กรณีศึกษา บริษัท General Electric เลิกขายหลอดไฟ /โดย ลงทุนแมน
“General Electric” หรือ GE
บริษัทที่มีจุดเริ่มต้นจาก ทอมัส แอลวา เอดิสัน
นักประดิษฐ์ และนักธุรกิจชาวอเมริกัน
เขาคือผู้ที่ค้นพบว่าไส้หลอดคาร์บอน มีคุณสมบัติเหมาะกับการทำไส้หลอดไฟ เพราะให้แสงสว่างได้ยาวนานกว่า 1,200 ชั่วโมง
ซึ่งเหตุการณ์ในครั้งนั้น คือจุดเริ่มต้นของบริษัทไฟฟ้าที่ยิ่งใหญ่ ชื่อว่า General Electric หรือ GE
GE ดำเนินธุรกิจมาแล้ว 128 ปี และเคยก้าวขึ้นเป็นบริษัทที่มีมูลค่าสูงสุดในโลก
แต่ไม่น่าเชื่อว่าปัจจุบัน พวกเขากำลังประสบปัญหาอย่างหนัก จนต้องทยอยขายสินทรัพย์
ซึ่งรวมไปถึง “ธุรกิจหลอดไฟ” ซึ่งเป็นธุรกิจแรกของบริษัท
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้แสงสว่างของ GE ดับลง?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์มของแหล่งรวมนักคิด
ที่ช่วยอัปเดตสถานการณ์ ในรูปแบบบทความ วิดีโอ
รวมไปถึงพอดแคสต์ ที่มีให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
ลองใช้กันที่ Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ในปี 1878 เอดิสัน ได้ก่อตั้งบริษัทไฟฟ้า Edison Electric Light
และหลังจากที่เขาจดสิทธิบัตรการค้นพบหลอดไฟไส้คาร์บอน
นักลงทุนชื่อดัง “เจ.พี.มอร์แกน” ก็สนใจเข้ามาซื้อหุ้นของบริษัท
แต่ต่อมาเอดิสันที่สนับสนุนระบบไฟฟ้ากระแสตรง กลับพ่ายแพ้ให้กับไฟฟ้ากระแสสลับของบริษัท Westinghouse Electric ที่สามารถจ่ายไฟฟ้าได้ระยะทางไกลกว่า
ซึ่งการพ่ายแพ้ในครั้งนี้ส่งผลให้ผู้ถือหุ้นกดดันเขาให้ออกจากตำแหน่ง
จนกระทั่งปี 1892 บริษัท Edison Electric Light ถูกนำไปควบรวมกับ Thomson-Houston Electric ที่ใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ เกิดเป็นบริษัทใหม่ ซึ่งก็คือ General Electric หรือ GE นั่นเอง
จากนั้นตำนานของ GE ก็เริ่มต้นขึ้น..
บริษัทเติบโตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการคิดค้นเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น หลอดไฟ, ตู้เย็น, เตาไฟฟ้า, โทรทัศน์, เครื่องซักผ้า
ในเวลาถัดมา GE ได้เล็งเห็นโอกาสใหม่ๆ ตั้งเป้าที่จะไม่จำกัดขอบเขตธุรกิจเอาไว้แค่ตลาดสินค้าผู้บริโภค แต่หันไปผลิตสินค้าอุตสาหกรรม และขยายสู่ภาคบริการด้วย
โดยที่ GE ใช้กลยุทธ์การเข้าซื้อกิจการบริษัทอื่น
เพื่อครอบครองเทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ที่ไม่เคยมี
ธุรกิจที่ GE เข้าไปซื้อกิจการ เช่น ธุรกิจผลิตเครื่องยนต์เครื่องบิน, ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์, ธุรกิจพลังงานและโรงไฟฟ้า, ธุรกิจพลาสติก, ธุรกิจสถานีโทรทัศน์ NBC และธุรกิจการเงิน
กลยุทธ์นี้ได้สร้างชื่อแบรนด์ GE ให้แข็งแกร่งข้ามศตวรรษ
โดยในปี 2000 GE กลายเป็นบริษัทขนาดใหญ่สุดของโลก
ที่มีมูลค่าหลักทรัพย์อยู่ที่ 15 ล้านล้านบาท
ซึ่งถือเป็นความสำเร็จสูงสุดของประวัติศาสตร์บริษัท
อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่าการขยายธุรกิจที่กระจายตัวหลากหลาย ทำให้การบริหารงานมีความซับซ้อน และยอดขายเปลี่ยนไปขึ้นอยู่กับธุรกิจนอกเหนือความชำนาญมากขึ้น
จนในที่สุด General Electric ก็ไม่ได้มีรายได้หลักมาจากเครื่องใช้ไฟฟ้า..
