【臺北-布拉格姊妹市合作計畫〜臺北動物園喜迎新生馬來貘寶寶!】
馬來貘「貘芳」於今日(09月13日)上午順利產下一隻雄性幼仔!
新生貘寶寶不僅象徵姊妹市合作計畫的成果,也是強化馬來貘域外安全族群的新希望。
Prague-Taipei sister city collaboration project in breeding Malayan tapir welcome new member.
Malayan tapir “Mofen” at Taipei Zoo gave birth to a male baby in the morning on September 13th Taipei time. This newborn baby not only symbolizes the success of conservation cooperation between sister cities of Prague and Taipei, but also offers hope for enhancing the ex-situ insurance population of Malayan tapir.
ex situ 在 走近動物園 Approaching the zoo Facebook 的最佳解答
【平凡】
#普通的動物
#合適的展示
#EEP
Pairi Daiza是一座匯聚了來自世界各地珍禽異獸的頂級動物園,小巧如豔蜂鳥、怪誕如鯨頭鸛、有名如大貓熊、冷門如蘇島袋貓甚至當地人引頸期盼的北極熊都能飽覽無疑,但要說到當下遊覽時帶給我最深刻體驗的物種,仔細回想起來,或許要屬一群再正常不過的浣熊。
在絕大多數動物園中,浣熊可能都被視為「墊檔的」,雖然有名到可說是家喻戶曉的物種,但也就僅止於此,不僅園方給予的展區待遇普普,遊客也鮮少佇足觀察,倘若沒有餵食互動這樣「強行激活」的環節,在園區開放時間動物可能也多半是在睡眠中度過。
但我在Pairi Daiza看到的浣熊,因為園方沒有提供任何的餵食機會(他們有的是其他方法賺錢),不像那些已經被投餵制約的同類一看到人影就急忙上前乞食,牠們壓根兒就不在乎展區外大聲喧嘩、逗弄的遊客,一心一意地投入於「地毯式搜索」,即便冬毛讓身材看來有些臃腫,這群小毛球一會兒爬上樹窺探樹洞,下個瞬間又跑到小河邊翻弄石塊,最後乾脆一頭栽進落葉堆中,彷彿這塊每天面對的地盤有著漫山遍野的驚喜,讓站在遠處觀察的我感受到了牠們「真正活著」。
---------------------
歐洲瀕危物種計畫(EEP)是歐洲動物園水族館協會長久以來致力於讓瀕危物種的圈養族群發揮「最大效能」的根基,而大部分並非瀕危物種的動物園成員,則多半被歸納到血統書(studbook)中管理。但像浣熊這樣,不僅不是瀕危物種,還建立了大量商業繁殖場的動物,則多半處於一個「可有可無」甚至「死了再說」的狀態。
沒有任何一個物種是缺乏吸引力的,但事實就是有許多動物園讓自己的動物受限於場地及管理而「有志難伸」,無法展現出自身的魅力,甚至在動物園的發展進程中至今仍是「不被考慮」的一群,這一點在Conway寫下牛蛙世界的1968年是如此,50多年過去的至今亦然。
但多少讓人感到安慰的是,即便步伐跨的不大,動物園行業確實有在朝著該目標邁進,EEP目前已經逐漸朝向European Ex-situ Programme(歐洲域外計畫)的方向發展,不再只有瀕危物種獨尊,而是明確列出「每一個圈養物種在動物園中的定位」,比如補充野外族群和培訓相關醫療、管理專業人才,抑或者收集生理數據與物種特性輔助保育計畫制定。
就算是浣熊這樣僅保有最基礎的保育教育及群眾募資等作用,只要動物園選擇了繼續飼養,該物種就應有權因其所肩負的職責而享有相符的管理策略、被安置在契合自身職責,能夠一展長才的合適場域,給予充足的機會盡其所能展現自我價值。
希望在不久的將來,動物園內便不會再出現「高尚貴客」跟「次等住民」這樣的身分區隔,而是大家都能認知到這些動物存在這裡的原因,理解牠們肩負的責任,並把這樣的理念帶給更多人知道。
ex situ 在 Drama-addict Facebook 的最佳貼文
ตอนนี้ประเด็นเรื่องยีราฟนี่ คนก็ด่าสวนสัตว์กันเยอะ บางเพจก็ทำโพสจวกสวนสัตว์เลย
เลยมีคนฝากมา อยากให้ลองฟังเหตุผลเกี่ยวกับการมีอยู่ของสวนสัตว์ดูบ้างครับ ลองอ่านกันดู
"When I was young, I loved zoos because I loved animals. Now I hate zoos, because I love animals."
