3D Printing จะพลิกโฉม วิธีสร้างบ้านในอนาคต อย่างไร /โดย ลงทุนแมน
ปกติแล้วการก่อสร้างบ้านขึ้นมาสักหลัง ด้วยวิธีอย่างการก่ออิฐฉาบปูนที่นิยมกันในปัจจุบัน
ก็ต้องใช้ระยะเวลาหลายเดือน หรือนับปี กว่าจะเสร็จสมบูรณ์ให้ใช้อยู่อาศัยได้จริง
แต่จะดีแค่ไหน ถ้าบ้านที่เราอยากได้ สามารถสร้างได้รวดเร็วทันใจภายในไม่กี่สัปดาห์
โดยเฉพาะขั้นตอนการขึ้นรูปโครงสร้าง สามารถสร้างเสร็จในเวลาเพียง 24 ชั่วโมง
นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงแล้ว ในการก่อสร้างด้วยวิธี 3D Printing
ซึ่งมีรูปแบบคล้ายกับการพิมพ์สิ่งของทั้งชิ้นได้ภายในขั้นตอนเดียว
แล้ว 3D Printing จะเข้ามาพลิกโฉมวิธีสร้างบ้านได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จริง ๆ แล้ว 3D Printing หรือการพิมพ์ขึ้นรูปวัตถุแบบ 3 มิติ เริ่มทดลองใช้โดยนักประดิษฐ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ Hideo Kodama ในช่วงต้นทศวรรษ 1980
โดยมีการนำเครื่องจักรพิมพ์วัสดุให้ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ และเร่งการคงรูปด้วยแสงอัลตราไวโอเลต
เพื่อประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมพลาสติก แต่ก็ไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร
แต่แนวคิดนี้ก็มีนักประดิษฐ์และวิศวกรมากมาย ได้นำไปพัฒนาต่อยอด
จนกระทั่งสำเร็จจริง โดยบริษัท 3D Systems Corporation ในปี 1984
ต่อมาหลายบริษัทได้นำไปเป็นตัวอย่างในการพัฒนาและต่อยอด
จนขั้นตอน 3D Printing มีต้นทุนที่ถูกลง และใช้ขนาดของเครื่องจักรที่กะทัดรัดขึ้น
ผ่านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น CAD ในการออกแบบ และคำนวณปริมาณของวัสดุที่ต้องใช้
ด้วยความแม่นยำสูงนี้ จึงทำให้ได้วัตถุในขนาดและสัดส่วนตามต้องการจริง ๆ
ซึ่งวัสดุที่ใช้ได้ดีในการพิมพ์ 3D Printing คือ พอลิเมอร์, พลาสติก, โลหะ และวัสดุจำพวกเซรามิก
โดยมักใช้ในการขึ้นรูปวัตถุชิ้นเล็ก ๆ อย่าง ของเล่น หรือชิ้นส่วนขนาดเล็กของเครื่องจักร
ก่อนที่วิธีการแบบ 3D Printing จะเริ่มแพร่หลายในวงการผลิตอื่น ๆ และใช้วัสดุที่หลากหลายขึ้น
เช่น
- วงการการแพทย์
โดยใช้การพิมพ์ 3 มิติในการสร้างอวัยวะเทียมทดแทนสำหรับผู้ผ่าตัด
- วงการอาหาร
เพื่อใช้ในการผลิตอาหารสำเร็จรูปของ NASA สำหรับนักบินอวกาศ โดยสามารถเจาะจงตามโภชนาการของแต่ละคน
- วงการแฟชั่น
โดยสามารถขึ้นรูปรองเท้า เครื่องประดับ กรอบแว่นตา หรือแม้แต่เสื้อผ้าทั้งชุดได้
จนต่อมาได้มีการต่อยอดนำวิธี 3D Printing มาใช้ในการก่อสร้าง
เนื่องจากปัจจุบันการออกแบบและก่อสร้างบ้านจะใช้แบบจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว
ซึ่งสามารถนำมาปรับใช้กับวิธีนี้ได้ไม่ยาก
