SUNHAT / RA’ONG ☀️ Our ancestors referred to the sky as the big sunhat dome, and all earthly creation lay under it ☁️ In the late 1960s My aunty Sina’ Rang wrote the words for this sunhat “Selamat Pakai From Kelabit Girl” (happy wearing, from a Kelabit girl”). Her sister, my aunty Lasong, did the threading of the beads. The beads were a gift from Tony Masonbee who was group headmaster of Baram schools. Sina’ Rang was a student at the school whilst her sister was a cook. The pattern, made of abstract designs and words is typical of basketry patterns of the era of 1960s. They were keen to weave and bead messages that reflected their newly found literacy skills in English and Bahasa ☁️ all that info was passed to me by my mum who is a researcher & also through my cousins kakak Tracy and Bann (Sina’ Rang’s daughters). The hat is now a collection of the British Museum. Kinda lovely how it’s come a full circle and I’m so happy to have it on the cover of my latest album, Sky Songs. Available for pre-order before 26 March via www.tandangstore.com .
Image copyright The Trustees of the British Museum.
1. Purchase CD/Cassette Only HERE >> http://bit.ly/3rF7vhD
To purchase CD/ CS only
2. Purchase Shirt Only Here >> http://bit.ly/3cuvh9M
To purchase only shirt
3. Purchase Combo CD + Shirt HERE >> http://bit.ly/30EC22U
CD and shirt package
4. Purchase Combo Cassette + Shirt HERE >> http://bit.ly/38xyR1q
Cassette and shirt package
5. Purchase Combo CD + Cassette + Shirt HERE >> http://bit.ly/3l7fbXk
All item purchase combo
「abstract pattern」的推薦目錄:
- 關於abstract pattern 在 Facebook 的精選貼文
- 關於abstract pattern 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
- 關於abstract pattern 在 Oui Buddhabless Facebook 的最佳解答
- 關於abstract pattern 在 77 Abstract patterns ideas - Pinterest 的評價
- 關於abstract pattern 在 How to Design Abstract Vortex Pattern | Adobe Illustrator Tutorial 的評價
- 關於abstract pattern 在 中國自稱台灣海峽是它的內海,美軍2艘巡洋艦28日航行通過 ... 的評價
- 關於abstract pattern 在 abstract-factory-pattern · GitHub Topics 的評價
- 關於abstract pattern 在 Design Patterns: Factory vs Factory method vs Abstract Factory 的評價
abstract pattern 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
วันนี้จะขอรีวิวหนังสือ วิทยาการคำนวณชั้นม. ปลาย
วิชาที่ดึงความรู้ป.ตรีสายไอที
มาปูพื้นฐานให้เด็กๆ ทั่วประเทศได้เรียนกัน
.
ซึ่งวิทยาการคำนวณชั้นม.4-5-6 เรียนอะไร? ....โพสต์นี้มีคำตอบ
👉 ม.4 -> ปูพื้นฐานวิทย์คอม ได้แก่ เรียนแนวคิดเชิงคำนวณ, อัลกอริทึม, การทำโครงงาน
👉 ม.5 -> เรียน data science (วิทยาการข้อมูล หรือวิทยาศาสตร์ข้อมูล)
👉 ม.6 -> จะแนวรวมยำเทคโนโลยีให้น้องๆ รู้จัก ตั้งแต่สอนเป็นบล็อกเกอร์ รู้จัก AI, คลาวด์, IoT, AR, การเป็นพลเมืองดิจิตัล , กฏหมายดิจิตัล, การประกอบอาชีพไอที และอื่นๆ (ไม่ยากนะ)
.
===========
รีวิว ม.4
===========
วิทยาการคำนวณ ม.4 มีจำนวน 3 บท
🔥 +++บทที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ +++++
บทนี้จะสอนแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) คืออะไร?
ซึ่งใครไม่รู้จักอาจงงเล็กน้อย ถึงปานกลาง
หรือเกิดคำถามคาใจ เรียนไปใช้ทำอะไรครับคุณครู
.
สำหรับแนวคิดเรื่อง Computational Thinking
(เรียกเป็นภาษาอังกฤษดีกว่า)
มีไว้เพื่อใช้แก้ปัญหาในแวดวง “วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์” 🤩 🤩
จริงๆ แล้วมันไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่แต่อย่างใด
.
