"หน้ากากผ้า ไม่ได้มีประสิทธิภาพเท่าหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ นะครับ"
ความเข้าใจผิดแบบ false sense of protection (หลงเข้าใจผิดไปว่าได้รับการป้องกันแล้ว) นั้น บางอย่างอาจทำให้เกิดปัญหาในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้ ตัวอย่างเช่น การตรวจวัดไข้ก่อนเข้าสถานที่ แล้วทำให้คนปล่อยตัวตามสบายหลังจากผ่านการวัดไข้แล้ว ทั้งที่ผู้ติดเชื้อกว่าครึ่งหนึ่งไม่ได้มีอาการไข้แต่อย่างไร (แถมเวลาวัดไข้ ก็วัดกันไม่ค่อยถูกต้องด้วย)
อีกเรื่องก็คือเรื่องที่หลายคนเชื่อกันไปว่า การใส่หน้ากากผ้า ก็มีประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อโรคได้พอๆ กับหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ทำให้กล้ายืนคุยคลุกคลีกับคนอื่นนานๆ โดยไม่เว้นระยะห่างทางสังคม ! แต่จริงๆ แล้วมันไม่ได้ดีขนาดนั้นนะครับ
หน้ากากผ้า ที่คนไทยนิยมใช้กันอยู่ในขนาดนี้ เกิดจากกระแสการรณรงค์ของ ก. สาธารณสุข ให้เอามาใช้ทดแทนหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ (แบบหน้ากากผ่าตัด แผ่นกรอง 3 ชั้น) ในช่วงที่หน้ากากอนามัยขาดแคลนมากจากท้องตลาด ประมาณช่วงกลางปีที่ผ่านมา ซึ่งจริงๆ ก็เหมือนกับว่า "ถ้าไม่มีหน้ากากอนามัย ประชาชนก็ใช้หน้ากากผ้า ไปก่อนก็ได้" ควรเอาหน้ากากอนามัยให้บุคลากรทางการแพทย์ใช้ก่อนเถอะ จำเป็นกว่า
แต่ประสิทธิภาพในการกรองของหน้ากากผ้านั้น โดยทั่วไปแล้วต่ำกว่าหน้ากากอนามัยทางการแพทย์มาก ถ้าประชาชนจะนำมาใช้เพื่อ "พอที่จะป้องกันโรคได้" ก็จะต้องเป็นผ้าที่กันน้ำได้ มีความหนาหลายชั้น มีเส้นใยผ้าที่ละเอียด ตัดเย็บให้เข้ากับใบหน้า และจะต้อง ใช้-ถอด-ใส่-ซัก-ดูแล อย่างถูกวิธีด้วย ซึ่งจำเป็นที่จะต้องมีการสอนการแนะนำอบรมกันให้ถูกต้อง (ส่วนเจ้าหน้าที่ ที่จะต้องปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงจะติดเชื้อนั้น ไม่แนะนำให้ใช้เลย)
ดังนั้น ในช่วงเวลาที่หน้ากากอนามัยทางการแพทย์เริ่มมีราคาถูกลง และพอหาซื้อได้เลย ถ้าใครต้องเข้าไปอยู่ในพื้นที่เสี่ยงสูง ต้องพบปะพูดคุยคลุกคลีกับคนอื่น ผมแนะนำว่าเลือกใช้หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ แทนหน้ากากผ้า จะดีกว่าครับ
และที่สำคัญคือ ไม่ว่าจะใช้หน้ากากชนิดใด ก็ต้องถอด-ใส่-ใช้ให้ถูกต้อง ร่วมกับการเว้นระยะห่างทางสังคม ไม่งั้นอาจจะเพิ่มความเสี่ยงในการรับเชื้อโรคมากขึ้นเสียด้วยซ้ำนะ
----------------------
จากงานวิจัยของ Chughtai และคณะ เรื่อง Effectiveness of Cloth Masks for Protection Against Severe Acute Respiratory Syndrome Coronavirus 2 (วารสาร Emerging Infectious Disease. Volume 26, Number 10—October 2020) ได้ศึกษาถึงประสิทธิภาพของหน้ากากผ้า ต่อการป้องกันโรคโควิด-19 มีประเด็นน่าสนใจหลายอย่าง ดังนี้
