TKBB and Amanie Academy Sign MoU to Collaborate in Islamic Finance Human Capacity Building in Turkey
Participation Banks Association of Turkey (TKBB) and Amanie Academy Sdn Bhd (AASB) have signed a Memorandum of Understanding (MoU) to collaborate in areas of Islamic finance professional human capacity building programmes.
The MoU was signed by Mr Osman Akyüz, the Secretary General of TKBB and Datuk Dr. Mohd Daud Bakar, Chairman of Amanie Academy. The signing was witnessed by other key members of TKBB, Dr. Saygın Sungur, the Director, Banking Services, Mr Halis Çelenk, Head of HR and Training, Ms Fatma Çınar, the Head of International Relations and Corporate Communications and Ms Yasmin Yusof, CEO of Amanie Academy.
During the 12th International Conference on Islamic Economics and Finance in Istanbul, June 2020, President Recep Tayyip Erdoğan, President of Turkey has said that Participation banking and utilization tools of Islamic finance and economics will provide a solid, sustainable and structural alternative to the existing financial system laden with crises. With newly built financial centre, Istanbul will also make it a leader in the sector, given its geostrategic advantage.
This collaboration between TKBB and Amanie Academy is aiming to position Tukey as the Islamic Finance Hub by providing the professional human capacities development programmes and platforms for the interest of Islamic Finance growth in Turkey. Turkish Islamic banks' or also termed as the participation banks’ share of the banking sector is growing and the "segment growth has consistently outpaced that of conventional banks in recent years despite heightened market volatility.
Read more at: http://www.malaysian-business.com/index.php/wordpress/item/4394-tkbb-and-amanie-academy-sign-mou-to-collaborate-in-islamic-finance-human-capacity-building-in-turkey
alternative financial services 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
สังคมไร้เงินสด จะนำไปสู่ สังคมไร้บัตร หรือไม่ ? / โดย ลงทุนแมน
เป็นที่รู้กันว่า การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด กำลังเติบโตอย่างก้าวกระโดด
โดยการไม่ใช้เงินสดก็มีช่องทางให้เลือกที่หลากหลาย เริ่มตั้งแต่บัตรเครดิตและบัตรเดบิต
จนมาถึงแอปพลิเคชันและกระเป๋าเงินดิจิทัลบนสมาร์ตโฟน
แล้วการใช้จ่ายแบบไม่ใช้บัตรเหล่านี้
จะมีโอกาสมาแทนที่บัตรแบบดั้งเดิมหรือไม่ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด
ในช่วงแรกจะเป็น “ยุคบัตรพลาสติก”
โดยเริ่มมาจากบัตรเครดิตในประเทศสหรัฐอเมริกาช่วงปลาย 1950s
และก็มีบัตรเดบิตตามมา ในอีกไม่กี่ทศวรรษ
ประเทศที่ใช้บัตรกันอย่างแพร่หลาย
จนกลายเป็นช่องทางหลักในการใช้จ่าย
ก็คือกลุ่มประเทศที่มีความก้าวหน้าทางการเงินสูง
อย่างเช่น ประเทศต้นกำเนิดบัตรอย่างสหรัฐอเมริกา รวมถึงในทวีปยุโรป
หรือในเอเชีย ตัวอย่างเช่น ญี่ปุ่น, ฮ่องกง, เกาหลีใต้, ไต้หวัน และสิงคโปร์
ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้ การใช้จ่ายผ่านบัตรได้รับความนิยมมานาน