ถ้าเราได้นั่งเรียนในระดับมหาวิทยาลัย
หรือได้ฝึกเขียนโปรแกรมไปเรื่อยๆ ก็จะใช้แนวคิดนี้โดยธรรมชาติ
อย่างไม่รู้ตัวอยู่แล้วครับ ไม่ต้องไปเรียนที่ไหน
.
นิยามของ Computational Thinking หรือแนวคิดเชิงคำนวณ
จะประกอบด้วยแนวคิดย่อย 4 อย่างดังนี้
1) Algorithm
2) Decomposition
3) Pattern recognition
4) Abstract thinking
.
หลายละเอียดแต่ละหัวข้อก็ตามนี้
👉 1) Algorithm ชื่อไทย “ขั้นตอนวิธี”
Algorithm คือลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่ชัดเจน การคิดค้น อธิบายขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
.
ถ้าเคยเรียนตอนป.ตรี คงรู้จักคำนี้ดีไม่ต้องอธิบายมาก เช่น
-จะคำนวณหาพื้นที่เส้นรอบวง ต้องมีสเตปคำนวณอย่างไรบ้าง
-จะค้นหาข้อมูลแบบ binary search ต้องมีขั้นตอน 1,2,3 อย่างไรบ้าง
-จะหาเส้นทางที่ใกล้สุดในกราฟ ด้วยวิธี Dijkstra จะมีขั้นตอน 1,2,3 อย่างไรบ้าง
.
👉 2) Decomposition ชื่อไทยคือ “การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา”
.
Decomposition เป็นการพิจารณาเพื่อแบ่งปัญหา หรืองานออกเป็นส่วนย่อย ทำให้สามารถจัดการกับปัญหาหรืองานได้ง่ายขึ้น พูดง่ายๆ เอาปัญหามาแยกย่อยออกเป็นส่วนๆ
.
⌨ ตัวอย่างการนำไปใช้ตอนเขียนโปรแกรม
เช่น การเขียนโปรแกรมแยกเป็นส่วนๆ แยกเป็นแพ็กเกจ แยกเป็นโมดูล
หรือทำระบบเป็น services ย่อยๆ หรือมองเป็น layer เป็นต้น
.
👉 3) Pattern recognition ชื่อไทยคือ “การหารูปแบบ”
.
Pattern recognition เป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะทั่วไปของสิ่งต่าง ๆ
.
⌨ ตัวอย่างการนำไปใช้ตอนเขียนโปรแกรม
เมื่อมีการทำงานของโปรแกรมที่หลากหลายแบบ
แต่ทว่ามีรูปแบบที่แน่นอนซ้ำๆ กัน
เราสามารถยุบโค้ดมาอยู่ในฟังก์ชั่นเดียวกันได้หรือไม่
หรือเขียนเป็นโปรแกรมวนลูป ให้อยู่ในลูปเดียวกัน เป็นต้น
.
👉 4) Abstract thinking ชือไทย “การคิดเชิงนามธรรม”
.
Abstract thinking เป็นกระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อย ในปัญหา หรืองานที่กำลังพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นและเพียงพอในการแก้ปัญหา
⌨ ตัวอย่างการนำไปใช้ตอนเขียนโปรแกรม
-ก็เช่นการใช้ฟังก์ชั่น โดยเราแค่รู้รายละเอียดว่าฟังก์ชั่นทำงานอะไร ต้องการ input/ouput อะไร แล้วได้ return อะไรกลับมา ส่วนเนื้อหาไส้ในละเอียดเรามองไม่เห็น
.
🔥 +++++ บทที่ 2 การแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี +++++++
บททนี้เขาจะปูพื้นฐานอัลกอริทึมให้กับเด็กครับ ได้แก่
2.1 การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.2 สอนให้รู้จักระบุข้อมูล input, ouput และเงื่อนไขของปัญหา
2.3 สอนการนำแนวคิด Computational Thinking มาออกแบบอัลกอริทึม
มี flow chart โผล่มาเล็กน้อย
2.4 สอนเรื่องการทำซ้ำ หรือก็คือสอนให้รู้จักวนลูปนั่นเอง
2.5 สอนอัลกอริทึมได้แก่ การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล
ภาษาอังกฤษก็คือ อัลกอริทึมสำหรับ sort & search
.