ปี 2008 บริษัท General Electric มีรายได้อยู่ที่ 5.7 ล้านล้านบาท โดยที่ทุกๆ 100 บาท มาจาก
ธุรกิจการเงิน (GE Capital) 37 บาท
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี 26 บาท
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานทางพลังงาน 21 บาท
ธุรกิจสถานีโทรทัศน์ NBC 9 บาท
ธุรกิจสินค้าผู้บริโภคและอุตสาหกรรม 6 บาท
และมีกำไรอยู่ที่ 5.5 แสนล้านบาท
ซึ่ง GE Capital คิดเป็นสัดส่วน 33% ของกำไร
ขณะที่สินค้าผู้บริโภคและอุตสาหกรรม มีสัดส่วนเพียงแค่ 1% ของกำไรเท่านั้น
จะเห็นได้ชัดเจนว่า ธุรกิจการเงินเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อบริษัทแทนที่ภาคการผลิต
แต่ในขณะที่ธุรกิจการเงินกำลังไปได้ด้วยดี ก็ได้เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ Subprime ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา
ภาวะฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์แตกตั้งแต่ช่วงปี 2008 ทำให้สถาบันการเงินทั่วโลก รวมทั้ง GE Capital ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง และมีหนี้เสียพุ่งขึ้น ถึงขั้นที่บริษัท GE เกือบจะต้องล้มละลาย
สุดท้ายเพื่อความอยู่รอด GE จึงตัดสินใจขายกิจการที่สร้างชื่อเสียงในอดีต ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้า, ธุรกิจพลาสติก, สถานีโทรทัศน์ NBC รวมทั้งสินทรัพย์ส่วนใหญ่ของ GE Capital
หลังจากนั้น GE พยายามมองหาธุรกิจใหม่
โดยในปี 2015 GE ได้เข้าซื้อ Alstom บริษัทพลังงานและโรงไฟฟ้าสัญชาติฝรั่งเศส ในราคาสูงถึง 3 แสนล้านบาท
แต่ปรากฏว่าสถานการณ์ไม่เป็นดังหวัง เนื่องจากโลกหันไปมุ่งเน้นพลังงานหมุนเวียนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแทน
มาลองดูผลประกอบการของบริษัท General Electric ในปัจจุบัน
ปี 2017 รายได้ 3.8 ล้านล้านบาท ขาดทุน 1.8 แสนล้านบาท
ปี 2018 รายได้ 3.8 ล้านล้านบาท ขาดทุน 7.0 แสนล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 3.0 ล้านล้านบาท ขาดทุน 1.5 แสนล้านบาท
โดยรายได้ในทุกๆ 100 บาท ในปัจจุบันนั้นมาจาก
ธุรกิจผลิตเครื่องยนต์เครื่องบิน 34 บาท
ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ 21 บาท
ธุรกิจพลังงานและโรงไฟฟ้า 19 บาท
ธุรกิจพลังงานหมุนเวียน 16 บาท
ธุรกิจการเงิน 9 บาท
จะเห็นว่า รายได้หลักของ GE ในตอนนี้
เปลี่ยนมาเป็นรายได้จากธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบิน
แต่ฝันร้ายก็ยังไม่จบ
การระบาดของ COVID-19 ส่งผลให้หลายประเทศต้องระงับเที่ยวบิน
คำสั่งซื้อเครื่องบิน รวมถึงเครื่องยนต์จากสายการบินต่างๆ ถูกยกเลิกไปเกือบหมด
ทำให้ GE ขาดรายได้จากการขายเครื่องยนต์เครื่องบิน ซึ่งถือเป็นรายได้หลัก
พอเป็นแบบนี้ จึงทำให้ GE ต้องตัดขายสินทรัพย์บางส่วนออกไปอีก
โดยล่าสุดเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา บริษัทได้ตกลงขาย “ธุรกิจหลอดไฟ” ที่มีจุดเริ่มต้นมาจาก ทอมัส แอลวา เอดิสัน ซึ่งเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของบริษัทมาอย่างยาวนาน
ด้วยเหตุนี้ มูลค่าหลักทรัพย์ของ GE จึงปรับตัวลดลงเหลืออยู่เพียง 1.8 ล้านล้านบาท หรือต่ำกว่าจุดสูงสุดเมื่อปี 2000 ถึง 88%
อีกเรื่องที่น่าตกใจคือ หุ้น GE นั้นอยู่ในดัชนี Dow Jones ซึ่งเป็นดัชนีที่สะท้อนถึงความเป็นผู้นำของอุตสาหกรรมในสหรัฐฯ มาตั้งแต่เริ่มคำนวณครั้งแรกเมื่อปี 1896
แต่ในปี 2018 บริษัทได้ถูกถอดออกจากการคำนวณดัชนีไปเสียแล้ว
เรื่องนี้บอกอะไรกับเรา?