ลองมาดูข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการของการก่อสร้างด้วยวิธี 3D Printing กัน
- ปี 2015 ประเทศจีนได้ทำสถิติ สร้างอาคาร 5 ชั้น และบ้านจำนวน 10 หลัง ได้ภายใน 24 ชั่วโมง
เพื่อทดสอบและพิสูจน์ขีดจำกัดที่การก่อสร้างจากวิธี 3D Printing จะสามารถทำได้ในขณะนั้น
- ปี 2019 ที่นครดูไบ ได้เปิดใช้อาคารที่สร้างจากวิธี 3D Printing ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
ด้วยขนาดพื้นที่อาคารถึง 6,900 ตารางฟุต เพื่อใช้เป็นสำนักงานเทศบาลท้องถิ่น
โดยใหญ่กว่าบ้านจาก 3D Printing ทั่วไปที่มีขนาดเฉลี่ยที่ 500 ตารางฟุต
- ปี 2021 ที่กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้ติดตั้งสะพานที่สร้างด้วยวิธี 3D Printing ทั้งชิ้น
ซึ่งผลิตด้วยวัสดุสเตนเลสสตีล โดยถูกออกแบบผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีความละเอียดและแม่นยำสูง
จะเห็นได้ว่า การก่อสร้างด้วยวิธี 3D Printing ยังสามารถต่อยอดและพัฒนาได้อีกมาก
ด้วยขนาดของเครื่องจักรที่สามารถปรับแต่งเพิ่มเติมได้ตามขนาดอาคารที่จะสร้าง
รวมถึงรูปแบบที่อาศัยการออกแบบจากโปรแกรม CAD ในคอมพิวเตอร์
ทำให้สามารถพิมพ์ขึ้นรูปชิ้นส่วนอาคาร หรือสร้างบ้านทั้งหลังที่มีรูปแบบที่ซับซ้อนกว่าเดิมได้อีกด้วย
แล้ว 3D Printing จะช่วยยกระดับการก่อสร้างจากขั้นตอนเดิม ๆ ในด้านใดบ้าง ?
หากสังเกตแล้ว การก่อสร้างแบบ 3D Printing วิธีการก่อสร้างนี้ มีหลายส่วนที่เป็นการแก้ไขจุดบกพร่องจากขั้นตอนการก่อสร้างแบบเดิม ๆ ยกตัวอย่างเช่น
- ลดการสิ้นเปลืองวัสดุเหลือทิ้งในการก่อสร้าง
เพราะถูกคำนวณสัดส่วนและปริมาณของวัสดุที่ต้องใช้จริงมาล่วงหน้าแล้ว และใช้ตามแบบของอาคารที่สร้างเท่านั้น รวมถึงยังสามารถขึ้นรูปโครงสร้างตามแบบได้อย่างแม่นยำ ทำให้ลดเศษวัสดุที่จะเกิดขึ้นจากการผสมหรือการขึ้นแบบที่ผิดพลาดที่ต้องรื้อแก้ไข ซึ่งมักเกิดขึ้นได้ในการก่อสร้างในรูปแบบเดิม ๆ
- ลดความต้องการแรงงาน และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนแรงงาน
เพราะใช้เครื่องจักรในแทบจะทุกขั้นตอน ทำให้ลดความจำเป็นในการจ้างแรงงานจำนวนมาก หรือลดการพึ่งพาแรงงานราคาถูก ซึ่งแม้ในหลายประเทศจะมีแรงงานที่มีต้นทุนน้อยกว่าเครื่องจักร แต่เมื่อเกิดภาวะขาดแคลนแรงงาน เช่น กรณีโควิด 19 หรือการที่แรงงานกลับประเทศบ้านเกิด เครื่องจักรก็ยังสามารถก่อสร้างต่อไปได้ โดยเหลือเพียงแรงงานทักษะสูงที่คอยควบคุม และตรวจสอบงานก่อสร้างจาก 3D Printing เท่านั้น
- ลดระยะเวลาในการก่อสร้าง สร้างได้เร็วตามที่กำหนด
เพราะ 3D Printing จะใช้เครื่องจักรเป็นหลักในการก่อสร้าง ทำให้ขั้นตอนต่าง ๆ สามารถทำได้อย่างต่อเนื่องในระยะเวลาที่กำหนด โดยไม่จำเป็นต้องหยุดพัก ทำให้สามารถคุมกำหนดการที่ชัดเจนได้