🤓 สำหรับเรื่อง sort ก็จะมี
- selection sort (ชื่อไทย การจัดเรียงแบบเลือก)
- insertion sort (ชื่อไทย การจัดเรียงแบบแทรก)
.
🤓 สำหรับเรื่อง search ก็จะมี
-sequential search (ชื่อไทย การค้นหาแบบลำดับ)
-binary search (ชื่อไทย การค้นหาแบบทวีภาค)
.
ลืมบอกไป Big-O ตอนเรียนป.ตรี ก็โผล่ออกมาแว็บๆ นิดหน่อย
เด็กอาจสงสัยมันคืออะไร เป็นญาติอะไรกับ Big-C เปล่าเนี่ย
.
🔥 ++++ บทที่ 3 การพัฒนาโครงงาน ++++
บทนี้ถ้าสรุปสั้นๆ ก็สอนให้เด็กเขียนเสนอโครงงาน
หรือก็คือเขียน proposal เหมือนตอนเรียน ป. ตรีแหละครับ
.
ถ้าใครจำไม่ได้ ก็จะประมาณว่า การเขียนโครงงานต้องมี
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 หลักการ ทฤษฏี และงานที่เกียวข้อง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 4 การทดลองและผลการทดลอง
บทที่ 5 สรุปผล วิเคราะห์ และข้อเสนอแนะ
.
===========
รีวิว ม.5
===========
ในวิชา "วิทยาการคำนวณ" ระดับชั้น ม. 5
ได้ดึงวิชา data science (วิทยาศาสตร์ข้อมูล)
มาปูพื้นฐานให้เด็กๆ ได้เรียนกันแล้ว นับว่าเป็นโชคดี
เพราะวิชาพวกนี้เป็นของสูง กว่าจะสัมผัสก็คงตอนป.ตรี โท เอก
ซึ่งผมจะรีวิวเนื้อหาให้อ่านคร่าวๆ เนื้อหาแบ่งเป็น 4 บท
.
👉 ++++ บทที่ 1 - ข้อมูลมีคุณค่า +++++
.
Data science ในตำราเรียนใช้ชื่อไทยว่า "วิทยาการข้อมูล"
บทนี้จะกล่าวถึง Big Data หรือข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีค่ามากมาย
และมีบทบาทมากในยุค 4.0 นี้ ทั้งภาครัฐและเอกชน
.
ถ้านึกไม่ออกก็นึกถึงเวลาเราเล่นเนตค้นหาใน Google จะพบข้อมูลมากมายมหาศาล ซึ่งเราสามารถนำมาใช้ในธุรกิจเราได้ ก็เพราะเหตุนี้ศาสตร์ด้านข้อมูล จึงมีบทบาทสำคัญอย่างมากอย่างยิ่งยวด
.
จึงไม่น่าแปลกใจที่ทำให้อาชีพนักวิทยาศาสตร์ด้านข้อมูล (ชื่ออังกฤษ data scientist) มันมีบทบาทสำคัญ และเป็นอาชีพที่มีเสน่ห์และน่าสนใจที่สุดยุคศตวรรษที่ 21
.
Data science ถ้าตามหนังสือเขาให้นิยามว่า
"เป็นการศึกษาถึงกระบวนการ วิธีการ หรือเทคนิค ในการนำข้อมูลจำนวนมหาศาล มาประมวลผล เพื่อให้ได้องค์ความรู้ เข้าใจปรากฏการณ์หรือตีความ ทำนายหรือพยากรณ์ ค้นหารูปแบบหรือแนวโน้มจากข้อมูล
และสามารถนำมาวิเคราะห์ต่อยอดเพื่อแนะนำทางเลือกที่เหมาะสม หรือใช้ในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สูงสุด"
.
สำหรับงาน Data science เขาจะมีกระบวนตามขั้นตอนดังนี้
- ตั้งคำถามที่ตนเองสนใจ
- เก็บรวบรวมข้อมูล
- การสำรวจข้อมูล
- การวิเคราะห์ข้อมูล (analyze the data)
- การสื่อสารและการทำผลลัพธ์ให้เห็นเป็นภาพ (communicate and visualize the results)
.
🤔 นอกจากนี้เขายังพูดถึง design thinking ...ว่าแต่มันคืออะไร?