ในโลกของธุรกิจ สิ่งสำคัญไม่แพ้การประสบความสําเร็จ คือ การยืนระยะ
ซึ่งการจะทำเช่นนั้นได้ เราต้องใช้จุดแข็งเพื่อสร้างข้อได้เปรียบเหนือคู่แข่งรายอื่น
แต่ความยากคือ ถ้าเราทำไม่ได้ต่อเนื่อง แม้ครองตลาดมาเกิน 100 ปี ก็มีโอกาสล้มลงได้
เดิมที GE มักจะคิดค้นสินค้านวัตกรรมใหม่ๆ เกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้า ทั้งสำหรับครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม ทำให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่นในตัวแบรนด์
แต่ในระยะหลัง GE เริ่มมองหาธุรกิจที่คิดว่าสร้างผลตอบแทนได้มาก ซึ่งอาจไม่ใช่เรื่องที่ถนัด
และเมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น
ก็กลับกลายเป็นว่า GE ต้องขายธุรกิจที่เป็นจุดเด่นของตัวเองไปแทน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์มของแหล่งรวมนักคิด
ที่ช่วยอัปเดตสถานการณ์ ในรูปแบบบทความ วิดีโอ
รวมไปถึงพอดแคสต์ ที่มีให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
ลองใช้กันที่ Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.businessinsider.com/the-rise-and-fall-of-general-electric-2019-8
-https://www.investopedia.com/insights/rise-and-fall-ge/
-https://edition.cnn.com/2020/05/27/business/ge-light-bulbs-sale/index.html
-https://finance.yahoo.com/quote/GE/
-https://www.annualreports.com/HostedData/AnnualReportArchive/g/NYSE_GE_2008.pdf
-https://www.ge.com/sites/default/files/GE_AR19_AnnualReport.pdf
alstom ge 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的精選貼文
才華洋溢的專業新聞主播 Emmy Hu 特地抽空為大家導讀世界能源產業最新亮點的發展現況。清明連假期間,將優質好文提供給大家做參考。 <3
Via Emmy Hu: "CNN報導,幾個重點:
1. 受困於傳統電力的GE轉向離岸風電,希望在Haliade-X風機上打個翻身仗。
2. 不得不轉向,GE歸因於在再生能源的競爭中落後,太陽能與風力發電的成本快速下降,再不介入離岸風電,GE可能要失去目前的市場地位。
3. 亞洲國家正在聚焦離岸風電,中國是重要地區,因為要降低燃煤污染。美國是另一大市場,東部的麻州、紐約州、紐澤西州都轉向離岸風電。
#X的到底都是哪些衰咖在阻擋台灣的未來
﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍
GE在正在蓬勃發展的風電市場中是個小角色,但這很快就會改變。
GE在一年前投資四億美元,研發了全球最大、最強的離岸風機 Haliade-X,853呎高,跟艾菲爾鐵塔差不多高,可以供應1.6萬個美國家庭用電,今年夏天會在荷蘭試運轉,預計在商業運轉在2021年。美國法國中國英國的離岸風場都可能採用這款風機。(PS:風機是越大越好因為發電量越大,還可以少做水下工程,跟我們半導體越做越小不一樣啦)
不得不做這樣的轉向,GE歸因於它在再生能源的競爭中落後,由於太陽能與風力發電的成本下降,再生能源發展快速,另一方面也因為人們對氣候變化的疑慮。