- ในปี ค.ศ. 2015 คณะผู้วิจัยได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของหน้ากากผ้า (แบบผ้าฝ้าย หนาสองชั้น และถูกขอให้ซักทุกวันด้วยน้ำกับสบู่) กับหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ของประเทศเวียดนาม พบว่า อัตราการติดเชื้อในกลุ่มที่ใช้หน้ากากผ้านั้น สูงกว่ากลุ่มที่ใช้หน้ากากอนามัย และกลุ่มควบคุม (ที่อาจจะไม่ได้ใช้หน้ากาก แต่ใช้มาตรการป้องกันเชื้อโรคตามมาตรฐาน) เสียด้วยซ้ำ !? ซึ่งคาดว่า หน้ากากผ้าที่ใช้นั้น ไม่ได้ถูกซักบ่อยเพียงพอ และมักจะเปียกชื้น ไม่แห้งพอ ทำให้ปนเปื้อนเชื้อได้ง่าย
- ผู้วิจัยได้ศึกษาประสิทธิภาพในการกรองของหน้ากากผ้า โดยการทบทวนเอกสารงานวิจัย 19 เรื่อง พบว่า โดยทั่วไปแล้ว ประสิทธิภาพของหน้ากากผ้านั้นต่ำกว่าหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ประสิทธิภาพในการกรองของหน้ากากผ้านั้นขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น ความละเอียดของการถักทอ จำนวนชั้นของผ้า และการสามารถในการกันน้ำ หน้ากากผ้าที่มีใช้กันมักจะไม่ได้ถูกออกแบบมาให้กระชับกับใบหน้า นอกจากนี้ ประสิทธิภาพของหน้ากากที่เปียกชื้นนั้น จะต่ำกว่าหน้ากากที่แห้งด้วย
- นักวิจัยมีข้อสังเกตว่า แม้ว่าศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ หรือ ซีดีซี (CDC) ของประเทศสหรัฐอเมริกาจะแนะนำให้ประชาชนใช้หน้ากากผ้าที่ตัดเย็บกันเอง ในช่วงที่หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ขาดแคลนเนื่องจากการระบาดของโรคโควิด-19 แต่ก็ไม่ได้ออกคำแนะนำถึงวิธีการซักล้างและฆ่าเชื้อโรคสำหรับหน้ากากผ้า (ซึ่งจริงๆ แล้ว แค่ซักด้วยน้ำร้อนและสบู่ ก็เพียงพอที่จะฆ่าเชื้อโรคโควิดได้แล้ว)
- ดังนั้น คณะวิจัยจึงเสนอว่า หน้ากากผ้าควรจะเป็นทางเลือกสุดท้ายสำหรับเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ เมื่อไม่มีหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ใช้เท่านั้น และถ้าจะใช้ ก็ต้องเลือกแบบที่เป็นผ้าหลายชั้น กันน้ำ ถักทอละเอียด พอที่จะป้องกันกระแสของละอองน้ำลายที่พุ่งเข้าใส่ด้วยความดันกว่า 160 มิลลิเมตรปรอท ไม่ให้ผ่านทะลุผ้าเข้าไปใส่ปากของผู้สวมใส่ได้ และจะต้องออกแบบตัดเย็บไม่ให้มีช่องว่างที่ด้านข้างของหน้ากาก ที่กระแสละอองน้ำลายจะเข้าไปได้
- สำหรับประชาชนทั่วไป หน้ากากผ้า อาจะนำมาใช้ให้ผู้ป่วยเป็นผู้สวมใส่ เพื่อป้องกันการแพร่เชื่อโรคออกไป และยิ่งมีประโยชน์ในกรณีของการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ กว่า 50% ของผู้ติดเชื้อนั้นไม่มีอาการป่วยใดๆ แสดงออกมาแม้ว่าจะแพร่เชื้อได้ก็ตาม ... แต่ประชาชนจะต้องได้รับการอบรมแนะนำวิธีการใช้ที่ถูกต้อง มิเช่นนั้น จะกลายเป็น "false sense of protection" ได้ เพราะหน้ากากผ้ามีประสิทธิภาพจำกัดในการป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ตัวเรา โดยเฉพาะการใส่และถอดหน้ากากผ้าอย่างไม่ถูกต้อง ซึ่งเชื้อโรคสามารถเกาะอยู่ที่ด้านหน้าของหน้ากาก และทำให้เราได้รับเชื้อเวลาถอด-ใส่ได้
ข้อมูล จาก https://wwwnc.cdc.gov/eid/article/26/10/20-0948_article
--------
