〈美股盤後〉8月非農大爆冷!聯電ADR漲逾6% 道瓊標普收黑
Delta 變種病毒促使新冠疫情反撲,連帶拖累經濟復甦,繼 8 月 ADP 新增就業遠低於預期後,週五 (4 日) 美 8 月非農就業數據亦大爆冷,促使美元下跌、黃金上漲、十年期美債殖利率攀升,道瓊、標普指數均出現小幅下跌。
蘋果、Nvidia 等科技股支持下,那指週五微幅收紅 0.21%,創 2021 年第 35 個收盤新高記錄。那指本週上漲 0.21%,標普週漲幅為 0.6%,道瓊週跌 0.24%。
數據方面,美國勞工部週五 (3 日) 公布 8 月非農新增就業 23.5 萬人,遠遜市場預期,創今年 1 月以來最差表現,失業率則降至疫情爆發以來新低,報 5.2%,符合市場預期。
聯準會 (Fed) 主席鮑爾曾多次強調,Fed 開始縮減購債 (Taper) 前,需要看到有更強勁的就業數據,而令人失望的非農就業報告可能會改變 Fed 對 QE 退場時間的預期。
政經消息方面,參議院民主黨議員曼欽 (Joe Manchin) 週四要求對美國總統拜登的經濟議程「按下暫停鍵」,戰略性擱置 3.5 兆美元的預算法案,因為他希望優先關注高通膨、阿富汗撤軍造成的國家不確定等議題。
對此,美國總統拜登週五敦促國會通過 3.5 兆美元的預算案和 1 兆美元的跨黨派基礎建設法案,以推動美國經濟成長,創造良好的就業機會。
拜登強調,美國正試圖走出新冠陰霾之際,這些投資不是短期刺激,最主要的是創造美國長期繁榮。
週五外媒引述消息人士報導,民主黨員正考慮一系列針對企業或富人徵稅的提案,包括對企業高管、庫藏股等項目徵稅,旨為一項涵蓋從兒童保育、教育和其他社會項目等各方面的 3.5 兆美元預算案買單。
新冠肺炎 (COVID-19) 疫情持續蔓延全球,截稿前,據美國約翰霍普金斯大學 (Johns Hopkins University) 即時統計,全球確診數已飆破 2.19 億例,死亡數突破 454 萬例。美國累計確診超過 3964 萬例,累計死亡數超過 64.4 萬。印度累計確診超過 3290 萬例,巴西累計確診 2083 萬例。
週五 (4 日) 美股四大指數表現:
美股道瓊指數下跌 74.73 點,或 0.21%,收 35,369.09 點。
那斯達克上漲 32.34 點,或 0.21%,收 15,363.52 點。
標普 500 指數下跌 1.52 點,或 0.03%,收 4,535.43 點。
費城半導體指數上漲 19.6 點,或 0.57%,收 3,430.9 點。
標普 11 大板塊僅 5 大板塊收紅,資訊科技、通訊服務和醫療保健板塊領漲,公用事業、材料和工業板塊領跌。(圖片:finviz)
標普 11 大板塊僅 5 大板塊收紅,資訊科技、通訊服務和醫療保健板塊領漲,公用事業、材料和工業板塊領跌。(圖片:finviz)
焦點個股
科技五大天王僅微軟收黑。蘋果 (AAPL-US) 漲 0.42%;臉書 (FB-US) 漲 0.26%;Alphabet (GOOGL-US) 漲 0.32%;亞馬遜 (AMZN-US) 漲 0.43%;微軟 (MSFT-US) 跌 0.0033%。
道瓊成分股多收黑。美國運通 (AXP-US) 下跌 1.70%;波音 (BA-US) 下跌 1.20%;Honeywell (HON-US) 下跌 1.13%;沃爾格林聯合博姿 (WBA-US) 跌 0.95%;Salesforce (CRM-US) 上漲 1.11%。
費半成分股多收高。英特爾 (INTC-US) 跌 0.41%;AMD (AMD-US) 漲 0.66%;應用材料 (AMAT-US) 上漲 1.03%;美光 (MU-US) 跌 0.24%;高通 (QCOM-US) 跌 0.34%;NVIDIA (NVDA-US) 漲 2.00%。
台股 ADR 盡揚。台積電 ADR (TSM-US) 上漲 2.63%;日月光 ADR (ASX-US) 上漲 1.81%;聯電 ADR (UMC-US) 大漲 6.38%;中華電信 ADR (CHT-US) 持平。