#สัตว์ป่าควรอยู่ในป่า
การอนุรักษ์สายพันธุ์และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตโดยใช้ Ex situconservation นั่นคือ ”สวนสัตว์” เป็นเรื่องที่คนไทยควรทำความเข้าใจ
การอนุรักษ์มี 2 แบบถ้าแบ่งตามอิทธิพลจากธรรมชาติ คือ In situ และ Ex situ conservation
In situ conservation ก็คือ การอนุรักษ์ on site ป้องกันปัจจัยจากภายนอกเข้ามา มักจะเป็นพื้นที่สงวน หรือ ห้ามเข้า หรือในธรรมชาตินั่นแหละ ถ้าเปรียบเป็นป่า ป่าบ้านเราก็คือ ป่าที่นับวันจะเสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ ยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น คนที่ถือ สิทธ ประชารัฐprivilage จะรุกเข้าไปแผ้วถาง และมอบคืนพื้นที่โดยไม่ความผิด ป่าแบบนี้แหละ หรือเศรษฐีแบกปืนไปไล่ยิงเสือดำนั่นแหละ
Ex situ conservation คือการอนุรักษ์แบบ off site คือกลุ่มประชากรที่ศึกษาไม่ได้รับอิทธิพลใดๆ จากธรรมชาติ ด้วยความขาดของทุกปัจจัย การจำลองพื้นที่, โภชนาการ, ข้อมูลด้านพฤติกรรม, ข้อมูลด้านสุขภาพสิ่งนี้เกิดการศึกษาและพัฒนาหลายๆ อย่างขึ้นมา จนท้ายที่สุดเกิดผลลัพธ์คือการเพิ่มจำนวนในพื้นที่เลี้ยง คำว่า captive breed สิ่งที่หลายคนไปดูไปชม ลูกสัตว์ตัวใหม่ประกวดตั้งชื่อ อะไรต่อมิอะไรเยอะแยะ
สวนสัตว์ คืออะไร?
“สวนสัตว์สาธารณะ” หมายความว่า สถานที่หรือบริเวณซึ่งรวบรวมสัตว์ป่าไว้เพื่อประโยชน์แก่การพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษา การค้นคว้าหรือวิจัยของประชาชน และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ป่า”
เพราะฉะนั้นการสร้างและดำเนินการต้องเป็นไปตาม มาตรา 29, 30, 31,และ 32 ของ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ในกรณีสัตว์คุ้มครองหรือ ปัจจุบันรายชื่อสัตว์คุ้มครองของประเทศไทยมีเยอะมาก สัตว์ป่าคุ้มครองคือสัตว์ป่าที่มีชื่ออยู่ในบัญชีแนบท้าย กฎกระทรวงกำหนดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง พ.ศ. 2546 และตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ประกอบด้วยสัตว์ป่าจำพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 201 ชนิด นก 952 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 91 ชนิด สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 12 ชนิด แมลง 20 ชนิด ปลา 14 ชนิด และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ 12 ชนิด และกรณีสัตว์ต่างถิ่น เป็นจะต้องปฏิบัติตาม สนธิสัญญาไซเตส มี appendix 1,2,3 การนำสัตว์ที่อยู่ในสนธิสัญญา ไปยังประเทศใดที่ร่วมสนธิสัญญา มีข้อปฏิบัติหลายอย่าง ซึ่ง ต้องได้รับใบอนุญาติทั้งประเทศขาออกและขาเข้า เรียกง่ายๆ ว่าเป็น captive breed ซะส่วนใหญ่ หรือ ประชากรสัตว์เหล่านั้นได้รับการอนุญาติให้เคลื่อนย้ายมายังส่วนสัตว์ การทำงานมักมีแผนการเคลื่อนย้ายทำงานชัดเจน อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ ซึ่งตรงนี้ขอให้กำลังใจคนทำงาน
อย่าสร้าง แคปชั่นเรียกไลค์ด้วยความคิดพิการขาข้างเดียว เพราะ ex situ และ in situ conserve. เป็นเสมือนขาสองข้างที่ก้าวไปข้างหน้าด้วยกัน
ปัจจุบันประเทศไทยมีหน่วยงานกำกับดูแลมาตรฐานของสวนสัตว์อยู่ คือ องค์การสวนสัตว์
สัตวป่าอยู่ในป่าดีแล้ว
สัตว์ captive breeding อยู่ในสวนสัตว์ก็ดีแล้ว อย่าไปคิดว่า ไล่มันไปอยู่ในป่าแล้วจะดี
ดีกว่าไปอยู่ในบ้านนักการเมืองหรือผู้มีอำนาจ