นมาได้ทั้งหมด เสนอต่อมหาวิทยาลัย
และได้ผ่านการประชุมพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ อีกครั้ง ผ่านคณะกรรมพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ ผ่านสภาวิชาการ และวันนี้ 17 กันยายน 2562 ผ่านสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแต่งตั้งให้ผม ดำรงตำแหน่ง “รองศาสตราจารย์” อีกครั้ง มีผลย้อนหลังปี เดือนธันวาคม 2559
สรุป นับได้ว่าตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ของผมได้รับการอนุมัติ จากสภามหาวิทยาลัย 2 ครั้ง และภายใต้กฎหมาย 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติสถาบันเอกชน พ.ศ .2546 กับพระราชบัญญัติราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยปัญหาทึ่เกิดจากเทคนิคที่ไม่ได้เกิดจากปัญหาคุณภาพของผลงานเลยสักนิดเดียว แต่เป็นปัญหาในเรื่องทางเทคนิครูปแบบขั้นตอน (เงื่อนไข)
「สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ」的推薦目錄:
- 關於สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
- 關於สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
- 關於สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
- 關於สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)... - sittikorn saksang 的評價
- 關於สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 สื่อประชาสัมพันธ์ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นการทั่วไป ... 的評價
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
"เส้นทางชีวิตการเป็นนักวิชาการของผม"
รศ.สิทธิกร ศักดิ์แสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เส้นทางในชีวิตการเป็นนักวิชาการของผม เริ่มจากการเป็นนักมวยและต่อยมวยหารายได้เรียนหนังสือด้วยตัวเองจนจบการศึกษาระดับปริญญาโทและได้ทำงานเข้าสู่การเป็นนักวิชาการ ดังนี้
1.เส้นทางชีวิตพื้นฐานที่ช่วยเสริมทำให้ผมเกิดเป็นนักวิชาการ
จากชีวิตเด็กบ้านนอกตัวเล็กๆ ในอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ปี 2529 เรียนจบชั้นประถมที่โรงเรียนวัดสมุหเขตตาราม และ
สอบเข้าเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 (ม.1)โรงเรียนสวนศรีวิทยา โรงเรียนประจำอำเภอ ในขณะเดียวกันก็ชกมวยไทยและชกมวยสากลสมัครเล่นให้โรงเรียนควบคู่กับการเรียนไปด้วย จนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 และ ปี 2536 ได้ทุนการศึกษาทุนนักกีฬามวยสากลสมัครที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ คณะนิติศาสตร์
เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต ปี 2540 ก็สอบเข้าศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา กฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยเดียวกัน ซึ่งรับอิทธิพลทางความคิดจาก ศ.(พิเศษ) ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ในการเลือกเรียนสาขากฎหมายมหาชน และได้รับทุนการศึกษาทุนกีฬามวยสากลสมัครเล่น
หมายเหตุในช่วงเป็นนักมวยไทยและนักมวยสากลสมัครเล่น
มวยไทย (ชื่อมวยไทย รุ่งศักดิ์ ส.วรพิน) ผมเริ่มชกมวย ปี 2527 และเลิกชกมวยไทย ปี 2538 ในปี 2535 -2537 ติดยอดไอ้แอ๊ดระดับประเทศ ต่อยคู่เอกราชดำเนนินและลุมพินีหลายครั้ง
มวยสากลสมัครเล่น เริ่มชกปี 2532 แชมป์โรงเรียน แชมป์จังหวัด เหรียญทองแดงเยาวชนแห่งชาติ แชมป์กีฬามหาวิยาลัยแห่งประเทศไทย 5 สมัย แชมป์กีฬาแห่งชาติและเหรียญทองแดงชิงแชมป์ประเทศไทย
2.เส้นทางชีวตินักวิชาการ