企業新聞
蘋果 (AAPL-US) 上漲 0.42% 至每股 154.30 美元,續寫歷史新高紀錄。諸如 Wedbush 等多家華爾街投行預測,蘋果 iPhone 13 將迎來強勁的市場需求。
Nvidia (NVDA-US) 上漲 2.00% 至每股 228.43 美元。由於 Nvidia 不斷增長的資料中心和軟體領域,Jefferies 將該公司目標價從 233 美元大幅上修至 260 美元。
威騰電子 (WDC-US) 下跌 0.37% 至每股 61.41 美元。快閃記憶體大廠鎧俠傳出有意重啟 IPO 計劃,而非與威騰電子 (WDC-US) 進行股權合併,與此同時,日本經濟產業省對威騰電子併購鎧俠的態度似乎正軟化。
滴滴 (DIDI-US) 上漲 2.38% 至每股 9.02 美元,本週其漲幅近 10%。市場傳出北京市政府提議讓國企入股滴滴。消息人士透露,北京市文旅業巨頭首旅集團旗下子公司首汽集團將聯合其他國企,參與對滴滴的入股等工作。
特斯拉 (TSLA-US) 收漲 0.16% 至 733.57 美元。儘管來自福特、通用汽車和豐田的電動汽車湧現,方舟投資 (Ark Invest) 創辦人伍德 (Cathie Wood) 持續看多特斯拉,她認為特斯拉目標價上看每股 3,000 美元,主因是特斯拉市占率自 2017 年起持續大幅提升。
經濟數據
美國 8 月新增非農就業報 23.5 萬人,預期 78.7 萬人,前值自 94.3 萬人上調至 105.3 萬人
美國 8 月失業率報 5.2%,預期 5.2%,前值 5.4%
美國 8 月平均每週工時報 34.7 小時,預期 34.8 小時,前值 34.8 小時
美國 8 月平均每小時薪資年增率報 4.3%,預期 4.0%,前值 4.0%
美國 8 月平均每小時薪資月增率報 0.6%,預期 0.3%,前值 0.4%
美國 8 月勞動參與率報 61.7%,前值 61.7%
美國 8 月 Markit 服務業 PMI 終值報 55.1,預期 55.2,前值 55.2
美國 8 月 ISM 非製造業 PMI 報 61.7,預期 62.0,前值 64.1
華爾街分析
State Street Global Advisors 策略師 Michael Arone 表示,非農數字令人非常失望,很明顯,Delta 變種病毒對今夏經濟產生負面影響。
Michael Arone 稱,休閒與飯店業沒有增加任何工作淨新增就業為零,而零售業和餐飲業分別大幅裁員。投資者將得出結論,也許這將使 Fed 進一步推遲縮減購債的時間,市場可能對此沒有意見。
ZEGA Financial 執行長 Jay Pestrichelli 表示,最終,疲軟的就業報告將減輕 Fed 縮減市場支持力度的壓力。對投資者來說,這可能是好消息,至少在短期內是這樣。
https://news.cnyes.com/news/id/4716785?exp=a
【全球股市觀察站】2021-09-03(美國時間)
阿斯匹靈實戰文章
https://scantrader.com/u/9769/service
阿斯匹靈IG
https://www.instagram.com/aspirin_grandline/?hl=zh-tw
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過118萬的網紅the劉沛,也在其Youtube影片中提到,整集的劉沛Official Review跟大家分享這次吃北海道比吃的美食! 北海道播放清單➔ https://www.youtube.com/watch?v=RjN7n0Smvs4&list=PLha_LITAtOudBckkfGJtFsN8h8Jw3kfUP&index=5 邀請沛隊幫忙上字幕😊 ...