(เพิ่มเติมข้อมูล จากอีกบทความ) จากงานวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิภาพการกรองของหน้ากากผ้า เทียบกับหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ โดยใช้กรองผงเกลือละเอียด (ขนาด 0.02 ถึง 1.0 ไมโครเมตร) พบว่าหน้ากากอนามัยแบบชั้นเดียว ทำจากผ้า tea-towel (ผ้าเช็ดมือในครัว) และหน้ากากอนามัยสองชั้น ทำจากผ้าเนื้อเดียวกับเสื้อทีเชิร์ต รวมถึงหน้ากากผ้าที่สุ่มซื้อจากข้างถนนโดยไม่รู้ชนิดของเนื้อผ้า มีความสามารถในการป้องกันอนุภาคขนาดจิ๋วได้ประมาณ 50% ในขณะที่หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ มีประสิทธิภาพในการกรองแบบเดียวกัน อยู่ที่ประมาณ 80%
ข้อมูลจาก https://theconversation.com/covid-19-masks-faqs-how-can-cloth-stop-a-tiny-virus-whats-the-best-fabric-do-they-protect-the-wearer-146822?fbclid=IwAR19V-A1ekgmhfyfAAeWcdNSqh_63OPao8aOvQA6Bx6-nUeYUOESv6eUV2g
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「eid infectious disease」的推薦目錄:
- 關於eid infectious disease 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
- 關於eid infectious disease 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳貼文
- 關於eid infectious disease 在 一個平凡醫學生的日常。 Facebook 的最佳貼文
- 關於eid infectious disease 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於eid infectious disease 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於eid infectious disease 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
eid infectious disease 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳貼文
➥【重點摘要】:台灣因與中國地理位置接近且交通頻繁,在武漢肺炎的預防上面臨嚴峻的挑戰。自中國於2019/12/31向世衛通報第一例個案,台灣即組成指揮中心並對來自武漢的班機旅客進行健康檢查。
台灣迅速的應變措施成功於2020/01/20於機場成功攔截並隔離第一個病例,隨後並在二月以前成功發展出4 小時的快篩試劑並分離出兩株病毒株。自2020年二月,台灣政府及指揮中心專注在偵測及隔離病患以圍堵可能的社區傳染,並即時更新旅遊禁令以限制由高危險地區的境外移入。
2003年的SARS,大幅改善了民眾的健康行為及衛生習慣,如流感及其他疫苗的注射、洗手頻率、手部消毒、及口罩的使用。此外,台灣有全國性的公共衛生、醫療、及保險體系。
這些交錯的健康系統,減少了醫師問診及追蹤的困難,有助於偵測輕症的疑似個案。跨部門的合作、資料分享、與即時的人力與資源調配,對反應同樣重要。
在疫情爆發後的50天,台灣藉2003年的抗煞經驗,提高公眾意識、健全公衛網絡、爭取醫療產業的支持、跨部門的合作、及利用先進的資通訊技術,有效延遲並圍堵社區傳染。(「財團法人國家衛生研究院」莊淑鈞博士整理)
📋 Policy Decisions and Use of Information Technology to Fight 2019 Novel Coronavirus Disease, Taiwan(2020/04/01)+中文摘要轉譯
➥Author:Cheryl Lin, Wendy E. Braund, John Auerbach, et al.
➥Link: (CDC)Emerging Infectious Diseases
https://wwwnc.cdc.gov/eid/article/26/7/20-0574_article
#2019COVID19Academic
衛生福利部
疾病管制署 - 1922防疫達人
疾病管制署
國家衛生研究院-論壇
eid infectious disease 在 一個平凡醫學生的日常。 Facebook 的最佳貼文
我覺得抗生素的使用是一個很揭露人性的議題。對病人自己短期而言,他們主觀上當然覺得使用強力的big gun antibiotics有利無害。但對社會大眾長期來說卻影響深遠,後患無窮。選擇一時的方便還是盡力延長藥物的有效期;只著眼一人的病情還是關注整個社會的健康:這是醫生用藥時必須考慮的後果,也希望病人(和家屬)能夠理解。
【我們正步入「後抗生素時代」| 醫患連線】
「瑪嘉烈醫院一名長期病患者去年因肺炎留醫,醫生處方 Azithomycin 及 Augmentin 5日後情況沒有好轉,繼而獲處方更強力抗生素 Tazocin,惟病人4日後因肺炎去世。」病人家屬責怪醫生未能為病人處方「最強」的藥物,令病人失去最佳治療時間。可是,應否先為病人處方 Tazocin 卻值得商榷。
然而,「最強」的抗生素只會帶來「更強」的細菌,於剛發現抗生素青黴素 (Penicillin) 的年代,它就是「最強」的抗生素,直到細菌普遍出現耐藥性。於是,科學家找出耐藥性的原因,研發出更廣譜性「更強」的抗生素 Amoxicillin。之後,科學家再研發出「更強」的抗生素 Augmentin。而現在Augmentin 卻被認為是「普通」的抗生素。
原來,「沒有最強,只有更強」。 出現如此強勁的耐藥性細菌,究竟是誰的責任呢?