- ลดต้นทุนด้านการเงิน ชำระหนี้ได้เร็วขึ้น
ยิ่งโครงการสร้างเสร็จได้เร็ว เจ้าของโครงการก็สามารถขายบ้านได้เร็วขึ้น มีรายได้มาชำระคืนจากการกู้ยืมธนาคารทำให้ลดต้นทุนด้านดอกเบี้ย นอกจากนั้นยังช่วยลดความเสี่ยงในการขาดทุนจากการก่อสร้างล่าช้า หรือต้องเสียดอกเบี้ยหากต้องชำระเงินช้ากว่ากำหนด
แต่การก่อสร้างด้วย 3D Printing ยังนับว่ามีข้อจำกัดอยู่อีกไม่น้อย
เพราะความที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ยังมีราคาสูง ส่งผลในเรื่องของต้นทุนของตัวเครื่องจักรแพงตามไปด้วย ซึ่งกว่าจะพัฒนาจนถึงจุดที่ลดต้นทุนให้ถูกลงได้ ก็อาจต้องใช้เวลาอีกหลายปี
รวมถึงวัสดุที่จะนำมาใช้ในการพิมพ์ขึ้นรูป ยังมีจำกัดเพียงไม่กี่ชนิด
ทำให้เจ้าของโครงการหรือผู้ซื้อบ้านอาจหันไปเลือกวัสดุชนิดอื่น หรือการก่อสร้างวิธีอื่นแทน
เพราะมีตัวเลือกมากกว่า แม้จะใช้เวลาก่อสร้างนานกว่าก็ตาม
อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี 3D Printing เป็นสิ่งที่น่าจับตา ในวงการการก่อสร้างในอนาคต
เพราะเทรนด์ประชากรของประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศ จะมีแรงงานที่มารองรับในอุตสาหกรรมที่จำกัดมากขึ้นเรื่อย ๆ
รวมถึงเทรนด์ในการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่ 3D Printing จะมีประโยชน์ในการลดเศษวัสดุเหลือใช้จากการก่อสร้าง ซึ่งจะมีประโยชน์ในสถานที่ที่มีทรัพยากรจำกัด หรือมีต้นทุนสูงในการขนส่งวัสดุ
เมื่อถึงจุดหนึ่ง ข้อดีเหล่านี้จะค่อย ๆ มีน้ำหนักมากขึ้น และจะถูกนำมาเป็นตัวเลือกมากขึ้นในการก่อสร้างในอนาคต
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
อีลอน มัสก์ ก็เล็งเห็นถึงจุดเด่นของเทคโนโลยีนี้ จนถึงกับเคยกล่าวไว้ว่า 3D Printing มีบทบาทสำคัญอย่างมาก ในการสร้างอาณานิคมบนดาวอังคารในอนาคต..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://en.wikipedia.org/wiki/3D_printing
-https://www.archdaily.com/591331/chinese-company-creates-the-world-s-tallest-3d-printed-building
-https://www.designingbuildings.co.uk/wiki/3D_printing_in_construction
-https://www.pbctoday.co.uk/news/planning-construction-news/waste-in-construction/65702/
-https://singularityhub.com/2020/01/27/worlds-biggest-3d-printed-building-opens-in-dubai/
-https://www.dezeen.com/2021/07/19/mx3d-3d-printed-bridge-stainless-steel-amsterdam/
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過5,140的網紅Ghost Island Media 鬼島之音,也在其Youtube影片中提到,California is leading the United States into the solar panel revolution. And spoilers: it’s actually quite boring. Or at least, it is to the OG enviro...
