เวลาที่เราดู Organization Chart หรือผังองค์กร เราเห็นอะไรบ้าง
ถ้ามองอย่างผิวเผิน ผังองค์กรจะบอกว่าองค์กรนั้น ๆ มีการแบ่งหน่วยงานกันอย่างไร แบ่งเป็นกี่ Section, Department, Division แล้วแต่ว่าจะออกแบบชื่อเรียกให้ถนัดปาก ฟังแล้วดูดี รวมไปถึงสายการบังคับบัญชา ใครจะขึั้นตรงกับใคร ใครต้องรีพอร์ทใคร ใครเป็นหัวหน้า ใครเป็นลูกน้อง
นั้่นแค่หน้าที่ส่วนหนึงของของ Organization Chart ครับ เพราะถ้ามองให้ลึกซึ้งจริง ๆ Organization Chart บอกอะไรกับเราได้มากกว่านั้น
ลองเริ่มต้นสังเกตดูนะครับว่าในผังองค์กรของคุณ โดยเฉพาะองค์กรใหญ่ ๆ หน่วยงานที่ขึ้นตรงกับ President มักจะเป็นหน่วยงานที่ดูมีความสำคัญเหนือกว่าหน่วยงานอื่น ๆ จริงหรือไม่
หรือบางบริษัท มักจะมีชื่อของหน่วยงานแปลก ๆ แบบที่เดาไม่ได้ว่าหน่วยงานนี้ทำงานอะไร (ถ้าไม่พลาดจริง) หน่วยงานลักษณะนี้จะเป็นหน่วยงาน Hilight ขององค์กร ที่ไม่อยากให้คนภายนอกหรือคู่แข่งรู้ว่าบริษัทกำลังจะทำอะไรอยู่
บางบริษัท อาจจะเอาหน่วยงานทำเงินอย่าง Sales หรือ Commercial ไปอยู่ใต้ Production แสดงว่าบริษัทนี้อาจจะไม่ได้ Focus ที่งานขาย เพราะงานขายเป็นแบบสัญญาระยะยาว 5 ปี 10 ปี จึงไม่จำเป็นต้อง Boost งานขายมากก็ได้ หรืออยู่ ๆ หน่วยงาน Sales สินค้าพิเศษก็โดดเด้งออกมาจากหน่วยงาน Sales สินค้าประเภทอื่น กลายเป็๋นหน่วยงาน Sales หน่วยงานเดียวที่ขึ้นตรงกับ President
เห็นมั้ยครับว่ามันมีอะไรซ่อนอยู่เยอะเลย ไม่แปลกเลยที่บริษัทใหญ่ ๆ จะให้ความสำคัญเป็นอย่างมากเรืองของจัดผังองค์กร บางที่ถึงกับ Re-Organization กันเป็นรายไตรมาส เพือให้ทันกระแสของตลาด และไม่แพ้คู่แข่ง
จากเหตผลทั้งหมดทำให้หลาย ๆ บริษัทถือเอาว่า Organization Chart เป็นความความลับขององค์กร
ทีนี้ในมุมของมนุษย์เงินเดือนอย่างเรา ๆ Organization Chart จะเกียวกับเรายังไงล่ะ รู้หรือไม่รู้จะมีผลเหรอ .... มีสิครับ ถ้าคุณกำลังสมัครงานกับองค์กรนี้อยู่ แล้วถ้าคุณรู้ หรือพอเดาได้ว่าตำแหน่งงานของคุณ อยู่ในหน่วยงานสำคัญขององค์กร โอกาสที่คุณจะได้แสดงฝีมือก็จะมากกว่า โอกาสเติบโตก็จะมีมากกว่า ชื่อตำแหน่ง Engineer เหมือนกัน แต่อยู่คนละหน่วยงาน โอกาสก็ไม่เหมือนกันจริงมั้ยครับ
หรือถ้าหากคุณเป็นคนองค์กร ที่มีการปรับผังองค์กร และถูกลดความสำคัญลงมา คุณก็ต้องรู้ว่าคุณจะต้องปรับตัวและปรับการทำงานยังไง เพื่อสร้างโอกาสให้กับตนเอง และยังมีคุณค่าต่อองค์กรอยู่
เห็นมั้ยครับว่าแค่ Organization Chart ยังสร้างเรืองราวให้กับธุรกิจได้มากขนาดนี้ ดังนั้นอย่าลืมให้ความสำคัญกับ Organization Chart กันด้วยนะครับ
#HRTheNextGen
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅National Palace Museum國立故宮博物院,也在其Youtube影片中提到,人類生於自然,以描述、紀錄、研究等方式認識萬物,造就了燦爛的文明與美不勝收的藝術品。然而在近代,在人們享受資源與便利的同時,也對地球產生了巨大的衝擊。 由國立故宮博物院、宜蘭縣立蘭陽博物館、國立臺灣博物館三個各具特色的館所合作舉辦「生態想想一故宮 x 蘭博×臺博聯合特展」,結合多元文物、動物標本...