จนในปัจจุบัน มีสัดส่วนประชากรที่มีบัตรเครดิตมากเป็นครึ่งหนึ่ง
ของประชากรทั้งหมดในประเทศ
ขณะที่กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในสมัยนั้น มีความก้าวหน้าทางการเงินที่ช้ากว่า
อย่างเช่นในจีน, อินเดีย และประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงไทย
การใช้จ่ายผ่านบัตรจึงไม่ได้รับความนิยมเป็นวงกว้าง สัดส่วนการใช้บัตรจึงยังมีน้อย
โดยเฉพาะบัตรเครดิต ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้ว กลุ่มคนที่มีบัตรเครดิต คิดเป็นไม่ถึง 10% ของประชากร
นั่นอาจเป็นเพราะว่า การสมัครบัตรเครดิต จะมีเงื่อนไขบางอย่าง
อย่างเช่น หลักฐานการได้รับเงินเดือนย้อนหลัง
หรือเกณฑ์เงินฝากในบัญชีขั้นต่ำ
รวมไปถึงมีการคิดค่าธรรมเนียมด้วย
ต่อมาเมื่อเข้าสู่ช่วงที่อินเทอร์เน็ตได้เข้ามาปฏิวัติโลก
โดยเฉพาะยุครุ่งเรืองของดอตคอมในช่วง 1990s
ช่องทางในการซื้อขาย ได้เพิ่มจากทางหน้าร้าน มาเป็นผ่านหน้าเว็บไซต์ออนไลน์ด้วย เช่นกัน
จุดนี้เอง ก็ได้กลายเป็นตัวเร่งให้มีการใช้บัตรจนกลายมาเป็นที่นิยมมากขึ้น
และไม่กี่ปีหลังจากนั้น ก็ได้มีทางเลือกใหม่ สำหรับใครที่ไม่ใช้บัตร
นั่นก็คือ PayPal ซึ่งถือว่าเป็นแพลตฟอร์มชำระเงินออนไลน์รายแรก ๆ ของโลก
ซึ่งบัญชีของ PayPal จะผูกกับบัญชีธนาคาร และใช้ PayPal เป็นช่องทางโอนและรับเงินที่ทำได้ทั้งในประเทศไปจนถึงระหว่างประเทศ
มาถึงตรงนี้ การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด จึงเริ่มเข้าสู่ “ยุคไร้บัตร”
และเมื่อมาถึงยุครุ่งเรืองของสมาร์ตโฟน
ก็ได้มีการพัฒนาระบบใช้จ่ายแบบไร้บัตรในอีกรูปแบบหนึ่งเพิ่มเข้ามา
นั่นก็คือการใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชัน ซึ่งจะคล้ายกับการจ่ายด้วยแอปพลิเคชันของธนาคารไทยที่เราคุ้นเคย
ตัวอย่างเช่น Venmo ที่ในภายหลัง PayPal ได้เข้ามาซื้อกิจการไป
หรือ Cash App แอปพลิเคชันของบริษัท Square ฟินเทคที่มีผู้ก่อตั้งคนเดียวกับ Twitter
ซึ่งทั้งคู่ต่างใช้วิธีเดียวกัน นั่นคือการใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชันที่ผูกกับบัญชีธนาคาร
ส่วนกระเป๋าเงินดิจิทัล เกิดมาจากการที่เหล่าผู้พัฒนาแพลตฟอร์ม
ต่างต้องการสร้าง Ecosystem เพื่อใช้จ่ายในเครือข่ายแพลตฟอร์มทั้งหมดของตัวเอง
อย่างเช่น Apple Pay และ Google Pay
แต่ในกลุ่มประเทศที่บัตรเป็นที่นิยมมานาน
แม้ว่าจะมีช่องทางการชำระเงินออนไลน์แบบอื่น ๆ เพิ่มเข้ามา และมีอัตราการเติบโตที่สูง แต่บัตรก็ยังเป็นที่นิยมมากที่สุดอยู่ดี
ซึ่งส่วนหนึ่งก็สะท้อนได้จาก บริษัทฟินเทคที่ยังให้ความสำคัญกับบัตรอยู่
อย่างในสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือเป็นประเทศที่ใช้เงินสดน้อยเป็นอันดับ 5 ของโลก
ฟินเทคยักษ์ใหญ่อย่าง Square ที่แม้จะมี Cash App แต่ผลิตภัณฑ์หลักก็เริ่มมาจาก Square Reader
ที่เป็นอุปกรณ์สี่เหลี่ยมขนาดเล็ก ใช้เชื่อมต่อกับสมาร์ตโฟนเพื่อรับชำระเงินด้วยบัตร
ไปจนถึงเครื่องรับบัตรตามร้านค้า ที่มีค่าธรรมเนียมต่ำกว่าเครื่องรับบัตรของธนาคาร
หรืออย่างเกาหลีใต้ ประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในภูมิภาคเอเชีย
แม้กระเป๋าเงินดิจิทัลของแอปพลิเคชันแช็ตอันดับหนึ่งอย่าง KakaoPay จะได้รับความนิยมสูงมาก จนเป็นรองเพียงบัตรของธนาคารใหญ่ไม่กี่เจ้า
แต่ด้วยความที่คนเกาหลีใต้ยังนิยมใช้บัตร KakaoPay จึงออกบัตรเดบิตที่ผูกกับบัญชี KakaoPay ควบคู่ไปด้วย
ถ้าอย่างนั้น เจ้าตลาดในยุคไร้บัตร คือใคร ?