เมื่อผมได้สำเร็จการศึกษานิติศาสตรมหาบัณฑิต (ระดับปริญญาโท) สาขากฎหมายมหาชน ที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (ปี 2543) และได้เป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเวสเทริ์น) ซึ่งในช่วงสมัยผมเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยณิวัฒนา ผมก็มักจะเข้าไปหาอาจารย์ ดร.พีระพันธุ์ พาลุสข คณบดีบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในขณะนั้น (ปัจจุบันท่านอาจารย์ได้เสียชีวิต ด้วยเส้นโลหิตตีบ ในขณะที่ท่านรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์) อาจารย์สั่งสอนและส่งเสริมผมให้เขียนผลงานทางวิชาการ เริ่มต้นจากการเขียนเอกสารประกอบการสอน โดยอาจารย์ได้แปลคู่มือการเขียนตำรา ที่เป็นคู่มือภาษาฝรั่งเศส มาเป็นภาษาไทย โดยให้ผมจับจดขึ้นมาในเรื่องวิธีการเรียบเรียงและวิธีการเขียน ให้เป็นเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน/ตำรา/หนังสือและงานวิจัย ขึ้นมา
และที่สำคัญผมโชคดีที่ได้ทำวิทยานิพนธ์ กับ ศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพทูรย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ท่านสอนวิธีการเขียนวิทยานิพนธ์ วิธีคิดค้นคว้าด้วยตนเอง ทำให้ผมพื้นฐานในการเขียนและเรียบเรียงผลงานทางวิชาการ จนเกิดผลงานทางวิชาการและได้เป็นเคล็ดลับในการเขียนผลงานทางวิชาการที่ผมเขียนผลงานทางวิชาการให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งผมได้รับโอกาสเข้าอบรมประกันคุณภาพการศึกษามาตลอด จนทำให้ผมได้มีรายชื่อที่สามารถเป็นประธานผู้ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ในสถาบันการศึกษา ของ สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) และผมก็ได้เขียนผลงานทางวิชาการตามที่กำหนดตามประกันคุณภาพการศึกษามาตลอด จึงเกิดประโยชน์ของตัวผมเองและตัวสถาบันที่ทำงาน และที่สำคัญจงมีความสุขกับการทำงานต้องคิดว่า "การทำงานเยอะยิ่งได้ความรู้เยอะ" สามรถพัฒนาตนเองได้เร็วกว่าคนอื่น อย่าคิดว่าตัวเองทำงานแล้วคนอื่นไม่ทำงานและคิดน้อยใจแล้วไปว่าคนอื่นโวยวายไป นั่นคือ "สิ่งที่บั่นทอนจิตใจเราทำให้เราไม่สามารถที่จะพัฒนาไปข้างหน้าได้เลย"
ผมเริ่มทำงาน เป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาครั้งแรก วันที่ 16 ตุลาคม 2544 ผมเสียเวลา 3 ปีกับการรับงานบริหาร คือ เป็นหัวหน้าแผนกวินัยและพัฒนานักศึกษา ที่มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเวสเทริ์น) จังหวัดสุพรรณบุรี (ปี 2544-2546) และได้ลาออกไปช่วยเพื่อนทำหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตและเป็นเลขานุการ คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยสันตพล จังหวัดอุดรธานี (ปี 2546-2548) อยู่ดูแลหลักสูตรจนได้รับรองมาตรฐาน แล้วก็เริ่มเขียนผลงานทางวิชาการ คือ การเขียนตำรากฎหมายเบื้องต้น เอกสารประกอบการสอนวิชา นิติปรัชญา บทความ
ปลายปี 2548 เริ่มมีปัญหากับผู้บริหารสถาบัน (ปัญหาที่ผมออกรายโทรทัศน์ท้องถิ่น วิพากษณ์การทำงานของตำรวจ การทำงานของรัฐบาลทักษิณ ในเชิงหลักวิชาการ แต่ได้การถูกเรียกให้ไปพบผู้บริหารวิทยาลัย ให้ผมทำหนังสือขอโทษต่อรัฐบาลผ่านผู้ว่าราชการจังหวัด แต่ผมยืนยันที่จะไม่ทำหนังสือขอโทษ โดยระบุว่าถ้าผมพูดอะไรล่วงละเมิดหรือหมิ่นประมาท ดำเนินทางกฎหมายต่อผมได้เลย จึงเกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างผมกับผู้บริหาร) ประจวบกับคิดอยากกลับบ้าน อยากอยู่ใกล้แม่ จึงลาออกมาอยู่ วิทยาลัยตาปี (ปัจจุบัน เป็นมหาวิทยาลัยตาปี) จังหวัดสุราษฎ์ธานี (ปี 2548) ผมมาอยู่มหาวิทยาลัยตาปี ก็เขียนผลงานทางวิชาการโดยการสนับสนุนจาก ท่านอาจารย์ รองศาสตราจารย์ ดร.โกเมศขวัญเมือง คณบดี ในการเขียนผลงานทางวิชาการ เอกสารประกอบการสอน ตำรา และบทความทางวิชาการ และ