「department, division section」的推薦目錄:
department, division section 在 National Palace Museum國立故宮博物院 Youtube 的精選貼文
人類生於自然,以描述、紀錄、研究等方式認識萬物,造就了燦爛的文明與美不勝收的藝術品。然而在近代,在人們享受資源與便利的同時,也對地球產生了巨大的衝擊。
由國立故宮博物院、宜蘭縣立蘭陽博物館、國立臺灣博物館三個各具特色的館所合作舉辦「生態想想一故宮 x 蘭博×臺博聯合特展」,結合多元文物、動物標本與其他藏品,以故宮文物發想設計的多媒體藝術展件進行串連,展示人類對天地萬物探尋的過程。從傳說轉繪成海中萬物,到工具繪製世界地圖;從天馬行空的海錯奇珍,到肌理斟酌的飛禽走獸,這些有著動植物圖像的文物皆記錄了人類探索世界的歷程。
人類從大自然獲得靈感轉化到生活中,從食器裝飾到更高層次的藝術性呈現,都能找到與自然的連結。自然給我們的也許不只是能源,也有著生命、藝術的能量,且這些寶藏都不是取之不盡的。我們對地球的任意奪取以及破壞已開始反撲至人類自身。人們應意識到其嚴重性,著手進行生態環境保育的工作。
在「生態想想」展覽中,希望觀眾能透過當代科,從賞心悅目的文物出發,去認識、欣賞、尊重生態環境。
*勘誤更正:
本影片2:43秒處標本,應為藍腹鷴Swinhoe's Pheasant,非黑長尾雉。
工作人員名單:
國立故宮博物院National Palace Museum
發行人Issuer
院長 Director/ 吳密察 Wu, Mi-cha
專案指導Advisor
副院長 Deputy Director/ 黃永泰 Huang, Yung-Tai
策展團隊 Curatorial team
教育展資處 Department of Education, Exhibition and Information Services
處長 Chief Curator/ 徐孝德 Hsu, Hsiao-Te
副處長 Deputy Chief Curator/ 謝俊科 Hsieh, Chun-Ko
科長 Section Chief/ 吳紹群 Wu, Shao-Chun
助理研究員Assistant Researcher/ 浦莉安 Pu, Lee-An
專案規劃 Project coordinator/ 吳昕珏Wu, Hsin-Chueh
蘭陽博物館 Lanyang Museum
館長Director/ 陳碧琳 Chen, Bi-Lin
展示教育組 Department of Exhibition & Education
組長 Chief/ 邱秀蘭Chiu, Hsiu-Lan
研究助理 Research Assistant/ 簡士傑 Jian, Shih-Jye
組員 Clerk/ 何慕凡 Ho, Mu-Fan
臺灣博物館National Taiwan Museum
典藏管理組Collections and Preservation Division
副研究員Associate Curator/ 林俊聰 Lin, Jun-Tsong
左右國際股份有限公司Randl International
總經理/ General Manager
施聖亭SHI,SHENG-TING
副總經理/ Vice President
楊珺詠 YANG,JUN-YONG
企劃/ Marcom
魏廷祥 WEI,TING-XIANG
沈玟靜 SHEN,WEN-JING
視覺設計/ Graphic Designer
高瓊怡 GAO,QIONG-YI
影片製作/ Film Production
謝嘉鴻 SIE,JIA-HONG
陳翰文 CHEN,HAN-WUN
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/3ce3zn8uOGE/hqdefault.jpg)