3D Printing จะพลิกโฉม วิธีสร้างบ้านในอนาคต อย่างไร /โดย ลงทุนแมน
ปกติแล้วการก่อสร้างบ้านขึ้นมาสักหลัง ด้วยวิธีอย่างการก่ออิฐฉาบปูนที่นิยมกันในปัจจุบัน
ก็ต้องใช้ระยะเวลาหลายเดือน หรือนับปี กว่าจะเสร็จสมบูรณ์ให้ใช้อยู่อาศัยได้จริง
แต่จะดีแค่ไหน ถ้าบ้านที่เราอยากได้ สามารถสร้างได้รวดเร็วทันใจภายในไม่กี่สัปดาห์
โดยเฉพาะขั้นตอนการขึ้นรูปโครงสร้าง สามารถสร้างเสร็จในเวลาเพียง 24 ชั่วโมง
นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงแล้ว ในการก่อสร้างด้วยวิธี 3D Printing
ซึ่งมีรูปแบบคล้ายกับการพิมพ์สิ่งของทั้งชิ้นได้ภายในขั้นตอนเดียว
แล้ว 3D Printing จะเข้ามาพลิกโฉมวิธีสร้างบ้านได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จริง ๆ แล้ว 3D Printing หรือการพิมพ์ขึ้นรูปวัตถุแบบ 3 มิติ เริ่มทดลองใช้โดยนักประดิษฐ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ Hideo Kodama ในช่วงต้นทศวรรษ 1980
โดยมีการนำเครื่องจักรพิมพ์วัสดุให้ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ และเร่งการคงรูปด้วยแสงอัลตราไวโอเลต
เพื่อประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมพลาสติก แต่ก็ไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร
แต่แนวคิดนี้ก็มีนักประดิษฐ์และวิศวกรมากมาย ได้นำไปพัฒนาต่อยอด
จนกระทั่งสำเร็จจริง โดยบริษัท 3D Systems Corporation ในปี 1984
ต่อมาหลายบริษัทได้นำไปเป็นตัวอย่างในการพัฒนาและต่อยอด
จนขั้นตอน 3D Printing มีต้นทุนที่ถูกลง และใช้ขนาดของเครื่องจักรที่กะทัดรัดขึ้น
ผ่านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น CAD ในการออกแบบ และคำนวณปริมาณของวัสดุที่ต้องใช้
ด้วยความแม่นยำสูงนี้ จึงทำให้ได้วัตถุในขนาดและสัดส่วนตามต้องการจริง ๆ
ซึ่งวัสดุที่ใช้ได้ดีในการพิมพ์ 3D Printing คือ พอลิเมอร์, พลาสติก, โลหะ และวัสดุจำพวกเซรามิก
โดยมักใช้ในการขึ้นรูปวัตถุชิ้นเล็ก ๆ อย่าง ของเล่น หรือชิ้นส่วนขนาดเล็กของเครื่องจักร
ก่อนที่วิธีการแบบ 3D Printing จะเริ่มแพร่หลายในวงการผลิตอื่น ๆ และใช้วัสดุที่หลากหลายขึ้น
เช่น
- วงการการแพทย์
โดยใช้การพิมพ์ 3 มิติในการสร้างอวัยวะเทียมทดแทนสำหรับผู้ผ่าตัด
- วงการอาหาร
เพื่อใช้ในการผลิตอาหารสำเร็จรูปของ NASA สำหรับนักบินอวกาศ โดยสามารถเจาะจงตามโภชนาการของแต่ละคน
- วงการแฟชั่น
โดยสามารถขึ้นรูปรองเท้า เครื่องประดับ กรอบแว่นตา หรือแม้แต่เสื้อผ้าทั้งชุดได้
จนต่อมาได้มีการต่อยอดนำวิธี 3D Printing มาใช้ในการก่อสร้าง
เนื่องจากปัจจุบันการออกแบบและก่อสร้างบ้านจะใช้แบบจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว
ซึ่งสามารถนำมาปรับใช้กับวิธีนี้ได้ไม่ยาก