ในขณะเดียวกันท่านอาจารย์ โกเมศ ขวัญเมือง ท่านได้เสนอให้ผมเป็นผู้ช่วย ส.ส. (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์ พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดชุมพร) ให้ผมเข้าเรียนรู้งานในฝ่ายนิติบัญญัติในฐานะอนุกรรมาธิการป้องกันและปรามปรามการทุจริตประพฤติมิชอบสภาผู้แทนราษฎร ทำให้ผมได้พบนักกฎหมาย ที่เป็นนักการเมือง นักวิชาการที่เข้ามาเป็นกรรมาธิการที่มีความรู้ทางกฎหมายโดยเฉพาะทางด้านกฎหมายมหาชน ทำให้ผมมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการเขียนตำรา/บทความความ และทางกรรมาธิการมีการจัดอบรมเสวนาให้ความรู้กฎหมายแก่ประชาชน ผมได้รับแต่งตั้งเป็นวิทยากรของคณะกรรมาธิการเพื่อบรรยายกฎหมายทำให้ผมต้องค้นคว้าเอกสารเพิ่มมากขึ้นและสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ผมได้ความรู้เพิ่มมากขึ้นทำให้ผมสามารถเขียนผลงานวิชาการได้อีก
ในเดือนตุลา 2550 ผมก็เสนอขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ผศ.) และซึ่งในขณะนั้นผมได้รับมอบหมายให้ทำหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชนด้วย (หลักสูตร ปโท) และจัดทำหลักสูตรสำเร็จ เปิดดำเนินการผมทำหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการบริหารหลักสูตรฯ หน้าที่ของผมต้องทำงานดูแลหลักสูตรเกือบทั้งหมด ไม่ว่าเป็นด้านการจัดเอกสาร การจัดทำงบประมาณ และประสานงานต่างๆ รวมไปถึงการจัดตารางเรียนตารางสอน ประสานงานอาจารย์ผู้สอน ปโท ในช่วงเวลานี้เองผมได้เขียนผลงานทางวิชาการเสนอต่ออาจารย์ที่มาสอนพิเศษในหลักสูตร ป.โท ทำให้ผมมีความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีงานเพิ่มมากขึ้น เข่น ความรู้ในการเขียนบทความ เขียนตำรา เขียนงานวิจัย
และในขณะเดียวกัน (ปี 2551-2553) ผมได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการไกล่ข้อพิพาทคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน ต่อมาได้รับการแต่งตั้งอนุกรรมาธิการคณะเดียวกัน ในคณะกรรมาธิการการยุติธรรมการตำรวจ วุฒิสภา อีกตำแหน่งหนึ่ง
ในคณะอนุกรรมาธิการทำหน้าท่ียกร่างกฎหมายไกล่ข้อพิพาทในชั้นสอบสวน และได้รับทุนวิจัยจากสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ด้วยกันในเวลานั้น ผมจึงรู้เรียนงานจากประสบการณ์ประชุม การสัมมนา ต่างๆ
และสิ่งที่สำคัญในช่วงเวลานั้น ผมทำงาน 7 วัน คือ 3 วัน จันทร์ อังคาร พุธ อยู่กรุงเทพฯ (วันหยุดผมจันทร์ อังคาร ส่วนวันพุธ ขออนุญาติโดยมีหนังสือขอตัวจากวุฒิสภา) 4 วัน พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ทำงานที่มหาลัยตาปี ผมใช้ชีวิตแบบนี้ 3 ปี (2551-2553) เต็มในการทำงานแบบไม่มีวันหยุด อยู่ในแหล่งข้อมูลที่สำคัญ ห้องสมุดรัฐสภา ทำให้มีโอกาสค้นคว้าเอกสารและเขียนงานวิจัย เขียตำรา เขียนบทความวิชาการ และหนังสือเพิ่มมากขึ้น เกิดตำราและหนังสือที่ได้ตีพิมพ์หลายเล่ม รวมไปถึงบทความที่ได้รับตีพิมพ์มากกว่า 30 เรื่อง
เดือนตุลา ปี 2554 (ผมใช้เวลาอีก 4 ปี หลังจากได้รับตำแหน่ง ผศ. ซึ่งผมขอ ผศ.ปี กย.2550) ผมก็ยื่นเสนอขอตำแหน่งรองศาสตราจารย์ (รศ.) และได้ผ่านการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยตาปี ในปี 56 มีผลย้อนหลัง ปี 2554 และขณะเดียวกันผมได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการสำนักวิจัยควบคู่กับผู้อำนวยการบริการวิชาการ
