วิกฤติตุรกี ค่าเงินอ่อน เงินสำรองหาย ไล่ผู้ว่าธนาคารกลาง /โดย ลงทุนแมน
วิกฤติในประเทศตุรกี ได้กลับมาเป็นที่พูดถึงอีกครั้ง
หลังจากที่ผู้ว่าธนาคารกลางถูกปลดแบบฟ้าผ่า
และล่าสุดก็ได้มีประเด็นเพิ่มเติมเรื่องทุนสำรองระหว่างประเทศมูลค่ากว่า 4 ล้านล้านบาทหายไป
ปัญหาเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องใหม่
เพราะมันเริ่มเป็นประเด็นมาตั้งแต่ 3 ปีที่แล้ว
และยังทวีความรุนแรงขึ้นมาถึงปัจจุบัน ทางเลือกที่ประเทศตุรกี
จะนำมาใช้ต่อสู้เพื่อยื้อสถานการณ์ ก็เหลือน้อยลงไปทุกที
แล้วตลอด 3 ปีมานี้ มันเกิดอะไรขึ้นบ้าง ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เราลองมาดูสถานการณ์ของตุรกีตั้งแต่ปี 2018 จนถึงตอนนี้
การเติบโตของ GDP ลดลงจาก 7.5% ในปี 2017 มาเหลือ 1.8% ในปี 2020
ในขณะที่ ประเทศตุรกีมีอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มขึ้นมากกว่า 12% ต่อปี ติดต่อกัน มาตั้งแต่ปี 2018
นั่นจึงทำให้ค่าเงินลีรา อ่อนค่าอย่างรุนแรงกว่า 115% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ
ทุนสำรองระหว่างประเทศก็ได้ลดลงไปเกินกว่าครึ่งหนึ่ง
จนเหลือน้อยที่สุด ในรอบ 18 ปี
จากตัวเลขที่เห็นคงพอบอกได้ว่า ประเทศตุรกี ไม่ได้อยู่ในภาวะปกติ
ซึ่งจริง ๆ แล้ว วิกฤติในลักษณะนี้ ไม่ได้เกิดขึ้นกับตุรกีเป็นประเทศแรก
เพราะมันมักจะเกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา ที่เศรษฐกิจกำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว
อย่างเช่น อาร์เจนตินา บราซิล และแอฟริกาใต้ เมื่อปี 2018
ที่แม้บริบทในแต่ละประเทศจะต่างกัน แต่รูปแบบและสาเหตุมีความคล้ายคลึงกัน
จุดร่วมที่สำคัญของประเทศเหล่านี้ก็คือ “การใช้เงินเกินตัวของรัฐบาล”
หรือก็คือ งบประมาณที่ขาดดุลอย่างหนัก เพื่อต้องการเร่งให้เศรษฐกิจโตได้เร็วภายในระยะเวลาอันสั้น
เมื่อต้องการใช้เงินเยอะ จึงต้องตามมาด้วยการก่อหนี้มหาศาล
ที่นอกจากจะกู้ยืมจากภายในประเทศแล้ว ประเทศเหล่านี้ก็ยังกู้ยืมจากต่างประเทศด้วย
นั่นจึงทำให้หนี้สินส่วนใหญ่ เป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
ซึ่งการกระตุ้นให้เศรษฐกิจโตเร็วภายในเวลาอันสั้นที่มาจากการก่อหนี้จำนวนมาก
มักเป็นการเติบโตที่คงอยู่ได้แค่ชั่วคราว และถ้าอยากให้เศรษฐกิจเติบโตเพิ่มขึ้นอีก
ก็ต้องก่อหนี้เพิ่มตามไปด้วย
และเมื่อเศรษฐกิจโตได้เร็ว แน่นอนว่าเงินเฟ้อก็จะเพิ่มขึ้นเร็วตามไปด้วย
ตรงนี้จะเป็นหน้าที่ของธนาคารกลาง ที่จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย เพื่อควบคุมระดับเงินเฟ้อ
เพราะถ้าเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นเร็วจนคุมไม่อยู่ ก็เท่ากับว่ามูลค่าของเงินจะยิ่งด้อยค่าเร็วขึ้น
และใครที่มีสกุลเงินนั้นอยู่ก็คงอยากขาย จนทำให้สกุลเงินนั้นอ่อนค่าลงอย่างรวดเร็ว
เมื่อเทียบกับสกุลเงินอื่น
โดยท้ายที่สุดแล้ว กลไกทั้งหมดนี้ ก็ส่งผลกลับไปที่ภาระหนี้สินของรัฐบาลเอง