人往往都追求最好的,最強的。既然有特效藥能殺死細菌,為何我要服普通的藥? 「弱肉強食,適者生存」,在細菌的世界也不外如是。不同的細菌每天在你我的身體中爭個你死我活,亦會不斷變異,務求自己能生存。然而,特效藥將絕大部份細菌殺清,連幫助對抗惡菌的益菌都殺掉。有節制地﹑有需要地及情況嚴重時使用特效藥沒問題,但假若每一次的感染,甚至是情況輕微的感染都使用,只會「逼得細菌太緊」,替變異成功的抗藥惡菌爭取領土。結果,絕大部份細菌都殺清光,取而代之就是那些特效藥殺不死的抗藥惡菌。特效藥霎時降級,變成普通藥,唯有再研發「更強」的抗生素了。
問題有多嚴重?
世界衛生組織於2014年的抗菌素耐藥性報告中指出,我們正步入「後抗生素時代」—— 意指一些原本常見或輕微的感染因耐藥性而無藥可醫,像回到了以前沒有抗生素的時代一樣。大家對抗耐甲氧西林金黃葡萄球菌 (Methicillin-resistant Staphylococcus aureus, MRSA) 相信並不陌生。近年引起更大關注的,是碳青霉烯酶腸道菌 (Carbapenem-resistant Enterobacteriaceae, CRE) 。某些克雷伯氏菌 (Klebsiella species) 和大腸桿菌 (Escherichia coli) 都屬於益菌,能在健康的人的腸道中找到。無奈因不正確使用抗生素,它們對碳青霉烯 (Carbapenem) 已出現耐藥性。健康的人有益菌這隊大軍保護,CRE難以侵入。因此,CRE襲擊的大都是長期病患者,特別是一些經常服用抗生素,而導致腸內益菌減少的人。益菌減少,令CRE這類抗藥惡菌能乘虛而入,大肆破壞。某些CRE只對市面上「最後一道防線」的粘桿菌素 (Colistin) 有反應,因此也能解釋為何感染CRE死亡的人能達50%。更甚的是,現時開始有不同國家及地區,發現對粘桿菌素產生耐藥性的腸道菌 (Colistin-resistant Enterobacteriaceae),而本港亦在1,324 個醫院臨床樣本中,有0.4%出現其耐藥性的基因。此外,另一種引起擔憂的超級細菌是淋病奈瑟菌 (Neisseria gonorrhoeae)。現在已經有最少十個國家,包括英國﹑澳洲﹑加拿大﹑法國﹑日本等,發現牠對作為「最後一道防線」的第三代頭孢菌素 (Third-generation cephalosporin),如頭孢曲松 (Ceftriaxone),產生耐藥性。
香港情況如何?
醫管局及衛生防護中心均有監察細菌耐藥性。醫管局的超級細菌報告(2011-2016)指出,監察的鮑氏不動桿菌 (Acinetobacter species) 中,約50%對碳青霉烯 (Carbapenem) 有耐藥性,金黃葡萄球菌 (Staphylococcus aureus) 中,約40%對甲氧西林 (Methicillin) 有耐藥性,及有20%的大腸桿菌 (Escherichia coli) 製造廣譜β-內酰胺酶 (Extended-spectrum β-lactamase, ESBL)。更甚的是,醫管局亦發現了耐碳青霉烯酶腸道桿菌 (CRE) 個案在近年有所增加,由2011年的19名病人增加至2015年的340名病人。另一方面,衞生署亦有監察淋病奈瑟菌 (Neisseria gonorrhoeae) 耐藥性的興起,該細菌對頭孢菌素 (Ciprofloxacin) 及青黴素 (Penicillin) 有耐藥性的分別佔總數的95%及50%,幸好對頭孢曲松 (Ceftriaxone) 的耐藥性還處於接近0%的低水平,但我們絕不能對此掉以輕心。
新的抗生素在那裡?