อีกงานหนึ่งเป็นการบริการวิชาการให้กับท้องถิ่น ซึ่งทางมหาลัยได้ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ องค์การบริหารส่วนตำบลตะเคียนทอง อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎ์ธานี โดยมอบหมายให้ผมเป็นผู้ประสานงาน ผมได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายและแผนนโยบายให้กับ องค์การบริหารส่วนตำบล (ปี2552-2556) ไปด้วย ได้วางแผนพัฒนา จนองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งนี้ได้รับรางวัลชมเชยพระปกเกล้า ในการบริหารงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล ซึ่งในช่วงที่เป็นที่ปรึกษาให้กับ องค์การบริหารส่วนตำบล ได้มีการร้องขอให้คณะนิติศาสตร์ ให้ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตะเคียนทอง ก็ได้ทำโครงการวิจัยดังกล่าว โดย มี รองศาสตราจารย์ ดร.โกเมศ ขวัญเมือง เป็นหัวหน้าโครงการ ผมเป็นผู้ร่วมวิจัยในโครงการวิจัยนี้ด้วย
ต่อมาผมได้ลาออกจากมหาวิทยาลัยตาปี เมื่อมีนาคม 2556 ผมได้มาทำงานที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (เริ่มงาน ตุลา 2556)
ในขณะที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ ราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ของรศ.ผมต้องให้ เกิดปัญหา คือ
ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ของสถาบันเอกชนต้องให้ สกอ.รับรอง ซึ่งสถาบันได้ส่งเอกสารชี้แจงให้กับ สกอ.รับรอง ช้า ทำให้ สกอ.พิจารณารับรองโดยใช้เกณฑ์ ประกาศ กพอ. เผยแพร่ผลงานวิชาการ 2556 มาพิจารณาเผยแพร่ผลงานผม ทั้งที่ผมเผยแพร่ผลงาน ปี 2552 แต่เอาเกณฑ์ปี 56 มาพิจารณา และสภามหาวิทยาลัยแห่งนั้นไม่นำเสนอเอกสารพิจารณายืนยันให้กับผม ทำให้ ทำให้สกอ.ไม่รับรอง ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ในส่วนของการเผยแพร่ผลงาน แต่รับรองผลงานวิชาการทั้งหมด
ทำให้ต้องยื่นเสนอ รศ.ใหม่ คือ ด้วยการ การเขียนผลงานเผยแพร่ คือ บทความวิจัย 2 เรื่อง (ส่วนงานวิจัย หนังสือ ตำรา รับรองใช้ได้ )
ผมจะยื่นใหม่ในปี 2557 ในสถาบันใหม่ก็ยื่นไม่ได้ เพราะไม่มีระเบียบการขอและการเทียบตำแหน่งทางวิชาการของมหาลัยรอวรับ และต้องรอให้ระเบียบออกมารองรับ
และผมได้ยื่น รศ. เสนอใหม่ ในปี 2558 แต่คณะได้พิจารณาว่าผมเผยแพร่ผลงานซ้ำผิดจรรยาบรรณ เสนอให้มหาวิทยาลัยพิจารณา มหาวิทยาลัยได้ทำหนังสือขอหารือ ไปที่ สกอ. ซึ่ง ใช้เวลาพิจารณาตอบข้อ หารือ มาถึง มหาลัย ปลายปี 2559 ว่าไม่ได้มีการซ้ำซ้อน เพราะการเผยแพร่ใหม่ คือ บทความวิจัย ไม่ใช่บทความรายงานวิจัย ถ้าบทความรายงานวิจัยเผยแพร่ได้ครั้งเดียว แต่บทความวิจัย คือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของการงานวิจัย และทำให้ผมเสียเวลาไป ปี กว่า
และสุดท้าย มหาวิทยาลัย รับการยื่น รศ. เป็นทางการในเดือนธันวาคม 2559 ส่งให้ผู้ทรงอ่าน บทความวิจัย 2 เรื่อง ผลงานการอ่านส่งมาครบ ในต้นปี 2562
ปัญหาต้องคนเกิดอีกครั้ง คือ มีคนร้องเรียนถึงรักษาการอธิการบดีว่าผลงานผมเผยแพร่ซ้ำและเผยแพร่ผลงาน นั้นมีชื่อผม คนเดียว แต่งานวิจัย ทำกันหลายคน ให้ผมทำหนังสือชี้แจง และผมได้ทำหนังสือชี้แจงต่อมหาลัย
คือ ผมได้เผยแพร่ ผลงานบทความวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งงานวิจัย และเผยแพร่ในส่วนงานวิจัยในบทหรือส่วนที่ผมรับผิดชอบ ไม่ได้เขียนในส่วนที่ไม่ได้รับผิดชอบ ส่วนบทความรายงานวิจัยที่ผมเขียนไปครั้งแรกที่เผยแพร่ใน ปี 2552 นั้นเสนอชื่อไปทุกคนที่ทำวิจัย