เพราะเมื่อดอกเบี้ยในประเทศเพิ่มขึ้น ต้นทุนทางการเงินก็สูงขึ้น รวมถึงต้นทุนของหนี้ที่รัฐบาลกู้ยืมด้วย
และค่าเงินที่อ่อนค่าเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ก็ทำให้หนี้ที่เป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ มีมูลค่ามากขึ้นทันที
ซึ่งมูลค่าหนี้สินของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นนี้ ก็ยิ่งทำให้ความน่าเชื่อถือของประเทศนั้นลดลง
กลายเป็นปัจจัยเร่งให้สกุลเงินนั้นอ่อนค่าเร็วขึ้นไปอีก วนเวียนไปเหมือนเป็น “งูกินหาง”
เหตุการณ์ลักษณะนี้ที่เกิดขึ้น
ก็จะถูกนักลงทุนที่มองเห็นโอกาสในการทำกำไรเข้ามาร่วมโจมตีให้ค่าเงินประเทศนั้นอ่อนลงไปอีก
และในปี 2018 ประเทศที่ถูกโจมตีค่าเงินรุนแรงที่สุด ก็คืออาร์เจนตินาและตุรกี
โดยค่าเงินเปโซของอาร์เจนตินา อ่อนค่าลงกว่า 100% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ภายในเวลา 4 เดือน
ในขณะที่ค่าเงินลีราของตุรกี อ่อนค่าลงกว่า 80% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ภายในเวลา 5 เดือน
อย่างไรก็ตามทั้ง 2 ประเทศนี้ เลือกตอบสนองด้วยแนวทางที่ต่างกัน
สำหรับประเทศอาร์เจนตินา
เลือกที่จะยอมเจ็บ เพราะอยากให้จบ
โดยยอมเจ็บในที่นี้ก็คือการที่ธนาคารกลาง ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ที่จากเดิมก็สูงมากอยู่แล้ว
ให้สูงขึ้นไปอีกเพราะต้องการชะลอการอ่อนค่าของเงินเปโซให้ได้เร็วที่สุด
จึงได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจาก 28.75% ไปสูงสุดที่ 85.75% ภายในเวลา 1 ปี
จนสามารถทำให้ค่าเงินเปโซผันผวนน้อยลงได้
แต่ด้วยอัตราดอกเบี้ยที่สูงขนาดนี้ ก็ต้องแลกมากับการที่รัฐบาลแบกรับภาระหนี้สินต่อไปไม่ไหว
ซึ่งทางออกเดียวที่เหลือ ก็คือการขอกู้เงินจาก IMF และเข้าสู่กระบวนการปรับโครงสร้างหนี้
รวมทั้งใช้มาตรการรัดเข็มขัด นั่นคือรัฐบาลต้องลดการใช้จ่ายลง
เพื่อทำให้งบประมาณที่ขาดดุลมหาศาล กลับสู่ภาวะปกติ
แต่สำหรับประเทศตุรกี ก็ได้เลือกวิธีที่จะยื้อสถานการณ์และยอมเหนื่อยต่อ
ในปี 2018 ธนาคารกลางตุรกีได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจาก 8% ไปที่ 24%
แต่ประธานาธิบดีตุรกี Recep Tayyip Erdoğan กลับแสดงความไม่พอใจอย่างมาก
เพราะเขามีความเชื่อว่าอัตราดอกเบี้ยสูง เป็นต้นเหตุของเงินเฟ้อ ซึ่งสวนทางกับทฤษฎี หรือที่เรียกว่า “Unorthodox”
ผู้ว่าการธนาคารกลางตุรกีดังกล่าว จึงถูกไล่ออก
และล่าสุด เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ตุรกีก็ต้องเผชิญกับเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้นอีกครั้งจากการอัดฉีดเงินเพื่อสู้กับโควิด 19
ธนาคารกลางจึงจำเป็นที่จะต้องปรับอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นเพื่อควบคุมเงินเฟ้อ
แต่สิ่งที่เกิดขึ้นก็เหมือนกับการฉายหนังซ้ำนั่นคือ
ผู้ว่าการธนาคารกลางตุรกีคนใหม่ก็ถูกไล่ออกอีก..