清潔能源給其他能源的壓力越來越大,3/4的美國燃煤廠都將因為再生能源而退出,卻一樣省消費者荷包。
GE在2015年收購Alstom電力的業務備受批評,唯一一絲曙光是這家公司使GE進入了法國的離岸風電事業。
GE在陸上風電算個咖,去年他是美國市場主要的風機廠商,但是在離岸風電很少,到2019年他應該只有1%,因為離岸風電比較貴也複雜,例如如何在海洋中豎起巨大風機是個大問題。
由於目前全球有25%電力來自於GE的發電設備,GE再不介入離岸風電,這一定會成為一個問題。主要對手西門子歌美颯擁有離岸風電17%市佔率,荷蘭廠商MHI Vestas會超過55%。(PS:台灣廠商是供應鏈,也就是生產這些廠商風機的零件,例如上緯新能源的樹脂是西門子的供應商)
GE進場會使競爭激烈,但風電成本會因為技術進展而掉得更快,但這是個資本密集的領域,GE的技術能不能像他們廣告的那麼好還不知道,況且即使在離岸風電成功,可能還是不抵銷整個GE帝國的問題。
不可否認GE正在踏入一個蓬勃發展的領域,2021年他們希望離岸發電事業達到8500MW裝置容量,是去年的兩倍,希望2022年是三倍。
由於歐洲離岸風電市場已經成熟,亞洲國家正開始聚焦這個領域,GE希望贏得中國訂單,中國正在降低燃煤電力因為污染持續嚴重。
美國也正在轉向離岸風電領域,以符合雄心勃勃的再生能源目標。在過去一年,麻州核准他的第一個商業化風場,可以供電四十萬家庭。紐約、紐澤西州都將往離岸風電發展。
離岸風機經常遭到當地居民反對,但GE在羅德島南方的一個Block Island上的風機,為這個小島生產了足夠電力,那邊的人看起來很喜歡風機,他們覺得這有點驕傲。
#偶爾插花一下編譯好愉悅~ "
原始內容出自 Emmy Hu 臉書分享:
https://www.facebook.com/emmy.hu/posts/10219054898549325
CNN相關報導原文:
GE bets on offshore wind as fossil fuels business stumbles
https://edition.cnn.com/…/ge-offshore-wind-renew…/index.html
♡
CNN報導,幾個重點:
1. 受困於傳統電力的GE轉向離岸風電,希望在Haliade-X風機上打個翻身仗。
2. 不得不轉向,GE歸因於在再生能源的競爭中落後,太陽能與風力發電的成本快速下降,再不介入離岸風電,GE可能要失去目前的市場地位。
3. 亞洲國家正在聚焦離岸風電,中國是重要地區,因為要降低燃煤污染。美國是另一大市場,東部的麻州、紐約州、紐澤西州都轉向離岸風電。
#馬的到底都是哪些衰咖在阻擋台灣的未來
﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍﹍
GE在正在蓬勃發展的風電市場中是個小角色,但這很快就會改變。
GE在一年前投資四億美元,研發了全球最大、最強的離岸風機 Haliade-X,853呎高,跟艾菲爾鐵塔差不多高,可以供應1.6萬個美國家庭用電,今年夏天會在荷蘭試運轉,預計在商業運轉在2021年。美國法國中國英國的離岸風場都可能採用這款風機。(PS:風機是越大越好因為發電量越大,還可以少做水下工程,跟我們半導體越做越小不一樣啦)
不得不做這樣的轉向,GE歸因於它在再生能源的競爭中落後,由於太陽能與風力發電的成本下降,再生能源發展快速,另一方面也因為人們對氣候變化的疑慮。
清潔能源給其他能源的壓力越來越大,3/4的美國燃煤廠都將因為再生能源而退出,卻一樣省消費者荷包。
GE在2015年收購Alstom電力的業務備受批評,唯一一絲曙光是這家公司使GE進入了法國的離岸風電事業。
GE在陸上風電算個咖,去年他是美國市場主要的風機廠商,但是在離岸風電很少,到2019年他應該只有1%,因為離岸風電比較貴也複雜,例如如何在海洋中豎起巨大風機是個大問題。
由於目前全球有25%電力來自於GE的發電設備,GE再不介入離岸風電,這一定會成為一個問題。主要對手西門子歌美颯擁有離岸風電17%市佔率,荷蘭廠商MHI Vestas會超過55%。(PS:台灣廠商是供應鏈,也就是生產這些廠商風機的零件,例如上緯新能源的樹脂是西門子的供應商)
GE進場會使競爭激烈,但風電成本會因為技術進展而掉得更快,但這是個資本密集的領域,GE的技術能不能像他們廣告的那麼好還不知道,況且即使在離岸風電成功,可能還是不抵銷整個GE帝國的問題。
不可否認GE正在踏入一個蓬勃發展的領域,2021年他們希望離岸發電事業達到8500MW裝置容量,是去年的兩倍,希望2022年是三倍。
由於歐洲離岸風電市場已經成熟,亞洲國家正開始聚焦這個領域,GE希望贏得中國訂單,中國正在降低燃煤電力因為污染持續嚴重。