「construction waste」的推薦目錄:
- 關於construction waste 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於construction waste 在 美國在台協會 AIT Facebook 的最讚貼文
- 關於construction waste 在 柬埔寨房地產投資 Facebook 的最讚貼文
- 關於construction waste 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
- 關於construction waste 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
- 關於construction waste 在 Francis So Youtube 的最佳貼文
construction waste 在 美國在台協會 AIT Facebook 的最讚貼文
為慶祝世界水資源日,AIT想跟大家介紹美台在水資源領域多年的合作。過去30多年來,美台在諸多水資源議題都有技術上的密切合作,包括水資源管理、水壩設計和建造、水庫防淤及清淤、地下水控制措施、防洪、海洋氣候變遷和透過人造衛星監控海洋油汙擴散及海洋廢棄物堆積等。2020年11月,我們透過「全球合作暨訓練架構(GCTF)運用循環經濟模式處理海洋廢棄物」線上國際研討會,將美台雙邊長期以來的環境合作,拓展成多邊合作的架構,與多國夥伴共同應對日漸嚴峻的海洋及廢棄物議題。氣候變遷所造成的水患和乾旱及海洋垃圾的問題都加劇了全球水資源的危機,這場危機有賴全球夥伴共同應對。在台灣面臨56年來最大乾旱之際,讓我們一起擔任環保尖兵,共同守護珍貴的水資源和環境!#世界水資源日 #拯救水資源 #對抗氣候變遷 #共同努力共同得益
In honor of World Water Day, AIT would like to highlight U.S.-Taiwan water cooperation. For over thirty years, the United States and Taiwan have shared technical cooperation on water issues, ranging from water resources management, dam design and construction, reservoir sedimentation and sluicing, underground water control measures, flood prevention, ocean climate change, and satellite-based monitoring for marine oil spills and marine debris. Last November 2020, our GCTF workshop on sustainable materials management solutions to marine debris expanded our long-standing environmental cooperation to a multilateral framework to address the growing ocean and waste issues facing the earth. We know that it takes a global effort to address the marine debris and climate change impacts, which have severely compounded the world's water systems through more flooding and droughts. Let’s join hands in conserving our water and be good environmental stewards amid the most severe droughts hitting Taiwan in 56 years! #WorldWaterDay #SaveOurWater #FightClimateChange #StriveTogetherThriveTogether
construction waste 在 柬埔寨房地產投資 Facebook 的最讚貼文
[English Below]
រឿងក្ដីក្ដាំ ឬវិវាទទាក់ទងនឹងការលក់-ទិញដីគឺត្រូវតែជៀសវាង ពីព្រោះវាធ្វើឲ្យខាតបង់ទាំងពេលវេលានិងថវិការ។ តើយើងត្រូវពិនិត្យមើលលើចំណុចណាខ្លះមុននឹងទិញលក់ដីធ្លី?
តំណភ្ជាប់៖ https://youtu.be/D8fXya6Y-64
ចុច Subscribe នៅលើ Construction & Property TV Channel ដើម្បីតាមដានព័ត៍មានថ្មីៗជាច្រើនទៀតនៅក្នុងវិស័យសំណង់និងអចលនទ្រព្យនៅកម្ពុជា។
Disputes while making sale and purchase transaction of the property is to avoid because it is a waste of time and resources. What are the essential information that buyers should understand?
Youtube Link: https://youtu.be/D8fXya6Y-64
Subscribe to the Construction & Property TV Channel for more up-to-date construction and property news.
construction waste 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
California is leading the United States into the solar panel revolution. And spoilers: it’s actually quite boring. Or at least, it is to the OG environmentalists.
This episode, Nature N8 walks us through the process of installing solar panels on his parents’ roof, inside Californian suburbs. He explains the financial magic of solar, compares it to industrial scale installments, and finds hope in how the once-radical technology has now become ordinary.
Ghost Island Media is proud to be a Media Partner of RESHAPE SUMMIT!
Sign up to this new leadership summit here: https://bit.ly/3kh88gh
Support “Waste Not Why Not” on Patreon. Follow us on Twitter @wastenotpod. Send questions to ask@wastenotwhynot.com. Subscribe to “Waste Not a Newsletter" on Substack.