เมื่อการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางตุรกีขัดกับความเชื่อของประธานาธิบดี
ธนาคารกลางตุรกีจึงต้องพึ่งพาอีกเครื่องมือหนึ่งแทนดอกเบี้ย นั่นก็คือ “ทุนสำรองระหว่างประเทศ”
โดยทุนสำรองระหว่างประเทศ จะถูกเก็บอยู่ในหลายรูปแบบ และส่วนใหญ่จะเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
ซึ่งปกติแล้ว ธนาคารกลางจะใช้เครื่องมือนี้ในการดูแลเสถียรภาพของค่าเงิน เมื่อยามจำเป็นเท่านั้น
สำหรับกลไกการนำไปใช้ก็คือ
ธนาคารกลางจะนำทุนสำรองที่อยู่ในรูปดอลลาร์สหรัฐนี้ ไปแลกซื้อเงินสกุลตัวเอง
เพื่อช่วยให้สกุลเงินของตัวเองแข็งค่าขึ้น เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ
แต่การที่ตุรกีขึ้นดอกเบี้ยได้อย่างจำกัด ทำให้เครื่องมืออย่างทุนสำรองระหว่างประเทศต้องรับบทหนัก
สะท้อนได้จากปริมาณทุนสำรองระหว่างประเทศ ที่ลดลงไปมากกว่าครึ่งหนึ่ง ภายในเวลา 3 ปี
และยังมีการประเมินว่า ปี 2020 เพียงปีเดียว ตุรกีใช้เงินกว่า 3 ล้านล้านบาท ในการแทรกแซงค่าเงิน
เพื่อประคองให้ลีราไม่อ่อนค่าอย่างรุนแรง
ซึ่งทำให้ในตอนนี้ ทั้งพรรคฝ่ายค้านและประชาชน
ต่างร่วมกันถามหาทุนสำรองระหว่างประเทศ
ที่หายไปกว่า 4 ล้านล้านบาท เพื่อใช้ในการพยุงค่าเงินตลอด 3 ปีที่ผ่านมา
สิ่งที่สำคัญก็คือ ต้องไม่ลืมว่าทุนสำรองระหว่างประเทศที่ตุรกีใช้ประคองสถานการณ์มาจนถึงตอนนี้
หากยังลดลงอย่างรวดเร็วต่อไป ก็อาจถึงวันที่ทุนสำรองเหลือน้อยมาก จนประเทศต้องยอมแพ้
คล้ายกับที่ประเทศไทยเคยเจอ เมื่อตอนวิกฤติต้มยำกุ้ง
ถึงตรงนี้ ก็คงต้องติดตามกันต่อไปว่า
เงินสำรองของตุรกีจะพอสู้กับวิกฤติค่าเงินได้หรือไม่
แต่ดูแล้วอนาคตต่อจากนี้ ประเทศตุรกีน่าจะเหนื่อยไม่น้อยเลย..