ต้องบอกว่างานของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล
มันไม่ได้จบแค่เอาข้อมูลที่เราวิเคราะห์ได้แล้ว
มาโชว์ให้คนอื่นเข้าใจ
.
ยังต้องมีขั้นตอนการออกแบบแอพลิชั่น
ที่ต้องใช้ข้อมูลจากที่เราวิเคราะห์ไปนั่นเอง
ซึ่งคำว่า design thinking มันก็คือความคิดยิ่งนักออกแบบดีๆ นี้เอง
ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลควรมีไว้เพื่อออกแบบแอพลิชั่นขั้นสุดท้าย
จะได้ตอบสนองความต้องการผู้ใช้
.
👉 ++++ บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล +++++
.
บทนี้ก็แค่จะปูพื้นฐาน
2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในบทนี้จะพูดถึงข้อมูลที่เป็นลักษณะทุติยภูมิ
ที่หาได้เกลื่อนเน็ต และเราต้องการรวบรวมมาใช้งาน
2.2 การเตรียมข้อมูล (data preparation)
เนื้อหาก็จะมี
-การทำความสะอาดข้อมูล (data cleansing)
-การแปลงข้อมูล (data transformation)
ในม.5 ไม่มีอะไรมาก แต่ถ้าในระดับมหาลัยจะเจอเทคนิคขั้นสูง เช่น PCA
-การเชื่อมโยงข้อมูล (combining data)
2.3 การสำรวจข้อมูล (data exploration)
พูดถึงการใช้กราฟมาสำรวจข้อมูล เช่น
กราฟเส้น ฮิสโทแกรม แผนภาพกล่อง (box plot) แผนภาพแบบกระจาย (scatter plot)
พร้อมยกตัวอย่างการเขียนโปรแกรมดึงข้อมูลออกมาพล็อตเป็นกราฟจากไฟล์ csv (หรือ xls)
2.4 ข้อมูลส่วนบุคคล
สำหรับหัวข้อนี้ ถ้านักวิทยาศาสตร์ข้อมูลจะนำข้อมูลส่วนบุคคลมาใช้งาน ต้องเก็บเป็นความลับ ห้ามหลุด
.
ซึ่งประเด็นข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจุบันมีก็มีร่างพรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ออกมาเรียบร้อยแล้ว
.
.
👉 ++++ บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล ++++
.
แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่
.
3.1 การวิเคราะห์เชิงพรรณา (descriptive analytics)
เป็นการวิเคราะห์โดยใช้เลขที่เราร่ำเรียนมาตั้งแต่
- การหาสัดส่วนหรือร้อยละ
- การวัดค่ากลางของข้อมูล พวกค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม
- การหาความสัมพันธ์ของชุดข้อมูล (Correlation) พร้อมตัวอย่างการเขียนโปรแกรมให้ดูง่าย
.
.
3.2 การวิเคราะห์เชิงทำนาย (predictive analytics)
.
- มีการพูดถึงการทำนายเชิงตัวเลข (numeric prediction)
- พูดถึงเทคนิคอย่าง linear regression สมการเส้นตรงที่จะเอาไว้ทำนายข้อมูลในอนาคต
รวมทั้งพูดถึงเรื่อง sum of squared errors
ดูว่ากราฟเส้นตรงมันนาบฟิตไปกับข้อมูลหรือยัง (พร้อมตัวอย่างเขียนโปรแกรม)
- สุดท้ายได้กล่าวถึง K-NN (K-Nearest Neighbors: K-NN) เป็นวิธีค้นหาเพื่อนบ้านใกล้เคียงที่สุด K ตัว สำหรับงาน classification (การแบ่งหมวดหมู่)
***หมายเหตุ*****
linear regression กับ K-NN
นี้ก็คืออัลกอริทึมหนึ่งในวิชา machine learning (การเรียนรู้ของเครื่อง สาขาหนึ่งของ AI)
เด็กสมัยเนี่ยได้เรียนแหละนะ
.
.
👉 +++ บทที่ 4 การทำให้ข้อมูลเป็นภาพและสื่อสารด้วยข้อมูล +++
.
บทนี้ไม่อะไรมาก ลองนึกถึงนักวิทยาศาสตร์ หลังวิเคราะห์ข้อมูลอะไรมาเสร็จสรรพ เหลือขั้นสุดท้ายก็คือ การโชว์ให้คนอื่นดูด้วยการทำ data visualization (เรียกทับศัพท์ดีกว่า)
.