美國也正在轉向離岸風電領域,以符合雄心勃勃的再生能源目標。在過去一年,麻州核准他的第一個商業化風場,可以供電四十萬家庭。紐約、紐澤西州都將往離岸風電發展。
離岸風機經常遭到當地居民反對,但GE在羅德島南方的一個Block Island上的風機,為這個小島生產了足夠電力,那邊的人看起來很喜歡風機,他們覺得這有點驕傲。
#偶爾插花一下編譯好愉悅~
alstom ge 在 台灣物聯網實驗室 IOT Labs Facebook 的最佳貼文
李傑:從預測製造,創造工業4.0之價值
作者:中正大學前瞻中心 2015-12-15
智慧製造(工業4.0)已成全球產業發展重心,美國辛辛那提大學教授、NSF智慧維護系統中心(IMS)主任李傑12月4日出席中正大學前瞻製造系統頂尖研究中心主辦之「2015前瞻製造國際論壇(INDUSTRY4.0)」談到,智慧製造的核心價值就是運用大數據分析,協助產業預測生產問題。以下為演說摘要:
NSF智慧維護系統中心(IMS)成立已有15年,由美國4所大學主導,與15國約80多家企業組成工業4.0產學研聯盟,推動全球智慧製造發展,包括奇異(GE)、博世(Bosch)、西門子(Siemens)、艾斯敦(Alstom)等企業都有加入,台灣則有上銀科技、遠東機械等工具機者也共同參與,期望集合不同的專業,協助產業的轉型與更好發展。
預測性將成為工業4.0的大利基
過去,台灣製造業講求愛拼、靠技術的優勢來創造經濟,工具機產業思考的是如何幫助客戶生產,並解決客戶眼前的生產問題、提高生產效能,但這樣的思維在未來世界將難以生存。未來工具機業要創造更大價值,就要能預測製造中會產生的問題,協助客戶減低硬體出錯率,包括裝機、測試、故障等。
如何做?舉IMS創造的軟體平台為例,把即時量測機器的生產數據並換成人看得懂的訊息,依據訊息做出最多的優化與設備預測,達成機器近零故障之目標,最後再把這些結構式資訊,轉到前線設計端。如奇異(GE)也成立了工業物聯網系統,運用大數據分析方式,預測機器的性能與未來,什麼時候該維修,什麼時候不需要。
想達成近零故障,感測器是首要要件,好的感測要能夠隨著環境、時間、機器震動或生產原料之變化,而隨之調整、優化,感測系統的任務是對人負責,讓製造執行者(技術員)能夠無憂(worry free)的工作。不用整天監控系統,除將大幅減少生產成本,對於技術員的工作及生活品質也能有所提升,這也是留住此產業人才非常重要的觀念與方向之一。
好的感測器更要搭配好的監測軟體,一個真正好的軟體要能夠從可見的世界,延伸到不可見的世界,也就是所謂的預測。每部機器會因有不同的特徵或核心功能,而有不同的參數集合,透過大數據分析,軟體可把搜集到的數據變成預測,提高風險控管的透明度與效能。機器與資訊的結合形成了工業4.0的核心課題-虛實整合系統(Cyber-Physical System, CPS)。
整體而言,工業4.0有5個C的核心架構,分別是Connection、Conversion、Cyber、Cognition、Configuration,簡單來說,要讓人與機器能產生最簡單、最有價值的智慧結合,而且一樣的軟體在不一樣的感測器也能產生同等效能。
工業4.0創造大數據所帶來的知識,讓年輕人不必再像前人要花15年,用經驗來換取知識,年輕人可運用數據分析得出的結果、事實來換取知識,節省了時間與成本之耗損,這也是工業4.0之重要價值。
資料來源:http://www.cw.com.tw/article/article.action?id=5073251
alstom ge 在 GE Completes Acquisition of Alstom Power and Grid Businesses 的相關結果
PARIS, FRANCE - November 2, 2015 - GE [NYSE:GE] announced today that it has completed the acquisition of Alstom's power and grid businesses. ... <看更多>
alstom ge 在 阿爾斯通- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
阿爾斯通公司(Alstom)又譯為阿斯通,是一家大型的法國公司,總部位於法國巴黎附近,其 ... Ge完成对阿尔斯通电力与电网业务的收购. GE News. [2021-09-25] (英語). ... <看更多>
alstom ge 在 紐約州GE電氣公司完成收購Alstom的電力業務 的相關結果
資料來源: Diesel Gas Turbine 網站 日期:2015年11月2日 商情分類:總體經濟及電力、電機設備. 紐約州GE電氣公司已完成收購Alstom SA之電力和電網 ... ... <看更多>