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
วิกฤติค่าเงินของตุรกี ทำให้ประชาชนบางส่วนเลือกที่จะซื้อสินทรัพย์ดิจิทัลมาเก็บไว้เพื่อรักษาความมั่งคั่ง ไม่ให้ลดลงจากเงินเฟ้อ
อย่างไรก็ตามในเดือนเมษายนที่ผ่านมา
ตลาด Exchange ซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซีชื่อ Thodex อยู่ ๆ ก็ปิดตัวลง โดยผู้ก่อตั้งได้หนีออกนอกประเทศ พร้อมทิ้งให้ผู้ใช้งาน 3.9 แสนราย ไม่สามารถนำเงินออกจากระบบได้
เรียกได้ว่า คนตุรกี 3.9 แสนรายนี้ กำลังหนีเสือปะจระเข้ เลยทีเดียว..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-04-21/erdogan-says-turkey-used-165-billion-of-reserves-in-two-years
-https://www.bloomberg.com/opinion/articles/2021-04-22/question-over-128-billion-in-foreign-exchange-reserves-rattles-turkey-s-erdogan
-https://edition.cnn.com/2021/03/22/economy/turkey-lira-erdogan-central-bank-intl-hnk/index.html
-https://money.cnn.com/2018/08/12/investing/turkish-lira-currency-crisis/index.html
-https://www.reuters.com/article/turkey-cenbank-goldmansachs-int-idUSKBN27L258
-https://www.reuters.com/article/turkey-cenbank-reserves-int-idUSKBN2BV1P6
-https://www.reuters.com/article/us-argentina-debt-idUSKBN20630Y
-https://tradingeconomics.com/turkey/foreign-exchange-reserves
-https://tradingeconomics.com/thailand/foreign-exchange-reserves
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「central bank turkey」的推薦目錄:
- 關於central bank turkey 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
- 關於central bank turkey 在 YC Lew - 17去旅行 Facebook 的最佳解答
- 關於central bank turkey 在 Dr Mohd Daud Bakar - Shariah Minds - Minda Syariah Facebook 的精選貼文
- 關於central bank turkey 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文
- 關於central bank turkey 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於central bank turkey 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
central bank turkey 在 YC Lew - 17去旅行 Facebook 的最佳解答
A-Z你去過幾個?
Afghanistan
Akrotiri
Albania
Algeria
American Samoa
Andorra
Angola
Anguilla
Antarctica
Antigua and Barbuda
Argentina
Armenia
Aruba
Ashmore and Cartier Islands
Australia✈️
Austria✈️
Azerbaijan
Bahamas, The
Bahrain
Bangladesh
Barbados
Bassas da India
Belarus
Belgium✈️
Belize
Benin
Bermuda
Bhutan
Bolivia
Bosnia and Herzegovina
Botswana
Bouvet Island
Brazil
British Indian Ocean Territory
British Virgin Islands
Brunei✈️
Bulgaria
Burkina Faso
Burma
Burundi
Cambodia✈️
Cameroon
Canada
Cape Verde
Cayman Islands
Central African Republic
Chad
Chile
China✈️
Christmas Island
Clipperton Island
Cocos (Keeling) Islands
Colombia
Comoros
Congo, Democratic Republic of the
Congo, Republic of the
Cook Islands
Coral Sea Islands
Costa Rica
Cote d'Ivoire
Croatia
Cuba
Cyprus✈️
Czech Republic✈️
Denmark✈️
Dhekelia
Djibouti
Dominica
Dominican Republic
Ecuador
Egypt✈️
El Salvador
Equatorial Guinea
Eritrea
Estonia✈️
Ethiopia
Europa Island
Falkland Islands (Islas Malvinas)
Faroe Islands
Fiji
Finland✈️
France✈️
French Guiana
French Polynesia
French Southern and Antarctic Lands
Gabon
Gambia, The
Gaza Strip
Georgia
Germany✈️
Ghana
Gibraltar
Glorioso Islands
Greece✈️
Greenland
Grenada
Guadeloupe
Guam
Guatemala
Guernsey
Guinea
Guinea-Bissau
Guyana
Haiti
Heard Island and McDonald Islands
Holy See (Vatican City)
Honduras
Hong Kong✈️
Hungary✈️
Iceland✈️
India✈️
Indonesia✈️
Iran✈️
Iraq