ลองมาดูข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการของการก่อสร้างด้วยวิธี 3D Printing กัน
- ปี 2015 ประเทศจีนได้ทำสถิติ สร้างอาคาร 5 ชั้น และบ้านจำนวน 10 หลัง ได้ภายใน 24 ชั่วโมง
เพื่อทดสอบและพิสูจน์ขีดจำกัดที่การก่อสร้างจากวิธี 3D Printing จะสามารถทำได้ในขณะนั้น
- ปี 2019 ที่นครดูไบ ได้เปิดใช้อาคารที่สร้างจากวิธี 3D Printing ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
ด้วยขนาดพื้นที่อาคารถึง 6,900 ตารางฟุต เพื่อใช้เป็นสำนักงานเทศบาลท้องถิ่น
โดยใหญ่กว่าบ้านจาก 3D Printing ทั่วไปที่มีขนาดเฉลี่ยที่ 500 ตารางฟุต
- ปี 2021 ที่กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้ติดตั้งสะพานที่สร้างด้วยวิธี 3D Printing ทั้งชิ้น
ซึ่งผลิตด้วยวัสดุสเตนเลสสตีล โดยถูกออกแบบผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีความละเอียดและแม่นยำสูง
จะเห็นได้ว่า การก่อสร้างด้วยวิธี 3D Printing ยังสามารถต่อยอดและพัฒนาได้อีกมาก
ด้วยขนาดของเครื่องจักรที่สามารถปรับแต่งเพิ่มเติมได้ตามขนาดอาคารที่จะสร้าง
รวมถึงรูปแบบที่อาศัยการออกแบบจากโปรแกรม CAD ในคอมพิวเตอร์
ทำให้สามารถพิมพ์ขึ้นรูปชิ้นส่วนอาคาร หรือสร้างบ้านทั้งหลังที่มีรูปแบบที่ซับซ้อนกว่าเดิมได้อีกด้วย
แล้ว 3D Printing จะช่วยยกระดับการก่อสร้างจากขั้นตอนเดิม ๆ ในด้านใดบ้าง ?
หากสังเกตแล้ว การก่อสร้างแบบ 3D Printing วิธีการก่อสร้างนี้ มีหลายส่วนที่เป็นการแก้ไขจุดบกพร่องจากขั้นตอนการก่อสร้างแบบเดิม ๆ ยกตัวอย่างเช่น
- ลดการสิ้นเปลืองวัสดุเหลือทิ้งในการก่อสร้าง
เพราะถูกคำนวณสัดส่วนและปริมาณของวัสดุที่ต้องใช้จริงมาล่วงหน้าแล้ว และใช้ตามแบบของอาคารที่สร้างเท่านั้น รวมถึงยังสามารถขึ้นรูปโครงสร้างตามแบบได้อย่างแม่นยำ ทำให้ลดเศษวัสดุที่จะเกิดขึ้นจากการผสมหรือการขึ้นแบบที่ผิดพลาดที่ต้องรื้อแก้ไข ซึ่งมักเกิดขึ้นได้ในการก่อสร้างในรูปแบบเดิม ๆ
- ลดความต้องการแรงงาน และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนแรงงาน
เพราะใช้เครื่องจักรในแทบจะทุกขั้นตอน ทำให้ลดความจำเป็นในการจ้างแรงงานจำนวนมาก หรือลดการพึ่งพาแรงงานราคาถูก ซึ่งแม้ในหลายประเทศจะมีแรงงานที่มีต้นทุนน้อยกว่าเครื่องจักร แต่เมื่อเกิดภาวะขาดแคลนแรงงาน เช่น กรณีโควิด 19 หรือการที่แรงงานกลับประเทศบ้านเกิด เครื่องจักรก็ยังสามารถก่อสร้างต่อไปได้ โดยเหลือเพียงแรงงานทักษะสูงที่คอยควบคุม และตรวจสอบงานก่อสร้างจาก 3D Printing เท่านั้น
- ลดระยะเวลาในการก่อสร้าง สร้างได้เร็วตามที่กำหนด
เพราะ 3D Printing จะใช้เครื่องจักรเป็นหลักในการก่อสร้าง ทำให้ขั้นตอนต่าง ๆ สามารถทำได้อย่างต่อเนื่องในระยะเวลาที่กำหนด โดยไม่จำเป็นต้องหยุดพัก ทำให้สามารถคุมกำหนดการที่ชัดเจนได้