雖然一直有科研人員致力研發新的抗生素,但是成效始終不大。一份2016年初出版的抗生素回顧文獻指出,由2000年至2015年新核准 (Approved) 的抗生素有三十款,另有兩款為新的 β-lactam/β-lactamase inhibitor 組合,當中只有六款為市場首見新藥 (First-in-class),其餘為新一代的藥物 (New generation of existing class)。然而,單計算美國食品藥物管理局 (FDA) 在2016年新核准的藥物的七十八款中,卻沒有一款為抗生素,只有兩款為針對細菌毒素的單株抗體,而對比抗癌藥則有十款,可見每年能成功推出市場的抗生素廖廖可數。
截至現時的臨床實驗 (Clinical trial) 中,單針對肺癌的有1648項紀錄,而針對細菌感染的只有145項紀錄(註:每項紀錄以單一地方進行的單個實驗去計算),數據顯示出藥廠亦不願去研發抗生素。其中一個可能的原因為細菌變異速度快,而全球濫用抗生素的情況嚴重,以致細菌容易產生耐藥性,令新研發的抗生素很快失效。另外,抗生素療程有限,相比起需長期服用的藥物,如降膽固醇藥,所賺取的利潤未必太多,亦不持久。
假若你是藥廠的老闆,你會投資相對高風險的抗生素,或是能賺大錢的抗癌藥呢?
事實上,要成功研發更多抗生素,政府的角色十分重要。若果單靠藥廠自行研發,結果只會遠遠追不上不斷變異的惡菌。因此,政府應立刻投放更多資源,支持科研人員研發新的抗生素,才能及早未雨綢繆。當然,在公共衛生層面上,政府亦應靠一系列的措施去減慢細菌產生耐藥性的速度。
也許,這名瑪嘉烈醫院患者去世一事告訴我們「後抗生素時代」已漸漸逼近。
如何應對?下回再談。
事件來源:http://hk.apple.nextmedia.com/news/art/20170724/20099693
參考資料:
Medeiros, A. (1997). Evolution and Dissemination of β-Lactamases Accelerated by Generations of β-Lactam Antibiotics. Clinical Infectious Diseases, 24(Supplement 1), pp.S19-S45.
Centers for Disease Control and Prevention. (2017). Carbapenem-resistant Enterobacteriaceae in Healthcare Settings | HAI | CDC. [online] Available at: https://www.cdc.gov/hai/organisms/cre/ [Accessed 24 Jul. 2017].
Centre for Health Protection. (2017). Bacterial pathogen isolation and percentage of antimicrobial resistance - out-patient setting. [online] Available at: http://chp.gov.hk/en/data/1/10/641/697/3345.html [Accessed 22 Jul 2017].
Martens, E. and Demain, A. (2017). The antibiotic resistance crisis, with a focus on the United States. The Journal of Antibiotics, 70(5), pp.520-526.
World Health Organization. (2014). Antimicrobial resistance: global report on surveillance 2014. [online] Available at: http://apps.who.int/…/bitstream/10665/112642/1/978924156474… [Accessed 22 Jul 2017].
Centers for Disease Control and Prevention. (2016). Colistin-Resistant Enterobacteriaceae Carrying the mcr-1 Gene among Patients in Hong Kong. Available at: https://wwwnc.cdc.gov/eid/article/22/9/16-0091_article [Accessed 22 Jul 2017].
Butler, MS., Blaskovich, MAT. and Cooper MA. (2017). Antibiotics in the clinical pipeline at the end of 2015. The Journal of Antibiotics, 70, 3-24.
CenterWatch. (2017). Search Clinical Trials. [online] Available at: http://www.centerwatch.com/clinical-trials/listings/ [Accessed 22 Jul 2017].
Centre for Health Protection. (2017). Hong Kong Strategy and Action Plan on
Antimicrobial Resistance 2017-2022 [online] Available at: http://www.chp.gov.hk/files/pdf/amr_action_plan_eng.pdf [Accessed 22 Jul 2017].
Hong Kong Economic Journal. (2016). Most private doctors prescribing antibiotics too easily: expert. [online] Available at: http://www.ejinsight.com/20161103-most-private-doctors-pre…/ [Accessed 22 Jul 2017].
圖片來源:https://commons.wikimedia.org/…/File:Human_neutrophil_inges…