Ireland
Isle of Man
Israel
Italy✈️
Jamaica
Jan Mayen
Japan✈️
Jersey
Jordan✈️
Juan de Nova Island
Kazakhstan
Kenya✈️
Kiribati
Korea, North
Korea, South✈️
Kuwait
Kyrgyzstan
Laos✈️
Latvia✈️
Lebanon
Lesotho
Liberia
Libya
Liechtenstein
Lithuania✈️
Luxembourg
Macau✈️
Macedonia
Madagascar
Malawi
Malaysia❤️
Maldives✈️
Mali
Malta
Marshall Islands
Martinique
Mauritania
Mauritius✈️
Mayotte
Mexico
Micronesia, Federated States of
Moldova
Monaco
Mongolia
Montserrat
Morocco✈️
Mozambique
Namibia
Nauru
Navassa Island
Nepal✈️
Netherlands
Netherlands Antilles
New Caledonia
New Zealand
Nicaragua
Niger
Nigeria✈️
Niue
Norfolk Island
Northern Mariana Islands
Norway✈️
Oman✈️
Pakistan
Palau
Panama
Papua New Guinea
Paracel Islands
Paraguay
Peru
Philippines✈️
Pitcairn Islands
Poland✈️
Portugal
Puerto Rico
Qatar✈️
Reunion
Romania
Russia✈️
Rwanda
Saint Helena
Saint Kitts and Nevis
Saint Lucia
Saint Pierre and Miquelon
Saint Vincent and the Grenadines
Samoa
San Marino
Sao Tome and Principe
Saudi Arabia
Senegal
Serbia and Montenegro
Seychelles
Sierra Leone
Singapore✈️
Slovakia
Slovenia
Solomon Islands
Somalia
South Africa
South Georgia and the South Sandwich Islands
Spain
Spratly Islands
Sri Lanka✈️
Sudan
Suriname
Svalbard
Swaziland
Sweden✈️
Switzerland😝
Syria
Taiwan✈️
Tajikistan
Tanzania✈️
Thailand✈️
Timor-Leste
Togo
Tokelau
Tonga
Trinidad and Tobago
Tromelin Island
Tunisia
Turkey✈️
Turkmenistan
Turks and Caicos Islands
Tuvalu
Uganda
Ukraine
United Arab Emirates✈️
United Kingdom✈️
United States
Uruguay
Uzbekistan
Vanuatu
Venezuela
Vietnam✈️
Virgin Islands
Wake Island
Wallis and Futuna
West Bank
Western Sahara
Yemen
Zambia
Zimbabwe
central bank turkey 在 Dr Mohd Daud Bakar - Shariah Minds - Minda Syariah Facebook 的精選貼文
The Death of Professor Sabri Orman in Istanbul
When i woke up this morning, I received a sad news. One of the great Islamic economist minds in the modern time has passed away. The time has come for him to return to his Creator.
I have known Professor Sabri Orman for many years. I started reading his ideas and perspecrives since early 2000s. The last time I visited him was at his office at the Central Bank of Turkey in Istanbul in 2017 or 2018. I presented to him my book Shariah Minds in Islamic Finance. He was also part of the teaching staff of IIUM many years ago.
When I met with him, I had the privilage to have a direct discussion with him on many issues. It was so refreshing to be inspired by his deep bandwidth of perspectives. I always consider him as my teacher and big brother.
The most striking point that he offered me is to facilitate my meeting with Prof. Fuat Sizgen of Turkish origin who is one of the rare individuals in the study of hadith in the west (along with the late Sheikh Dr Mustafa Muhammad al-A-'zami from India). It didnt happen as yet. I will try my own way now to meet with Professor Fuat, the legend.
May Allah the Almighty bless the soul of my teacher Prof Sabri Orman and may Allah award the highest level for him in the unseen wolrd. Condolences to his family and his relatives and friends.
Turkey has lost one of her pearls. The Muslim ummah has lost theirs too.
May all of us pray for his soul on this blessed day of Friday.
(Photo captured in his office in 2017 or 2018).
MDB