didi global 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
Lenovo จากบริษัทไม่มีใครรู้จัก สู่แบรนด์คอมพิวเตอร์ ขายดีสุดในโลก /โดย ลงทุนแมน
ผู้ที่ครองส่วนแบ่งตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือ PC ได้มากที่สุดในโลกก็คือ “Lenovo” แบรนด์จากประเทศจีน ที่สามารถแซง HP และ Dell จากสหรัฐอเมริกา จนขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ของโลกได้เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2013 และยังคงรักษาตำแหน่งอันดับ 1 ได้จนถึงปัจจุบัน
Lenovo ยังถือเป็นบริษัทจีนที่ก้าวขึ้นมาเป็นบริษัทระดับโลกได้เป็นบริษัทแรก ๆ ก่อนบริษัทระดับโลกในยุคปัจจุบันอย่างเช่น Alibaba, Tencent, Huawei และ Xiaomi
แล้ว Lenovo ทำได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จากข้อมูลของ Gartner ซึ่งเป็นบริษัทวิจัยด้านเทคโนโลยีชั้นนำของโลก จำนวน PC ที่ส่งมอบทั้งปี 2020 แบรนด์ที่ครองส่วนแบ่งตลาดโลกได้มากที่สุดก็คือ
อันดับ 1 Lenovo จากจีน 24.9%
อันดับ 2 HP จากสหรัฐอเมริกา 21.2%
อันดับ 3 Dell จากสหรัฐอเมริกา 16.4%
อันดับ 4 Apple จากสหรัฐอเมริกา 8.2%
อันดับ 5 Asus จากไต้หวัน 6.0%
คำว่า PC ในความหมายของ Gartner จะแปลว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซึ่งครอบคลุมผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และแล็ปท็อป
แล้วก่อนจะกลายมาเป็นบริษัทที่ขาย PC ได้มากที่สุดในโลก Lenovo มีจุดเริ่มต้นอย่างไร ?
ย้อนกลับไปในปี 1984 หรือเมื่อ 37 ปีก่อน ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน
“Liu Chuanzhi” เป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานวิจัยอยู่ที่สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน (CAS)
ตอนนั้น คุณ Liu รู้สึกว่าสิ่งที่คิดค้น มักจะจบลงแค่ในห้องทดลองและไม่ได้ถูกต่อยอดนำไปใช้ประโยชน์กับคนหมู่มาก
คุณ Liu ในวัย 40 ปี จึงขอเงินทุนจาก CAS มาได้ 2 แสนหยวน หรือราว 1 ล้านบาท เพื่อเปิดบริษัทเกี่ยวกับสินค้าเทคโนโลยีเอง
หลังจากได้ทุนมาแล้ว เขาก็ได้รวบรวมทีมงานที่เป็นนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรคอมพิวเตอร์ชาวจีนอีก 10 คนและได้ก่อตั้งบริษัท ในตอนแรกชื่อว่า “Legend”
ในเวลานั้น ถือเป็นจังหวะที่ดี เพราะประเทศจีนกำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน จากยุคเหมาเจ๋อตง ที่ระบบเศรษฐกิจถูกวางแผนโดยรัฐและไม่ค้าขายกับต่างประเทศ มาเป็นยุคเติ้งเสี่ยวผิง ที่เริ่มปฏิรูปเศรษฐกิจ
โดยให้ภาคเอกชนมีบทบาทมากขึ้นและเริ่มค้าขายกับต่างประเทศ
แต่ Legend มีอุปสรรคสำคัญก็คือ ด้วยความที่ทีมงานมีพื้นฐานมาจากการเป็นนักวิจัย การเลือกประเภทสินค้าจึงไม่ค่อยตรงกับความต้องการของตลาด ซึ่งก็ได้ทำให้บริษัทต้องลองผิดลองถูกอยู่หลายครั้ง
โดย Legend เริ่มจากการนำเข้าโทรทัศน์สีมาขายแต่ล้มเหลว
จึงเปลี่ยนมาพัฒนานาฬิกาข้อมือดิจิทัล แต่ก็ล้มเหลว