ในเนื้อหาก็จะยกตัวอย่างการใช้ แผนภูมิแท่ง,กราฟเส้น, แผนภูมิวงกลม, แผนการกระจาย
.
สุดท้ายที่ขาดไม่ได้ก็คือการเล่าเรื่องจากข้อมูล (data story telling) พร้อมข้อควระวังเวลานำเสนอข้อมูล
.
.
.
***หมายเหตุนี้ ***
😗 ภาษาโปรแกรมที่ตำราเรียน ม.5 กล่าวถึง และยกตัวอย่างมาให้ดู
ก็ได้แก่ python กับภาษา R
.
สำหรับภาษา R หลายคนอาจไม่คุ้น
คนจบไอทีอาจคุ้นกับ python มากกว่า
แต่ใครมาจากสายสถิติจะคุ้นแน่นอน
เพราะภาษา R นิยมมากในสายงานสถิติ
และสามารถนำมาใช้ในงาน data science ได้ง่ายและนิยมไม่แพ้ python
.
แต่ถ้าคนจาก data science จะขยับไปอีกสายหนึ่งของ AI
ก็คือ deep learning (การเรียนรู้เชิงลึก)
python จะนิยมแบบกินขาดครับ
.
===========
รีวิว ม.6
===========
เนื้อหาแบ่งเป็น 4 บท
👉 บทที่ 1 จะออกแนวสอนการเขียนบล็อก เพื่อเป็นบล็อกเกอร์
เนื้อหา ประกอบด้วย
1.1 องค์ประกอบและรูปแบบพื้นฐานในการสื่อสาร
1.1 เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล
1.1 ข้อควรระวังในการแบ่งปันข้อมูล
👉 บทที่ 2 อันนี้เด็ดดี
2.1 พูดถึงปัญญาประดิษฐ์ (AI), machine learning, deep learning
2.2 พูดถึงการประมวลผลแบบคลาวด์ (clound computing)
2.3 พูดถึง IoT (Internet of Things: IoT) อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง มียกตัวอย่าง smart city
2.4 เทคโนโลยีเสมือนจริง กลาวถึงเรื่อง AR ( Augmented Reality: AR) กับ VR (Virtual Reality: VR)
มีแถมเรื่อง block chain กับ quantum computer
.
แต่เนื้อหาเป็นการเกริ่นๆ เฉยๆ ไม่ได้ลงลึกอะไรมากแบบมหาลัยนะครับ
.
👉 บทที่ 3 พูดถึงการเป็นพลเมืองดิจิทัล
เนื้อหาประกอบไปด้วย
3.1 การเป็นพลเมืองดิจิทัล
3.2 การป้องกันตนเองและผู้อื่น
3.3 กฏหมายและมารยาทในสังคมดิจิทัล
.
👉 บทที่ 4 อาชีพในยุคดิจิทัล
เนื้อหาจะประกอบด้วย
4.1 อาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4.2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีกับสังคมและอาชีพ
4.3 ผลกระทบของเทคโนโลยีกับอาชีพ
4.4 การทำงานร่วมกับเครื่องจักรและระบบอัตโนมัติ
สรุปแล้วเนื้อหาม.6
ตามความเห็น อ่านแล้วง่าย มันแค่เป็นการอธิบายภาพ
แต่ถ้าเป็นม.4 กับ ม.5 จะหนักกว่าหน่อย
.
ส่วนเนื้อหา ม.1 ม.2 ม.3 เดี่ยวมาเล่าให้ฟัง
แอบกระซิบบอกมี Python ด้วยแหละ
.
.
✍เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
👀 อ้างอิง
- วิทยาการคำนวณม.4
- วิทยาการคำนวณม. 5
- วิทยาการคำนวณม.6
.
.
++++++++++++++++++++++++++++=
ทิ้งท้ายในเมื่อ ม.6 มีพูดถึง AI หรือปัญญาประดิษฐ์
เผื่อน้องๆ สนใจอยากศึกษาเชิงลึก เป็นการปูพื้นฐานเรียนต่อมหาลัยจะได้ไม่งง
+++++ขอประชาสัมพันธ์ (ขายของ)
📔 หนังสือ "ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ไม่ยาก" เข้าใจได้ด้วยเลขม. ปลาย (เนื้อหาภาษาไทย)
.