และต่อมาผ่านมาอีก 3 เดือน มีหนังสือให้ผมทำหนังสือชี้แจงและให้ผู้วิจัยร่วม ทำหนังสือยินยอมว่าไม่มีส่วนร่วมในการเขียนบทความวิจัย รับทราบและยินยอมการเขียนบทความวิจัยนี้ ผมต้องใช้ความพยายามประสานงานกับผู้ร่วมวิจัย โดยให้ภรรยาไปรับเอกสารจากผู้ร่วมวิจัย ซึ่งนับว่าเป็นเรื่องที่เป็นภาระอย่างมาก แต่ภรรยาก็สามารถเอาเอกสารนั้นมาได้ทั้งหมด เสนอต่อมหาวิทยาลัย
และได้ผ่านการประชุมพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ อีกครั้ง ผ่านคณะกรรมพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ ผ่านสภาวิชาการ และวันนี้ 17 กันยายน 2562 ผ่านสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแต่งตั้งให้ผม ดำรงตำแหน่ง “รองศาสตราจารย์” อีกครั้ง มีผลย้อนหลังปี เดือนธันวาคม 2559
สรุป นับได้ว่าตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ของผมได้รับการอนุมัติ จากสภามหาวิทยาลัย 2 ครั้ง และภายใต้กฎหมาย 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติสถาบันเอกชน พ.ศ .2546 กับพระราชบัญญัติราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยปัญหาทึ่เกิดจากเทคนิคที่ไม่ได้เกิดจากปัญหาคุณภาพของผลงานเลยสักนิดเดียว แต่ปัญหาในเรื่องทางเทคนิค
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
อักษรย่อ ชื่อย่อ ตำแหน่ง หน่วยงานต่างๆ ดังนี้
ร.พ. คือ โรงพยาบาล
ขรก คือ ข้าราชการ
กญ. คือ กองการศึกษาผู้ใหญ่
ปชส. คือ ประชาสัมพันธ์
ภ.ง.ด. คือ ภาษีเงินได้
โทร. คือ โทรศัพท์
ร. คือ รัชกาล
ป.ล. = ปัจฉิมลิขิต
กม. = กฎหมาย
พ.ร.บ. = พระราชบัญญัติ
พ.ร.ฎ. = พระราชกฤษฎีกา
พรก. = พระราชกำหนด
รธน. = รัฐธรรมนูญ
นร. = นักเรียน
นศ = นักศึกษา
จนท. = เจ้าหน้าที่
มร. = มิสเตอร์ (นาย)
สต. = สตางค์
บ. = บาท
ห.ส.น. = ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
ไปรษณีย์
ปท. = ไปรษณีย์โทรเลข
รัฐฯ = รัฐบาล
ตู้ ปณ. = ตู้ไปรษณีย์
การแพทย์
น.พ. = นายแพทย์
พ.ญ. = แพทย์หญิง
ท.พ. = ทันตแพทย์
ท.ญ. = ทันตแพทย์หญิง
ตำแหน่ง-อาจารย์
อ. = อาจารย์
รศ. = รองศาสตราจารย์
ผศ. = ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ศจ. = ศาสตราจารย์
ดร. = ด็อกเตอร์
ผอ. = ผู้อำนวยการ
การศึกษา
สปอ. = สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอ
สปช. = สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
วค. = วิทยาลัยครู
สปจ. = สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด
สปอ. = สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอ
วปอ. = วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สช. = สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
ศธ. = กระทรวงศึกษาธิการ
สปจ. = สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด
สช. = สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
สปช. = สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
การเมือง
ครม. = คณะรัฐมนตรี
รมว. = รัฐมนตรีว่าการ
ส.ส. = สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สจ. = สมาชิกสภาจังหวัด
รมต. = รัฐมนตรี
คคบ. = คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
รมช. = รัฐมนตรีช่วยว่าการ
กอรมน. = กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน
มท. = กระทรวงมหาดไทย
บริษัท หน่วยงาน สถานบันต่างๆ
ธกส. = ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ส.ท. = สมาชิกสภาเทศบาลตำบล
ส.ภ.อ. = สมาชิกสภาอำเภอ