พอเปลี่ยนมาให้บริการตรวจสอบคุณภาพคอมพิวเตอร์ก่อนถึงมือลูกค้า ก็ยังคงล้มเหลว
จนกระทั่ง Legend หันมาลงทุนพัฒนาแผ่นวงจรพิมพ์ หรือ PCB เพื่อให้คอมพิวเตอร์ของ IBM ที่นำเข้ามา ใช้งานเป็นภาษาจีนได้ ซึ่งก็ถือว่าได้ผลตอบรับดี
หลังจากนั้น Legend จึงได้เริ่มนำเข้าคอมพิวเตอร์จากต่างประเทศ แล้วขายระบบภาษาจีนพ่วงด้วย
ทำให้คอมพิวเตอร์ที่บริษัทนำเข้ามา ขายดีมาก ซึ่งนี่ถือเป็นจุดเปลี่ยนแรกที่สำคัญ เพราะ Legend ได้เริ่มเรียนรู้ความต้องการของตลาด จากการเป็นตัวแทนจำหน่ายสินค้าต่างประเทศ
ในเวลาต่อมา Legend จึงต่อยอดกิจการด้วยการไปตั้งบริษัทย่อยที่ฮ่องกง เพื่อผลิตและส่งออก PCB จนกระทั่งในปี 1990 บริษัทก็ได้เริ่มผลิตคอมพิวเตอร์แบรนด์ของตัวเองและสามารถนำบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกงได้ในปี 1994
ผลิตภัณฑ์แรก ๆ ของ Legend ที่ประสบความสำเร็จคือเมนเฟรมคอมพิวเตอร์
ก่อนที่บริษัทจะเริ่มผลิตคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและแล็ปท็อปตามมา
จนในที่สุด Legend ก็มีรายได้หลักมาจากการขายคอมพิวเตอร์ที่เป็นแบรนด์ของตัวเองและได้กลายเป็นแบรนด์คอมพิวเตอร์ที่มียอดขายมากที่สุดในประเทศจีน ด้วยส่วนแบ่งตลาดกว่า 43% ในปี 1998
ซึ่งนอกจากการวิจัยพัฒนาคอมพิวเตอร์แล้ว กลยุทธ์ที่ทำให้ Legend ครองตลาดจีนได้ก็คือการขยายช่องทางการจำหน่ายสินค้า เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ได้มากที่สุด รวมถึงการสร้างเครือข่ายและความสัมพันธ์ที่ดีกับตัวแทนจัดจำหน่าย
หลังจากประสบความสำเร็จในประเทศแล้ว Legend จึงตั้งเป้าหมายใหญ่ขึ้น
ด้วยการก้าวสู่ตลาดโลก ภายใต้การนำของ CEO คนใหม่ที่ชื่อว่า “Yang Yuanqing”
คุณ Yang เริ่มงานที่ Legend ตั้งแต่ตอนที่บริษัทเปิดรับสมัครพนักงานครั้งแรกเมื่อปี 1988 โดยเริ่มจากตำแหน่งพนักงานขาย ซึ่งก็สร้างผลงานได้โดดเด่น จนไปเข้าตาประธานบริษัทอย่างคุณ Liu
คุณ Yang จึงได้เลื่อนขั้นมาเป็นหัวหน้ากลุ่มธุรกิจ PC ในวัยเพียง 29 ปี
ก่อนที่จะรับตำแหน่ง CEO ในปี 2001 ขณะที่อายุ 37 ปี
เพื่อเตรียมก้าวสู่ตลาดโลก Legend จึงรีแบรนด์ในปี 2003 ด้วยการเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น “Lenovo” ซึ่งมาจากคำว่า “Le” จากชื่อบริษัทเดิม Legend รวมกับคำว่า “Novo” ที่แปลว่า ใหม่ ในภาษาละติน
ต่อมาในปี 2004 บริษัท IBM ได้ประกาศขายธุรกิจคอมพิวเตอร์
ซึ่ง IBM เป็นบริษัทผู้นำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จากสหรัฐอเมริกา โดยนับเป็นบริษัทแรก ๆ ในโลกที่เริ่มขาย คอมพิวเตอร์จนมีแล็ปท็อป “ThinkPad” ที่โด่งดัง และครองส่วนแบ่งตลาดคอมพิวเตอร์เป็นอันดับ 3 ของโลกในขณะนั้น เป็นรองจาก Dell และ HP
แต่สาเหตุสำคัญที่ IBM ตัดสินใจขายธุรกิจคอมพิวเตอร์ เพราะมองว่าเทคโนโลยีเครื่องคอมพิวเตอร์ ถูกคู่แข่งเลียนแบบได้ง่าย แถมยังแข่งกันตัดราคาขาย ทำให้อัตราการทำกำไรต่ำ บริษัทจึงอยากโฟกัสธุรกิจที่สร้างกำไรได้ดี อย่างพวกซอฟต์แวร์และกลุ่มให้บริการ มากกว่า