- ลดต้นทุนด้านการเงิน ชำระหนี้ได้เร็วขึ้น
ยิ่งโครงการสร้างเสร็จได้เร็ว เจ้าของโครงการก็สามารถขายบ้านได้เร็วขึ้น มีรายได้มาชำระคืนจากการกู้ยืมธนาคารทำให้ลดต้นทุนด้านดอกเบี้ย นอกจากนั้นยังช่วยลดความเสี่ยงในการขาดทุนจากการก่อสร้างล่าช้า หรือต้องเสียดอกเบี้ยหากต้องชำระเงินช้ากว่ากำหนด
แต่การก่อสร้างด้วย 3D Printing ยังนับว่ามีข้อจำกัดอยู่อีกไม่น้อย
เพราะความที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ยังมีราคาสูง ส่งผลในเรื่องของต้นทุนของตัวเครื่องจักรแพงตามไปด้วย ซึ่งกว่าจะพัฒนาจนถึงจุดที่ลดต้นทุนให้ถูกลงได้ ก็อาจต้องใช้เวลาอีกหลายปี
รวมถึงวัสดุที่จะนำมาใช้ในการพิมพ์ขึ้นรูป ยังมีจำกัดเพียงไม่กี่ชนิด
ทำให้เจ้าของโครงการหรือผู้ซื้อบ้านอาจหันไปเลือกวัสดุชนิดอื่น หรือการก่อสร้างวิธีอื่นแทน
เพราะมีตัวเลือกมากกว่า แม้จะใช้เวลาก่อสร้างนานกว่าก็ตาม
อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี 3D Printing เป็นสิ่งที่น่าจับตา ในวงการการก่อสร้างในอนาคต
เพราะเทรนด์ประชากรของประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศ จะมีแรงงานที่มารองรับในอุตสาหกรรมที่จำกัดมากขึ้นเรื่อย ๆ
รวมถึงเทรนด์ในการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่ 3D Printing จะมีประโยชน์ในการลดเศษวัสดุเหลือใช้จากการก่อสร้าง ซึ่งจะมีประโยชน์ในสถานที่ที่มีทรัพยากรจำกัด หรือมีต้นทุนสูงในการขนส่งวัสดุ
เมื่อถึงจุดหนึ่ง ข้อดีเหล่านี้จะค่อย ๆ มีน้ำหนักมากขึ้น และจะถูกนำมาเป็นตัวเลือกมากขึ้นในการก่อสร้างในอนาคต
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
อีลอน มัสก์ ก็เล็งเห็นถึงจุดเด่นของเทคโนโลยีนี้ จนถึงกับเคยกล่าวไว้ว่า 3D Printing มีบทบาทสำคัญอย่างมาก ในการสร้างอาณานิคมบนดาวอังคารในอนาคต..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://en.wikipedia.org/wiki/3D_printing
-https://www.archdaily.com/591331/chinese-company-creates-the-world-s-tallest-3d-printed-building
-https://www.designingbuildings.co.uk/wiki/3D_printing_in_construction
-https://www.pbctoday.co.uk/news/planning-construction-news/waste-in-construction/65702/
-https://singularityhub.com/2020/01/27/worlds-biggest-3d-printed-building-opens-in-dubai/
-https://www.dezeen.com/2021/07/19/mx3d-3d-printed-bridge-stainless-steel-amsterdam/
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過79萬的網紅蔡依林 Jolin Tsai,也在其Youtube影片中提到,從UGLY TO BEAUTY - JOLIN追求外界肯定到自我覺醒的過程 ♬ 數位收聽 : https://jolin.lnk.to/UglyBeauty 亞洲流行天后 蔡依林 全新專輯UGLY BEAUTY MV耗資千萬 金曲獎暨國際多項大獎得主陳奕仁導演再次合作 精彩重現歷年話題造型 笑看...