คำตอบก็คือกลุ่มประเทศที่สัดส่วนประชากรที่เข้าไม่ถึงบริการของธนาคาร
หรือมีบัญชีธนาคารแต่ไม่เคยใช้บริการด้านอื่น ยังมีอยู่มาก
เลยทำให้จำนวนคนที่ใช้บัตรมีน้อย
ซึ่งเมื่อโลกได้มุ่งสู่การใช้จ่ายแบบออนไลน์มากขึ้นเรื่อย ๆ แต่เมื่อไม่มีบัตร
ช่องทางการชำระเงินที่เลือกใช้ จึงเป็นกระเป๋าเงินดิจิทัลและแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน
ตัวอย่างประเทศในกลุ่มนี้ก็เช่น จีน, อินเดีย รวมถึงประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยเฉพาะจีนและอินเดีย เป็นสองประเทศที่มีสัดส่วนของกลุ่มคนที่เข้าไม่ถึงธนาคาร มากที่สุดในโลก
ในขณะเดียวกัน ก็มีสัดส่วนการใช้กระเป๋าเงินดิจิทัลสูงที่สุด
และแม้ว่าจีนจะยังไม่ใช่ประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในเอเชีย
แต่จีนก็ได้กลายเป็นเจ้าตลาดการใช้จ่ายแบบไร้บัตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกไปแล้ว
ซึ่งจุดเริ่มต้น เกิดขึ้นหลังจากที่ฝั่งตะวันตกได้รู้จัก PayPal ไปประมาณ 5 ปี
คนจีนก็ได้รู้จักกับ Alipay ที่เป็นต้นตำรับของกระเป๋าเงินดิจิทัล
ในตอนนั้นอีคอมเมิร์ซอย่าง Alibaba ได้พัฒนา Alipay เพื่อเป็นแพลตฟอร์มใช้จ่าย
สำหรับซื้อของออนไลน์แบบไม่ต้องใช้บัตร จนต่อยอดมาเป็นกระเป๋าเงินดิจิทัล
รวมถึงแอปพลิเคชันเพื่อใช้จ่ายผ่านสมาร์ตโฟนด้วย
จนในปี 2013 Alipay สามารถแซง PayPal ขึ้นมาเป็นแพลตฟอร์มชำระเงินบนสมาร์ตโฟนที่ใหญ่ที่สุดในโลกได้สำเร็จ
โดยในแถบเอเชียนั้น นอกจากเหตุผลเรื่องคนเข้าถึงบริการจากธนาคารไม่มากแล้ว
การใช้จ่ายแบบไร้บัตรยังเติบโตได้อย่างรวดเร็วตามการเติบโตของแพลตฟอร์ม
อย่างอีคอมเมิร์ซ, แช็ต, เรียกรถ หรือสั่งอาหาร
ในประเทศจีน เช่น Alipay และ WeChat Pay
ในประเทศอินเดีย เช่น Paytm
ในประเทศกลุ่มอาเซียน เช่น GrabPay, ShopeePay และ GoPay
ทำให้ในปัจจุบัน เอเชียแปซิฟิก ได้กลายเป็นภูมิภาคเดียวในโลก
ที่สัดส่วนการใช้จ่ายเมื่อซื้อของออนไลน์
มาจากช่องทางกระเป๋าเงินดิจิทัลมากที่สุด
และได้แซงการใช้บัตรไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ซึ่งการเติบโตของการใช้จ่ายแบบไร้บัตร ก็ทำให้คนเริ่มตั้งคำถามว่า
หรือ Cashless Society จะกลายเป็น Cardless Society ไปด้วย
สำหรับคำตอบของเรื่องนี้ ถ้ามาดูในกลุ่มประเทศที่ใช้เงินสดน้อยสุดในโลก
จะพบว่าในประเทศเหล่านั้น บัตรยังคงเป็นช่องทางหลักในการใช้จ่ายอยู่
หรือถ้าลองหาคำตอบจากเรื่องใกล้ตัว จะพอเห็นได้ว่า
การใช้จ่ายแบบไร้บัตร ยังมีข้อจำกัดในบางเรื่อง
อย่างเช่นเวลาจ่ายค่าสมาชิกรายเดือนแบบตัดเงินอัตโนมัติ
หรือการซื้อขายของแบบข้ามประเทศ ก็ยังต้องใช้บัตรอยู่
แม้จะมี PayPal ที่เป็นช่องทางไร้บัตรแบบสากล
แต่ในแถบบ้านเราก็ไม่ได้รับความนิยมมากนัก
และยังรวมไปถึงบางคนที่ถ้าต้องจ่ายเงินก้อนใหญ่ การใช้บัตรยังรู้สึกปลอดภัยมากกว่า เช่นกัน
นอกจากนั้นบัตรเครดิต ยังมีโมเดลธุรกิจที่จะหักเงินส่วนหนึ่งจากร้านค้า
เพื่อให้ธนาคารผู้ออกบัตรมาทำส่วนลดโปรโมชัน เพื่อให้ผู้ใช้บัตรรู้สึกคุ้มค่า
และในมุมมองของผู้บริโภค การจ่ายด้วยบัตรเครดิต จะเป็นการได้สินค้าหรือบริการมาก่อน แล้วค่อยจ่ายเงินทีหลังในวันที่ครบกำหนด
ดังนั้นสำหรับผู้ที่มีบัตรเครดิต ก็มักเลือกที่จะใช้บัตรเครดิตก่อนช่องทางอื่น ๆ เพราะมีสิทธิประโยชน์มากกว่า
นั่นคงทำให้เราพอสรุปได้ว่า สังคมไร้เงินสด จะยังไม่ได้กลายเป็นสังคมไร้บัตรในเร็ววันนี้
ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว การชำระเงินแต่ละช่องทาง ก็มีจุดเด่นที่ต่างกันไป
แถมยังคอยเสริมจุดอ่อนของกันและกันไปในตัว
แม้แต่ธนาคารเอง ที่ถึงจะโดนดิสรัปต์จากการใช้จ่ายแบบไร้เงินสด
แต่แพลตฟอร์มเหล่านั้นโดยส่วนใหญ่ ยังคงต้องผูกกับบัญชีธนาคารอยู่ดี..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bcg.com/publications/2020/southeast-asian-consumers-digital-payment-revolutions
-https://asia.nikkei.com/Editor-s-Picks/FT-Confidential-Research/Mobile-payments-sideswipe-credit-cards-in-Southeast-Asia