ที่น่าสนใจก็คือ ทั้งที่ Dell ก็เสนอซื้อเช่นกัน แต่ IBM กลับเลือกขายธุรกิจคอมพิวเตอร์ให้กับ Lenovo ซึ่งในตอนนั้นยังเป็นบริษัทจากประเทศจีนที่แทบไม่มีคนรู้จัก
โดย IBM ให้เหตุผลว่าตอนนั้นรัฐบาลจีนกำลังผลักดันบริษัทจากจีนให้ได้เติบโตในระดับโลก
IBM จึงตอบสนองความต้องการของรัฐบาลจีน เพื่อเปิดโอกาสให้ IBM เข้าไปบุกตลาดจีนได้ง่ายขึ้น
Lenovo ที่อยากขายสินค้าไปทั่วโลก จึงตกลงซื้อธุรกิจคอมพิวเตอร์ของ IBM ในปี 2005 ด้วยมูลค่า 1.75 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 5.7 หมื่นล้านบาท ซึ่งนับว่าเป็นบริษัทแรก ๆ ของจีน ที่มีดีลการเข้าซื้อกิจการต่างประเทศ
นั่นจึงทำให้ Lenovo ได้โรงงานผลิตคอมพิวเตอร์ของ IBM ที่มีเทคโนโลยีล้ำสมัย ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายและฐานลูกค้าทั่วโลก รวมถึงได้ทีมงานจาก IBM ซึ่งทำให้บริษัทมีพนักงานเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว
ที่สำคัญก็คือ ไลน์ผลิตภัณฑ์กลุ่ม “Think” ที่ขายดีที่สุดของ IBM อย่าง ThinkPad ที่เป็นแล็ปท็อป และ ThinkCentre ที่เป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ก็จะเปลี่ยนโลโกจาก IBM มาเป็น Lenovo
และนี่คือจุดเปลี่ยนที่ทำให้ Lenovo ซึ่งแต่เดิมแทบไม่มียอดขายในต่างประเทศเลย สามารถเติบโตแบบก้าวกระโดดจากบริษัทคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก ขึ้นมามีส่วนแบ่งตลาดเป็นอันดับ 3 ของโลก แทนที่ IBM ทันที
นอกจากนี้ การรวมพนักงานนานาชาติของทั้ง 2 บริษัท ทำให้ Lenovo ปรับโครงสร้างกรรมการบริษัทและทีมบริหารให้มีสัดส่วนชาวจีนและอเมริกันเท่า ๆ กัน
อีกมุมที่ Lenovo ให้ความสำคัญไม่แพ้การมีสินค้าขายไปทั่วโลก ก็คือการปรับวัฒนธรรมองค์กร ธรรมาภิบาล รวมถึงมาตรฐานบัญชี ให้มีความเป็นสากล
ยกตัวอย่างเช่น แม้ในตอนนั้นตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกงจะกำหนดให้ส่งงบประมาณเพียงปีละ 2 ครั้ง แต่ CFO หญิงผู้วางรากฐานที่สำคัญให้ Lenovo อย่างคุณ Mary Ma เลือกให้บริษัทเปิดเผยงบประมาณปีละ 4 ครั้งเป็นรายไตรมาส ตามมาตรฐานสากล
จากการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดนี้ Lenovo จึงเปลี่ยนจากบริษัทท้องถิ่น มาเป็นบริษัทข้ามชาติ
ซึ่งถือได้ว่าเป็นบริษัทข้ามชาติแห่งแรกที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีน
แต่หลังจากนั้นไม่นาน Lenovo ก็ต้องเจอความท้าทายครั้งใหญ่ เพราะผลจากวิกฤติการเงินโลกในปี 2008 ทำให้ผลประกอบการปี 2009 ของบริษัทพลิกเป็นขาดทุนมากถึง 7.4 พันล้านบาท
ในปี 2009 คุณ Yang ที่ได้เลื่อนตำแหน่งไปเป็นประธานกรรมการบริษัทในปี 2004 ได้ขอกลับมารับตำแหน่งเป็น CEO อีกครั้งเพื่อนำบริษัทให้กลับมามีกำไร รวมถึงเร่งเพิ่มยอดขายและขยายส่วนแบ่งตลาด ซึ่งต้องใช้เงินลงทุนสูง แต่คุณ Yang ขอเวลา 4 ปี แล้วค่อยวัดผล
คุณ Yang เริ่มจากการฟื้นฟูตลาดเดิมที่ทำกำไรได้ดีอยู่แล้ว นั่นก็คือ ฐานลูกค้าเดิมจาก IBM อย่าง PC สำหรับลูกค้าองค์กร และฐานลูกค้าเดิมของ Lenovo อย่างตลาดในประเทศจีน