construction 3d printing 在 Might Electronic 邁特電子 Facebook 的精選貼文
📢 Mighty Tech🚩
🔑 A house can be built in just 24 hours🏠✨
The houses built by these 3D printing can greatly reduce the construction time and cost, and are regarded as the solution to the housing problem of the vagrant 💪🏼
The builder, @Icon, is also participating in NASA - National Aeronautics and Space Administration's plan to cooperate towards the goal of creating 3D printed buildings on the moon🚀
📌Source 👉 https://bit.ly/39U9qrB
#3DPrinting #HousingProblem
--------------------
📢邁特新知🚩
🔑 只需24小時就能蓋好的房屋🏠✨
這些3D列印技術建造出來的房屋,能大幅減少建造時間與成本,被視為流浪人口居住問題的解方💪🏼
建造商 #Icon 也參與 #NASA 的計畫,朝著在月球上造出3D列印建築的目標合作🚀
📌更多資訊 👉 https://bit.ly/39U9qrB
#3D列印 #居住問題
construction 3d printing 在 ITRI Taiwan Facebook 的最佳解答
#TechNews
A 3D-printed residential building has been tested in India. Such technology is believed to change the dynamics of mass construction market, and become a solution for housing shortfall in the future.
Read more on IEEE Spectrum
construction 3d printing 在 蔡依林 Jolin Tsai Youtube 的最佳貼文
從UGLY TO BEAUTY - JOLIN追求外界肯定到自我覺醒的過程
♬ 數位收聽 : https://jolin.lnk.to/UglyBeauty
亞洲流行天后 蔡依林 全新專輯UGLY BEAUTY
MV耗資千萬 金曲獎暨國際多項大獎得主陳奕仁導演再次合作
精彩重現歷年話題造型 笑看一路走來的喜怒哀樂
Production & Artist Management:凌時差音樂製作有限公司Eternal Music Production Company Ltd
Chief Executive Producer : 蔡依林Jolin Tsai
Artist Manager:王永良Tom Wang
Assistant Artist Manager & Artist Image Consultant:許嘉倩Rain Hsu Manager
Assistant:林庭蓉Jung Lin Artist
Assistant:楊馨煒Bloody Yang
Creative & Marketing Director:Jimi Chou周啟民
・Album Stylists・
Image Director:Tanglai@FORMZ
Stylist:Tungus Chan & Matthew Chan@FORMZ
Make Up:Yali Chiu邱亞歷
Hair Stylist:Heibie@Hair Culture
Art Design:Well Lee李威廷
Choreographer:Kiel Tutin
Choreography Consultant:Andy Hsu徐聖展
Dancers Stylist: Norah Hsu徐于筑
Dancers Makeup: prettycool 美少女工作室/上綺、阿袁
Dancers Hairstyle: Nic & Vanessa @Hair Culture
・Song Credit・
中文作詞:Wu QingFeng吳青峰
OA/OC: Rhys Fletcher/Stan Dub楊宥閑/Richard Craker/Jolin蔡依林/Starr Chen陳星翰/洪筠惠 Yun-Hui Hung
Producer:Starr Chen陳星翰(跳蛋工廠EGGO Music Production/蔡依林Jolin Tsai
Executive Producer:鄭人豪aHa0(跳蛋工廠EGGO Music Production)
Arranger:Starr Chen陳星翰(跳蛋工廠EGGO Music Production)
Backing Vocal Arranger:馬毓芬Paula Ma
Backing Vocals:馬毓芬Paula Ma/蔡依林Jolin Tsai
Backing Vocal Recording Engineer/ Studio:陳振發Jansen Chen/白金錄音室Platinum Studio
Recording Engineer/Studio:陳振發Jansen Chen/陳文駿 AJ Chen/強力錄音室 Mega Force Studio
Mixing Engineer:Luca Pretolesi
Mixing Assistant Engineer : Scott Banks / Andy Lin
Mixing Studio:Studio DMI
・Video Credit・
Production DEPT.