-https://www.rapyd.net/resource/asia-pacific-ecommerce-and-payments-guide/
-https://www.techinasia.com/future-southeast-asias-mobile-wallets
-https://www.mckinsey.com/industries/financial-services/our-insights/joining-the-next-generation-of-digital-banks-in-asia
-https://www.mckinsey.com/industries/financial-services/our-insights/banking-matters/digital-commerce-and-the-rise-of-alternative-payments-methods
-http://documents1.worldbank.org/curated/en/332881525873182837/pdf/126033-PUB-PUBLIC-pubdate-4-19-2018.pdf
-https://www.jpmorgan.com/merchant-services/insights/reports/thailand-2020
alternative financial services 在 IELTS Nguyễn Huyền Facebook 的最讚貼文
TỪ VỰNG IELTS CHỦ ĐỀ GOVERNMENT SPENDING
▪️government money = public money = national budgets = state budgets = government funding: ngân sách nhà nước
▪️to spend money on s.th = to invest money in s.th = to allocate money to/for s.th: chi tiền vào việc gì
▪️investment (n): sự đầu tư
▪️important sectors = essential sectors: những lĩnh vực quan trọng
▪️medical services = health care = medical care: lĩnh vực y tế/chăm sóc sức khỏe
▪️schooling = education: giáo dục
▪️a huge amount of money = millions of dollars: 1 khoản tiền khổng lồ/ hàng triệu đô la
▪️a waste of the budget = a waste of public money = money-wasting: phí tiền
▪️to provide financial support for = to offer financial assistance to = give money to: hỗ trợ tài chính cho…
▪️financial resources: các nguồn lực tài chính
government incentives: trợ cấp của chính phủ
to raise people’s awareness: nâng cao ý thức con người
▪️to provide public services: cung cấp các dịch vụ công
▪️to create new jobs: tạo ra việc làm mới
to support people who are living in poverty: hỗ trợ người nghèo
▪️help from the state = government help: sự giúp đỡ từ chính phủ
▪️government support for… = government funding for…: sự hỗ trợ của chính phủ cho…
▪️to rely on alternative sources of financial support: dựa vào các nguồn hỗ trợ tài chính khác
▪️to cut all kinds of costs related to: cắt giảm toàn bộ chi phí liên quan đến
▪️to be responsible for: chịu trách nhiệm về vấn đề gì
▪️social security: an ninh xã hội
▪️government spending categories: các khoản mục chi tiêu của chính phủ
infrastructure investment: sự đầu tư vào cơ sở hạ tầng
▪️research spending: chi tiêu cho lĩnh vực nghiên cứu
Ví dụ
The government might have to devote a larger budget to healthcare in order to serve the growing demands of an ageing population.
Chính phủ có thể phải dành ngân sách lớn hơn cho y tế để phục vụ nhu cầu ngày càng tăng của dân số già.
The combination of higher pension spending and lower tax revenues can seriously affect government spending and the economy as a whole.
Sự kết hợp giữa chi trả lương hưu cao hơn và thu nhập từ thuế thấp hơn có thể ảnh hưởng nghiêm trọng đến chi tiêu của chính phủ và nền kinh tế nói chung.
The government should provide financial support to those who are willing to relocate to rural areas.
Chính phủ nên hỗ trợ tài chính cho những người sẵn sàng chuyển về sống ở các vùng nông thôn.
The government should also invest more money in rural infrastructure and facilities.
Chính phủ cũng nên đầu tư nhiều tiền hơn vào cơ sở hạ tầng và cơ sở vật chất ở nông thôn.
https://ielts-nguyenhuyen.com/tu-vung-ielts-chu-de-government-spending/
#ieltsnguyenhuyen #stationery #stationeryshop