ขณะเดียวกันก็บุกตลาดใหม่ ๆ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศที่เศรษฐกิจเติบโตแรงและมีจำนวนประชากรมาก อย่างเช่น อินเดีย เพื่อขยายฐานลูกค้าไม่ให้พึ่งพาชาวจีน มากเกินไป
ซึ่งกลยุทธ์เชิงรุกนี้ช่วยเพิ่มรายได้ได้อย่างรวดเร็ว แต่ยังต้องแลกกับการทุ่มงบประมาณก้อนใหญ่ เพื่อทำให้แบรนด์เป็นที่รู้จัก และทำการตลาดเพื่อกระตุ้นยอดขาย
Lenovo จึงได้เพิ่มไลน์ผลิตภัณฑ์เพื่อเจาะกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายขึ้นนอกเหนือจาก ThinkPad ที่เป็นแล็ปท็อปพรีเมียมราคาสูง อย่างเช่น IdeaPad ที่เป็นแล็ปท็อปราคาเข้าถึงง่าย รวมถึง Yoga ที่ฟังก์ชันการใช้งานเป็นได้ทั้งแล็ปท็อปและแท็บเล็ต
นอกจากนี้ Lenovo ได้เร่งขยายส่วนแบ่งตลาดจากการควบรวมกิจการมากมาย ยกตัวอย่างเช่น
ปี 2011 Lenovo ซื้อบริษัทอิเล็กทรอนิกส์เยอรมันที่ชื่อ Medion ทำให้ส่วนแบ่งตลาดของ Lenovo ในเยอรมนีเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวทันที และ Lenovo ยังตั้งบริษัทร่วมทุนกับบริษัท NEC ของญี่ปุ่น ทำให้กลายเป็นบริษัท PC ที่ใหญ่สุดในญี่ปุ่น
ปี 2012 Lenovo ซื้อบริษัทคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่สุดในบราซิลที่ชื่อ CCE ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการเจาะตลาดอเมริกาใต้
ปี 2018 Lenovo ซื้อกิจการคอมพิวเตอร์ของ Fujitsu ประเทศญี่ปุ่น
ผลลัพธ์จากแผนงานที่นำทีมโดยคุณ Yang หลังจากวิกฤติการเงินโลก ก็ถือว่าเกินความคาดหมาย
เพราะ Lenovo สามารถเพิ่มสัดส่วนรายได้จากประเทศอื่น ๆ และลดสัดส่วนจากจีนลงได้ จาก 46% ในปี 2010 เหลือเพียง 23% ในปัจจุบัน โดยรายได้ของ Lenovo กว่า 80% ยังมาจากธุรกิจคอมพิวเตอร์
ในด้านของส่วนแบ่งตลาดคอมพิวเตอร์ Lenovo สามารถชนะ Dell จนขึ้นมาเป็นที่ 2 ของโลกได้เป็นครั้งแรกในปี 2011 ก่อนที่จะแซง HP ขึ้นมาเป็นที่ 1 ของโลกในอีก 2 ปีถัดมา และยังครองอันดับ 1 มาจนถึงปัจจุบัน
ความสำเร็จของการปลุกปั้นธุรกิจคอมพิวเตอร์ของ Lenovo ก็ได้ทำให้ คุณ Yang ถูกจัดอันดับให้เป็นหนึ่งใน CEO ที่เก่งที่สุดในโลก รวมถึงผู้ก่อตั้งอย่างคุณ Liu ที่ได้รับฉายาว่าเป็น “ไฮเทคฮีโรแห่งประเทศจีน”
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
คุณ Liu Chuanzhi ผู้ก่อตั้ง Lenovo มีลูก 2 คน
หนึ่งในนั้นคือลูกสาวที่ชื่อว่า Liu Qing หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า “Jean Liu”
หลังจากที่ Jean Liu จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และทำงานที่ Goldman Sachs มา 12 ปี
เธอก็ย้ายมารับตำแหน่งเป็น COO ให้กับบริษัทสตาร์ตอัปของจีนที่ชื่อ Didi Dache
เธอมีบทบาทสำคัญในการควบรวมกิจการระหว่าง Didi Dache กับบริษัทคู่แข่งอย่าง Kuaidi Dache ในปี 2015 ที่เปลี่ยนมาใช้ชื่อใหม่เป็น “Didi Chuxing” แอปพลิเคชันเรียกแท็กซี่และส่งอาหารอันดับ 1 ของจีน