ถ้าสนใจสั่งซื้อเล่ม 1 ก็สั่งซื้อได้ที่ (เล่มอื่นๆ กำลังทยอยตามมา)
👉 https://www.mebmarket.com/web/index.php…
.
ขออภัยยังไม่มีเล่มกระดาษจำหน่าย มีแต่ ebook
.
ส่วนตัวอย่างหนังสือ ก็ดูได้ลิงค์นี้
👉 https://www.dropbox.com/s/fg8l38hc0k9b…/chapter_example.pdf…
abstract pattern 在 Oui Buddhabless Facebook 的最佳解答
เรื่องของจังหวะ...
บทความนี้ได้ข้อมูลมาจากหนังสือที่ดีมากๆๆๆๆเล่มนึง อรอ่านหลายรอบมากเพราะเขียนดีจริงๆ หนังสือชื่อ The Practice and Science of Drawing โดย Harold Speed
แนะนำว่าให้ไปหามาอ่าน คนที่ชอบศิลปะจะสนุกสนานไปกับมันมาก. ไม่จำเป็นต้องวาดรูปได้ก็สนุกเพราะมีข้อมูลลึกๆชวนคิดเกี่ยวกับศิลปะมากมายแบบที่หาเล่มอื่นเทียบยากค่ะ
ขออภัยถ้าอ่านแล้วงงๆ อาจจะแปลเป็นภาษาไทยไม่ค่อยถูกต้อง ช่วย comment แนะนำได้เลยนะคะ🙏
คำว่าจังหวะในบริบทของศิลปะนั้นพูดถึงพลังของลายเส้น, น้ำหนัก และสี โดยคำนึงถึงการจัดวางของมันว่ามีผลต่อความรู้สึกของเราอย่างไร เปรียบง่ายๆเสมือนกับเสียงของโน้ทดนตรีในบทเพลง
ทำนองในดนตรีนั้นส่งผลต่อความรู้สึกของมนุษย์แบบไม่ต้องการคำอธิบาย. ดนตรีและจังหวะในภาษาของเส้นและสีสันในโลกของศิลปะก็ทำงานแบบเดียวกัน. มันคุยกับเราได้เหนือการใช้ภาษาพูด
บางทีการเขียนภาพเหมือนจริงมากๆก็เป็นอันตรายต่อการสูญเสียจังหวะไปเพราะถ้าหากศิลปินให้ความสำคัญกับการคัดลอกสิ่งที่เขียนมากไปก็อาจจะส่งผลทำให้เขาลืมเรื่องของจังหวะในลายเส้นและสีซึ่งถ่ายทอดออกมาจากภายในและเป็นหัวใจสำคัญของการสื่ออารมณ์เหนือคำพูด
การพยายามหาความสัมพันธ์ในธรรมชาติระหว่างรูปทรง, สี ,ลายเส้นและ น้ำหนักเพื่อนำมาสร้าง ‘จังหวะ’ ในรูปภาพนั้นเป็นงานของศิลปิน. คุณไม่ควรที่จะลดละความพยายามนี้แม้ว่าคุณกำลังหมกมุ่นกับดีเทลวิจิตรและเหมือนจริงขนาดไหน
ภาพที่ไร้จังหวะก็ไม่ต่างอะไรกับดนตรีไร้ทำนองที่น่าเบื่อ
Line and mass
ถ้าเราถอดชิ้นส่วนของรายละเอียดในรูปภาพทุกรูปและมองทุกอย่างแบบ abstract เลย เราก็จะเห็นได้ว่ามันมีส่วนประกอบหลักๆคือ เส้น(line) และ กลุ่มก้อน (mass) บางคนก็พูดว่าเส้นนั้นเป็นแค่ขอบของกลุ่มก้อน หรือกลุ่มก้อนนั้นเป็นเพียงพื้นที่ระหว่างเส้น. จะคิดหรือมองแบบไหนก็ตาม 2 สิ่งนี้คือส่วนประกอบหลักๆของทุกๆรูปภาพ
ภาษาของเส้น
Unity and Variety
ภาษาของเส้นนั้นสามารถทำงานได้ด้วยตัวของมันเองโดยไม่ต้องอาศัยความเป็นรูปธรรมลองนึกถึงเส้นเรขาคณิต มันสื่ออารมณ์แบบ abstract ได้ด้วยตัวของมันเอง ตามธรรมชาติส่วนใหญ่แล้วภาษาของลายเส้นก็มักจะทำงานเป็นเรื่องเดียวกันกับสิ่งที่มันเป็น ยกตัวอย่าง ลองนึกถึงภาพของแม่น้ำเราก็จะนึกถึงเส้นแนวนอน คงประหลาดถ้าพยายามใช้สามเหลี่ยมอธิบายความเป็นน้ำ