Production House:Grass Jelly Studio仙草影像
Director:Muh Chen陳奕仁
Assistant Director:Xiao Chi Lin林曉娸
Director’s Assistant:Rita Chen陳湘喬/Roddy Hung洪凡柔
Producer:Hanson Wang王漢聲@ Wang’s Studio聲意旺影音工作室
Line Producer:Hill Ho何逢霖/Kris Chi池嘉蓁/Hsueh Lung Lin林學龍/Hsi Hao Wang王璽皓
Producer’s Assistant:Shu Hsien Wu吳書賢/Mogan Tang湯雅庭
D.P. :Hsin Chin金鑫
1st Asst. Camera:Yu Hao Liu劉于豪/Hsin Lung Huang黃信龍
Camera Assistant:Bing Hong Chiu邱秉鴻 / Wei Chieh Hsu徐暐傑 / Yu Chen Chang張育甄/ Shou Po Wen溫授博 / Ming Han Sun孫銘瀚
Movi Technician:Ming Jie Mai買銘傑
Camera Equipment Technician:Chung Feng Chang張崇峰 / Chien Hsu Tu涂健旭
Gaffer:Pony Ma馬銘財
Best Boy Electrician:Yu Sheng Gao高煜盛
Electrician:Chuan Chi Liu劉川琪/Jun Rong Tian田峻榮/Zhen Sheng Lai賴振盛/ Keng Hua Kuo郭耿華/Wei Chieh Huang黃偉傑/Pei Wei Li李培瑋/Wen Xiang Lin林文祥
Production Design:Gee Art Design Studio雞設士工作室
Art Director : Chicken Rice 雞肉飯(蕭仁傑)
Set Decorator: Johnny Chen陳熹弘/Cheng En Chang張誠恩
Set Decorator Assistant: YI Xuan Tzeng曾怡瑄
Construction Manager: Yueh Chiu邱粵
Graphic Designer:Meerkat Chou周庭羽
Art Assistant:Ming Jheng Zeng曾名正/Sin Ren Huang黃新仁
Scenic:Frank Scenic Art Company法蘭克質感創作有限公司
Scenic Art Consultant:Frank Chen陳新發
Lead Scenic Painter:Pei Chen Lin林佩蓁/Zhong Shu Xie謝忠恕/Jui Lung Chen陳瑞龍
Sceinc Painters: Hsiang Ju Lin林相如/Jia Yu Kuo郭佳妤/Yu Chan Hsu許毓娟/Pin Chu Chi紀品竹/Yen Hua Wu吳妍樺/Xin Hui Chen陳欣慧/Pei Ci Li李珮綺/Yi Han Weng翁弋涵/Ching En Chen陳靖恩/Jennifer Lai賴俞均
Best Boy Grip:Weisson Studio緯盛工作室
Chun Hao Hsu許峻豪/Kai Fu Tan譚凱富/Ming Chi Wu吳明吉/Chia Hao Lin林家豪/Po Ting Pan 潘柏廷/Chun Huo Chen 陳均和/Tsung Ting Li 李宗庭/Zong Han Du杜宗撼
Prop Printing:Wei Fone Advertising & Printing Co., Ltd. 維丰廣告企業社
Special FX:Ming Tse Chen 陳銘澤 @ SFX Special Effect Luffy Tech Corporation 路飛特效創意行銷有限公司
Actor's Stylist:Yiko Lee 李懿格
Actor's Makeup & Hairstyle:Nikki Tsao 曹崇英
Halo Vest Costumer:Shou Hsiang Liu 劉守祥(閃特) @ 星球設計工作室
Casting:Deric Lin 林育正
Body Double:Yi Chen Chao 趙誼蓁/Ying Ju Chen 陳映如
Talent List:BRUCE/Shu Ling Hsieh 謝淑玲/Mango Kao 高意雯/Hill Ho 何逢霖/Yiko Lee李懿格/Shou Hsiang Liu 劉守祥(閃特)/Hsi Hao Wang王璽皓/DK.jr 郭憲鴻(小冬瓜)
Extra:大綵工作室/重心有限公司/StarCollector 重星吉娛樂/Lo-family小羅家族
Sound Effect:Kiwi Audio & Visual Production Inc.奇奕果有限公司