ปัจจุบัน เธอดำรงตำแหน่งประธานบริษัท ซึ่งเป็นผู้นำคนสำคัญของ Didi Chuxing ร่วมกับผู้ก่อตั้งอย่างคุณ Cheng Wei ที่ดำรงตำแหน่งเป็น CEO และประธานกรรมการ จนถูกจัดอันดับจากนิตยสาร Time ให้เป็น 1 ใน 100 คน ที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดในโลกเมื่อปี 2017
ซึ่งก็เรียกได้ว่าลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น เลยทีเดียว..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.economist.com/business/2013/01/12/from-guard-shack-to-global-giant
-https://www.economist.com/business/2001/09/13/legend-in-the-making
-https://www.ft.com/content/2bb25562-4ae0-11d9-a0ca-00000e2511c8
-https://www.cnbc.com/2016/12/01/china-based-lenovos-ride-to-top-spot-of-pc-business.html
-https://www.marketwatch.com/story/why-ibm-selling-server-unit-to-lenovo-is-bad-news-for-hp-1390500250
-https://www.wsj.com/articles/the-worlds-largest-pc-maker-is-no-longer-a-bargain-11550742853
-https://www.theverge.com/2012/1/3/2677691/ex-ibm-ceo-revisits-selling-pc-business-samuel-palmisano
-https://en.wikipedia.org/wiki/Lenovo
-https://en.m.wikipedia.org/wiki/Market_share_of_personal_computer_vendors
-https://investor.lenovo.com/en/financial/results.php
didi global 在 Facebook 的最佳解答
改革開放不再,科技寒冬不盡?
Charles Mok: More than a Tech Crackdown, It’s Farewell to China’s Economic Reform
didi global 在 the劉沛 Youtube 的精選貼文
整集的劉沛Official Review跟大家分享這次吃北海道比吃的美食!
北海道播放清單➔ https://www.youtube.com/watch?v=RjN7n0Smvs4&list=PLha_LITAtOudBckkfGJtFsN8h8Jw3kfUP&index=5
邀請沛隊幫忙上字幕😊 https://bit.ly/PLP_theLiuPeiSubtitles
👉人氣影片👈
●我終於求婚了https://youtu.be/_83NMGqaxgk
●訪問威爾史密斯! https://youtu.be/EFsDrFz7R2A
●我們被美國警察攔下來! https://youtu.be/xb7Ok2Ak16c
●歐洲小偷,逮捕現行犯! https://youtu.be/EdVQ0mJ_jqc
●我們在歐洲被跟蹤! https://youtu.be/b8qCrjO93aY
●我常用的電滑板 https://youtu.be/l9p9UZmmjtk
●捕捉超夢,我超幸運! https://youtu.be/6n60RBgBimE
👉追蹤追蹤👈
劉沛IG http://bit.ly/PLP_INSTAGRAM
美根IG http://bit.ly/MEAGHAN_INSTAGRAM
劉沛FB http://bit.ly/PLP_FACEBOOK
劉沛TW http://bit.ly/PLP_TWITTER
👉餐廳連結👈
成吉思汗烤肉 https://www.sapporo-bier-garten.jp/global/chinese_fan.html
德太郎 https://www.tokutarou.com/
四季花まる http://www.sushi-hanamaru.com/store/detail.html?sid=495986422140
串鳥 https://kushidori.com/shop/
👉重要連結👈
■初次使用Uber折扣 http://bit.ly/PLP_Uber
■初次使用Airbnb折扣 http://bit.ly/PLP_Airbnb
■音樂Dj Quads http://bit.ly/PLP_DjQuads
■我的設備 https://bitly.com/theliupei
■感謝Didi Design Lab設計Logo
★ 商業合作:liupeibusiness@gmail.com ★
▻劉沛 thePierre Official Review◅
#記得開啟CC字幕 #劉沛北海道 #北海道美食
didi global 在 Didi Global is the world's... - New York Stock Exchange 的推薦與評價
... <看更多>