ทีนี้เวลาพูดถึงคุณภาพของลายเส้น อยากให้คิดเป็น 2 แบบหลักๆคือ
1. Unity - ความสามัคคีกันเป็นหนึ่งเดียวกัน
2. Variety - ความหลากหลาย
*สองอย่างนี้ดูจะขัดแย้งกันแต่มันขาดกันไม่ได้ *
ความสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันคือทักษะการบริหารเอาหลายๆสิ่งเข้ามาอยู่รวมกันได้อย่างมีเอกภาพ แต่ก็จะไร้ชีวิตชีวาหากขาดความหลากหลาย
ยกตัวอย่างของภาษาของความสามัคคีก็คือ เส้นที่มีความซ้ำๆ เส้นที่เว้นเท่ากันหมด เส้นตรง วงกลม เส้นขนาน เป็นต้น
เส้นที่มี unity มากที่สุดจะเป็นอะไรอย่างอื่นไปไม่ได้นอกจากวงกลมและเส้นตรง
ยกตัวอย่างความหลากหลายของเส้นนั้นอาจจะง่ายกว่า มันก็คือความไม่เท่ากันในรูปทรงต่างๆไม่ว่าจะเป็นอะไรก็ตาม แต่ถ้าพูดถึงรูปทรงที่มีความหลากหลายที่สวยงามก็คงหนีไม่พ้นรูปไข่ ตัวอย่างที่ดีคือรูปทรงของใบหน้ารูปไข่งามๆ เพราะการเลี้ยวตัวของเส้นรอบไข่นั้นไม่มีความเหมือนกันเลยแม้แต่จุดเดียว ต่างจากวงกลมซึ่งเลี้ยวในจังหวะเท่ากันเป๊ะรอบวง
ในหนังสือมีการยกตัวอย่างยาวเหยียดมากๆในเรื่อง unity และ variety แต่ขอยกแค่บทเดียวมาพูด
แล้วจังหวะแบบไหนหละถึงงาม
พูดตรงๆว่าเรื่องนี้ไม่มีกฎตายตัว สิ่งที่หนังสือเอามายกตัวอย่างนั้นก็เป็นเพียงแค่ตัวอย่างที่นึกตามได้ง่ายและมีให้เห็นในธรรมชาติ
หน้าคน
ผู้อ่านลองนึกถึงใบหน้าคนที่ดูดี มันจะมีการจัดวางที่มี 2 หลักการนี้ผสมเข้าด้วยกันทั้ง unity และ variety
ใบหน้าของคนเรานั้นจะมีความเท่ากันเป็นสมมาตรของซ้ายและขวา ผนวกกับระยะห่างของการจัดวางนั้นก็ดูมีระเบียบเท่าๆกันแต่รูปด้านprofile ของใบหน้านั้นจะมีความหลากหลายอยู่มาก มีการยึกยือไปมาของเส้นที่เลี้ยวเข้าออกแบบไม่มีอะไรเท่ากันเลยก็ว่าได้
นี่คือตัวอย่างของการทำงานร่วมกันอย่างลงตัวของ unity ความสามัคคีและ variety ความหลากหลาย
นึกเล่นๆดูว่าหากหน้าเรามีความหลากหลายมากเกินไปก็คงจะไม่น่ามองสักเท่าไหร่ อาจจะน่ากลัวด้วยซ้ำ
สรุปคือ
ความหลากหลายแบบไร้ขอบเขตนั้นก็ทำให้เกิดความยุ่งเหยิงและไม่น่ามอง แต่ความนิ่งเกินไปแบบเส้นตรงนิ่งๆก็ช่างน่าเบื่อไร้ชีวิตชีวา
ฉะนั้นจะสังเกตได้ว่าความงามมักจะเกิดเมื่อความหลากหลายนั้นอยู่ภายใต้กฏเกณฑ์ของความสามัคคี
ขออนุญาตแบ่งเป็นหลายๆตอนนะคะเพราะมันยาวเหลือเกิน เดี๋ยวอ่านแล้วจะหลับเสียก่อน
The story of the rhythm...