EPISODE CREDIT | Nate Maynard (@N8May), host | Yu-Chen Lai (@aGuavaEmoji), producer | Emily Y. Wu (@emilyywu), executive producer | Music licensing MB013APQUSHRPW0 | a Ghost Island Media production (@ghostislandme) | www.ghostisland.media
Support us on Patreon:
http://patreon.com/wastenotwhynot
Subscribe to our newsletter:
https://wastenotwhynot.substack.com/
Follow us on Twitter:
https://twitter.com/wastenotpod
Send your questions to:
ask@wastenotwhynot.com
SHOW CREDIT
Emily Y. Wu (Executive Producer)
https://twitter.com/emilyywu
Nate Maynard (Producer / Host)
https://twitter.com/N8MAY
Yu-Chen Lai (Producer / Editing)
https://twitter.com/aGuavaEmoji
Ghost Island Media (Production Company)
https://twitter.com/ghostislandme
www.ghostisland.media
MB013APQUSHRPW0
construction waste 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
In 2014, IKEA was among the founding members of a global campaign to get the world’s most influential businesses to use 100% renewable power. Known as the RE100, today it’s a consortium of 186 (and counting) companies, including H&M, Nestle, Apple, Google, Facebook, Walmart, Coca Cola, Goldman Sachs, and many more. In total, their electricity demand is approximately 200 terawatts hours - just slightly larger than the electricity demand of Thailand. Today, we talk to Sam Kimmins, head of RE100. Sam has 20 years experience leading sustainability projects in the shipping, aviation, food, construction, and NGO sectors.
This is a podcast about how NOT to save the environment. Hosted by Nature N8 (Nate Maynard), an environmental researcher working on energy, ocean, and waste issues.
HAVE A QUESTION?
Record your question and send it to us at ask@wastenotwhynot.com
VIEW THIS EPISODE'S SHOW NOTES
https://docs.google.com/document/d/e/2PACX-1vTYcV4Qii_XMHCluG5py75VGc-rPxoHeLJefKsBUdb1Q5Ah50YfEVkAO8jMcb4ZaPaXvyJbfW8hpelj/pub
SUPPORT U$
https://www.patreon.com/wastenotwhynot
FOLLOW US
https://www.facebook.com/wastenotwhynot/
https://twitter.com/wastenotpod
SUBSCRIBE ON Apple Podcasts, Spotify, Google Podcasts, or find your player: https://ghostisland.media/#wnwn
SHOW CREDITS
Producer / Editing - Emily Y. Wu
Host - Nate Maynard
Brand Design - Thomas Lee
Theme Song - Chris Lo
This is a Ghost Island Media production.
construction waste 在 Francis So Youtube 的最佳貼文
Click "show more" for English caption.
https://www.facebook.com/photo.php?v=10151702211957181 (facebook 版)
是咁的,之前政府被揭正諮詢「發展郊野公園用地」,更有「高官」說「從來沒去過郊野公園,用來發展沒問題」,小弟聽後感到十分悲哀,除了送它「三個字」之外,同時也只能製作一條「郊」片,讓更多人知道郊野公園美麗的一面。 雖然議案沒落實 (也不排除有落實的一天),但請保護我們的郊野公園,讓更多人好好享用。
喜歡的/不想郊野公園被起樓的請按 Like 及 Share
此 Time Lapse 影片由2013年6月開始,以業餘的時間拍攝至今,拍攝地點如下:
盧吉道
蒲台島
石澳郊野公園
鶴咀海岸保護區
大帽山郊野公園
西貢東郊野公園
北大嶼山郊野公園
器材如下:
5D2, 6D, EF 16-35L II, EF 24-105L, Sigma 15 fisheye.
No motion control unit.
Last month, the Government was discovered to be tempted to hold a consultation over "Construction development at the country parks in Hong Kong", and there were even some government officials claiming that they have never been to any country parks in their lifetime, there's no problem of construction at these country parks. I find his words offensive and deplorable.I cannot think of anything to say, except to make a video about Hong Kong's country parks, to show the innate beauty of the country parks to the general public. Although certain policies or plans have not been introduced yet, there is no guarantee that similar plans would not be proposed again by the Government again in the future. I just wish that this video can arouse all your attention, to take action and to conserve our country parks for the sake of our next generation.
Since 2013 June, I have started to produce this time lapse by taking photos everywhere in Hong Kong in my free time, and the places appearing in the video are as follows, Lugard Road, Po Toi Island, Shek O Country Park, Cape D'Aguilar Marine Reserve, Tai Mo Shan Country Park, Sai Kung East Country Park and Lantau North Country Park.
Gear: Canon 5D2, 6D, EF 16-35L II, EF 24-105L, Sigma 15 fisheye. No motion control unit is used.
If you like this video or you are unwilling to see our scarce country parks being redeveloped into blocks of residential flats, please like or share it.
But, if you find the video is a waste of time or of poor quality , you are welcomed to leave a comment here.