นิด้า = สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บีโอไอ = คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
บ.ด.ท. = บริษัทเดินอากาศไทย จำกัด
กปน. = การประปานครหลวง
ททท. = การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ปตท. = การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย
กฟผ. = การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
กฟภ. = การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
กกร. = คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน
กนอ = การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ห.จ.ก. = ห้างหุ้นส่วนจำกัด
กบว = คณะกรรมการบริหารวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย
กกท. = คณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย
กสท. = การสื่อสารแห่งประเทศไทย
ธอส. = ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ทหาร ตำรวจ ยศต่างๆ
ตร. = ตำรวจ
ก.ตร. = กรมตำรวจ
สน. = สถานีตำรวจนครบาล
สน.ภ. = สถานีตำรวจภูธร
ต.ช.ด. = ตำรวจตระเวนชายแดน
สวญ. = สารวัตรใหญ่
สวส. = สารวัตรสืบสวน
ท.ส. = นายทหารคนสนิท
บช.น. = กองบัญชาการตำรวจนครบาล
ผบ.สูงสุด = ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
บช.ภ. = กองบัญชาการตำรวจภูธร
ผบ.ทบ. = ผู้บัญชาการทหารบก
ร.ด. = รักษาดินแดง
ผบ.ทบ. = ผู้บัญชาการทหารบก
ปปป. = คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ผบ.ทร. = ผู้บัญชาการทหารเรือ
ปปส. = คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ผบ.ทอ. = ผู้บัญชาการทหารอากาศ
สวป. = สารวัตรปราบปราม
ผบก.ป. = ผู้บังคับการกองปราบปราม
อส. = อาสาสมัคร
อ.ตร. = อธิบดีกรมตำรวจ
อื่นๆ…
จีบา = สถาบันบริหารธุรกิจ-จุฬา
สปอ. = องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างเอเชียอาคเนย์
อตก. = องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
ร.พ.ช. = สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท
ร.ส.พ. = องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
อ.ส.ม.ท. = องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย
อ.ส.ท. = องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สปอ. = องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างเอเชียอาคเนย์
อสร. = องค์การผลิตอาหารสำเร็จรูป
อย. = คณะกรรมการอาหารและยา
อสค. = องค์การส่งเสริมการเลี้ยงโคนมแห่งประเทศไทย
สมช. = สภาความมั่นคงแห่งชาติ
สวช. = สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ผกค. = ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
ที่มา https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/99578.html
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 สื่อประชาสัมพันธ์ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นการทั่วไป ... 的推薦與評價
สื่อประชาสัมพันธ์ การเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นการทั่วไป 2566. กรมกิจการผู้สูงอายุ Dop. กรมกิจการผู้สูงอายุ Dop. 2.07K subscribers. ... <看更多>
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ 在 ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)... - sittikorn saksang 的推薦與評價
ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560” ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มาจากการเลือกตั้งแบบผสม คือ... ... <看更多>