This article is informative from a very good book. I have read it many times. It's very good. The Practice and Science of Drawing by Harold Speed.
I recommend that you go to read this. People who like art will enjoy it very much. There is no need to draw a picture. It's fun because there is deep information. I think about many art. It's difficult to find other books.
Sorry, if I have read this, I may not translate it in Thai. Please comment and suggest. 🙏
The word beat in the context of art speaks about the power of doodle, weight and color. Considering how it affects our feelings. It's simply like the sound of a musical notebook.
The melodies in music affect the human feeling without explanation. Music and rhythm in the language of lines and colors in the world of art work the same way. It talks to us beyond the use of speaking language.
Sometimes writing a very surreal image is harmful to losing a beat. If the artist focuses on copying the writings, it will make him forget about the beat in the lines and colors that are broadcasted from the inside and the heart of the media. Emotions beyond words.
Trying to find a natural relationship between shapes, colors, patterns and weight to create ' rhythm ' in the photo is the artist's work. You shouldn't lose this effort, even if you're obsessed with Fine and Real Detail.
A can't translate picture is no different than a boring music.
Line and mass
If we take off the detail in every photo and look at everything abstract, we can see that there is a main ingredient in line (line) and group (mass). Some people say that the line is just the edge of that group or group. Just a space between the lines. Whatever you think or look, 2 of these are the main components of every photo.
Language of lines
Unity and Variety
The language of the line can work on its own without concrete. Think of the geometry, abstract emotion by itself naturally. Most of the language of the stripes are the same thing. It's for example, thinking of the river's image. We think of horizontal lines. It's strange if we try to use a triangle to describe water.
Now, when I talk about the quality of the pattern, I want you to think about 2 types. Mainly,
1. Unity - Unity is united.
2. Variety - Diversity
* These two seem to be conflicting but they can't be separated *
Unity is unity. Management skills bring many things together unity. But lifeless without diversity.
For example, the language of unity is repeated, the same line, straight line, straight line, parallel circle, etc.
The line with the most unity will be nothing else, nothing but circles and straight lines.
For example, the diversity of the line may be easier than it is, the unequalities in various shapes, whatever it is. But if you talk about beautiful diversity shapes, you can't escape the oval shape. The good example is the shapes of the face, beautiful oval because of turning. The egg circumference is not the same at all. The same point is different from the circle, which turns in the same rhythm.
In the book, there is a very long example in the unity and variety. But I just lifted up one chapter to say.
What kind of beat is this? It's beautiful.
Frankly speaking, there is no rule. What a book has taken for example is just an example that it is easily recognized and naturally.
A human face.
Readers, think about the face of a good looking person. There will be alignment with these 2 principles mixed together with unity and variety.
Our faces are equally as symmetrical of left and right. Annexation with the distance of the alignment is equally organized. But the profile picture of the face is very diverse. There is a lot of the trending. The lines that turn into design are nothing equal.
This is an example of how unity, unity, unity, and diversity variety.
Just for sure, if our face had too much diversity, it wouldn't look at it. It would be scary.
In summary,
Unbounded diversity is messy and unlikely. But too stillness is boring, lifeless.
Therefore, it is observed that beauty is often born when diversity is under the rule of unity.
I ask permission to divide into several episodes because it's so long. I will read it and I will fall asleep.Translated
abstract pattern 在 How to Design Abstract Vortex Pattern | Adobe Illustrator Tutorial 的推薦與評價
Recently discovered this abstract pattern made out of this distorted vortex using the Disport & Transform tool. I wanted to know a good ... ... <看更多>
abstract pattern 在 中國自稱台灣海峽是它的內海,美軍2艘巡洋艦28日航行通過 ... 的推薦與評價
Link for abstract pattern https://docs.google.com/document/d/1oLXDFXaqEDqT37gaz7rfe8-EiTk_3iWdTktoBnvZ41Q/edit?usp=sharing *Last date for abstract... ... <看更多>
abstract pattern 在 77 Abstract patterns ideas - Pinterest 的推薦與評價
Apr 2, 2016 - Abstract Patterns. See more ideas about abstract pattern, abstract, textures patterns. ... <看更多>