Sound Effects Editor:Chen Tao Chiang蔣震道
Boom Operator: Monkey Boys Club猴子電男孩影藝有限公司
Camera Support Equipment:LEE RONG FILM & TV EQUIPMENT CO.力榮影業有限公司
Studio & Lighting Rental:Arrow Cinematic Group阿榮影業股份有限公司
Camera Rental:Leader Asia Pacific Creativity Center利達數位影音科技股份有限公司
Design & Animation:Grass Jelly Studio仙草影像
Executive Producer:Iris Lia 廖梓雯
Project Manager:Ekijo La 賴奕如
Financial Manager:Lulu Che 陳奕如
CG & Compositing Lead:Greg Mia 苗天雨
Animation Lead:Weiting Chen 陳威廷
Story:
Both Li李季軒
Yu Shuo Leung梁育碩
Xiao Chi Lin林曉娸
Rita Chen陳湘喬
Designer:
Yu Shuo Leung梁育碩
Both Li 李季軒
3D Animator:
Janet Wang王玨凝
Youzi Su蘇袖惠
Eason Chen陳家和
Yu Hsuan Huang黃于瑄
Ching Chi冀擎
3D Animator Assistant:
Yuki Chou周祐諆
Jia Yu Chen陳家榆
Ting Yi Lu呂庭儀
3D Scan / Photogrammetry Shooting:Solid Memory固態記憶
Ting-Yi Chuang莊定一
Zoe Chen陳嬿伊
Tien Lung Lee李典隆
Reference Photograph:
Ting-Yi Chuang莊定一
Retopology & Rig for 3D Scan:
Ting-Yi Chuang莊定一
CG Preview:
Li Kang李康
FX Artist:
Han Lin林伯瀚
Compositing:
Nigel Huang黃勗
Wen Ting Li李文婷
Gobao Lin林佳儀
Jian Yu Cheng程建宇
Compositor‘s Assistant:
Eason Chen陳家和
Ching Chi 冀擎
Yu Hsuan Huang黃于瑄
Yuki Chou周祐諆
Jia Yu Chen陳家榆
Ting Yi Lu呂庭儀
Explosion FX:MoonShine VFX夢想動畫
Project Manager:Dawn Chiu丘鳳怡
FX Artist:Wen Yung Hsiang文永翔
Compositing:Lin Chi Feng林奇鋒
Grading:iView Post-Production意象影像
Pudding Wang王慕鼎
Subtitle Credit
英文 : Bingo Bilingual
日文 : 長安靜美
韓文 : 貝爾達日韓范特西
construction 3d printing 在 3D printing in construction - Designing Buildings Wiki 的相關結果
Construction 3D printing may allow, faster and more accurate construction of complex or bespoke items as well as lowering labour costs and ... ... <看更多>
construction 3d printing 在 The 13 best construction 3D printers in 2022 - Aniwaa 的相關結果
A construction 3D printer is a machine that can build houses by depositing a material (concrete for example) layer by layer. Concrete 3D printing – a.k.a. ... ... <看更多>
construction 3d printing 在 Construction 3D printing - Wikipedia 的相關結果
Construction 3D Printing (c3Dp) or 3D construction Printing (3DCP) refers to various technologies that use 3D printing as a core method to fabricate ... ... <看更多>