(อัพเดต: ไปข้อมูลเพิ่มว่า เป็นการประท้วงในประเทศโคลัมเบียครับ)
มีการแชร์คลิปวิดีโอเตือนภัยเกี่ยวกับโรคโควิด 19 โดยอ้างว่า "ในประเทศอินโดนีเซีย คนที่ติดเชื้อโรคจนใกล้ตาย จะโดนจับมัดใส่ถุง เสื้อผ้าก็ไม่ได้ใส่ บางคนก็ยังไม่สิ้นใจ ดูน่าอนาจ" น่ากลัวสุดๆ อย่าออกไปจากบ้านเชียว !?
ไม่น่าใช่นะครับ !! ถ้าได้เห็นคลิปนั้นแล้ว จะรู้สึกว่าคนที่อยู่ในถุง ไม่ได้ดูคล้ายๆคนที่ป่วยเป็น covid อะไร มันดูเหมือนกิจกรรมการแสดงศิลปะ หรือการประท้วงอะไรบางอย่างหรือเปล่า มากกว่า
ซึ่งแม้จะหาที่มาของคลิปได้ไม่ชัดเจนนัก แต่ลักษณะทั้งหมดคล้ายคลึงกับ "การประท้วงต่อต้านความรุนแรงที่กระทำต่อผู้หญิง" ที่เกิดขึ้นที่เมืองบัวโนส ไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา เมื่อต้นปีที่ผ่านมาครับ
การประท้วงเกิดหลังจากเหตุฆาตกรรมหญิงสาวอายุ 18 ปีคนหนึ่งชื่อว่า Ursula Bahillo โดยฝีมือของมือมีดที่เป็นแฟนเก่าซึ่งเป็นตำรวจ จนเป็นข่าวใหญ่ไปทั้งประเทศ นำไปสู่การเดินขบวนประท้วง และกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์มากมาย รวมทั้งเรื่องของการที่เข้าไปอยู่ในถุงพลาสติกแบบในรูปด้วย
ดูภาพการประท้วงและข่าวด้านล่างประกอบครับ
--------
Protest against violence towards women in Buenos Aires
18 February 2021
Naked women in plastic bags perform during a protest against violence towards women, after the femicide of Ursula Bahillo, in Buenos Aires, Argentina.
ภาพและข้อมูล จาก https://in-cyprus.philenews.com/protest-against-violence-towards-women-in-buenos-aires/
--------
(เพิ่มเติม: ได้ข้อมูลเพิ่มจากการตรวจสอบของ AFP ว่าเป็นการประท้วงในประเทศโคลัมเบียครับ)
การค้นหาภาพย้อนหลังทางกูเกิล ด้วยคีย์เฟรมส์จากเครื่องมือตรวจสอบดิจิทัล InVID-WeVerify พบคลิปวิดีโอ ในเวอร์ชั่นที่ยาวกว่า ถูกโพสต์ลงยูทูป เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2564
คำบรรยายภาษาสเปนของวิดีโอต้นฉบับ แปลเป็นภาษาไทยว่า “การแสดง Empaquetados (ใส่ถุงพลาสติก) ในเมืองเมเดยินระหว่างการประท้วงทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2564”
เมเดยินคือเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศโคลอมเบีย
ในช่วงนาทีที่ 9:13 ของวิดีโอ มีเสียงผู้หญิงพูดเป็นภาษาสเปนว่า วันนี้วันพุธที่ 26 พฤษภาคม เราอยู่ในสวนสาธารณะโพบลาโดในเมเดยิน
“นี่คือการแสดงที่มีชื่อว่า “Empaquetados (ใส่ถุงพลาสติก)” เพื่อเป็นการแสดงความเคารพต่อผู้ที่เสียชีวิตหรือผู้ที่สูญหาย เพื่อร้องขอความช่วยเหลือ และเพื่อให้รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับคนที่ป่านนี้ก็ยังไม่มีใครรู้ว่าหายไปอยู่ไหน คนเหล่านี้ถูกจับโดยตำรวจหรือพลเมืองที่มาพร้อมกำลังตำรวจ”
การประท้วงในประเทศโคลอมเบียเริ่มขึ้นช่วงปลายเดือนเมษายน เพื่อต่อต้านการขึ้นภาษีโดยรัฐบาลฝั่งขวาของประธานาธิบดีอีวาน ดูเค สำนักข่าว AFP รายงาน
ประชาคมนานาชาติได้ประณามการตอบโต้ของเจ้าหน้าที่ความมั่นคงในประเทศโคลอมเบีย ที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 60 ราย
การค้นหาด้วยคำสำคัญ พบภาพถ่ายของกิจกรรมเดียวกัน ถูกเผยแพร่ที่นี่ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2564 โดยเป็นภาพของ Le Cuento สื่อดิจิทัลออนไลน์ของประเทศโคลอมเบีย
ภาพถ่ายลงเครดิตว่าเป็นผลงานของ Jhonatan Rodriguez ช่างภาพชาวโคลอมเบีย
เขาอธิบายกับ AFP ว่าภาพดังกล่าวถูกถ่ายขึ้นระหว่างการประท้วงต่อต้านรัฐบาลในเมืองเมเดยิน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2564
เขาบอกว่าเหตุการณ์นี้ “เป็นการแสดงศิลปะที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคมในปีนี้ ที่เมืองเมเดยิน ประเทศโคลอมเบีย โดยส่วนนี้เป็นการแสดงเพื่อประท้วงต่อต้านรัฐบาลของประเทศโคลอมเบีย”
นอกจากนี้ กิจกรรมการประท้วงดังกล่าวยังถูกเผยแพร่ในรายงานฉบับนี้ในหน้าที่หก ของหนังสื่อพิมพ์ ADN Medellin ในประเทศโคลอมเบีย เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2564
ข้อมูลจาก https://factcheckthailand.afp.com/http%253A%252F%252Fdoc.afp.com%252F9FP33B-1
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
femicide 在 轉角國際 udn Global Facebook 的精選貼文
【#轉角書摘:INCEL殺女案 🇺🇸 】
.
「這些女孩把她們的情感、性和愛給了其他男人,但從來不給我。」2014年5月,加州大學聖塔芭芭拉分校一個姊妹會宿舍外發生了嚴重槍擊案。22歲的艾略特.羅傑射殺三名女子,其中2人死亡,接著他沿路掃射,造成14人受傷。根據羅傑自己拍攝的影片,他如此描述殺人動機:
.
「我22歲了卻還是處男,從來沒吻過女孩。大學時每個人都在體驗性愛,但我卻被迫在孤獨中腐爛。這不公平......我要去全校最辣的姐妹會,屠殺每一個驕縱高傲的金髮蕩婦。」
.
除了羅傑,2018年,40歲的拜爾勒在瑜珈教室槍擊,造成2人死亡;同年,25歲的米納西恩則開著廂型車衝上人行道,造成10人死亡。他們都指名羅傑是啟發他們的人。這群人在網路上自稱「INCEL」(非自願守貞者),相信自己理所當然該交到女友、跟女人上床,但這個資格卻遭到女人的不斷拒絕而被剝奪,因此他們「被迫單身」。
.
羅傑留下的筆記不斷揣測為何女性都不愛他,他抱怨「我不懂她們不喜歡我哪裡」,顯然把結果歸咎於女人的主體性、性自主,因此,當她們偏愛其他男人勝過他這個「最高等的紳士」時,他就會暴怒。到底這些INCEL殺人事件為何?不受女性喜愛的焦慮、孤獨與挫敗,為何使他們成為殺女犯罪者?
.
#厭女的資格 #殺女 #femicide #INCEL #非自願守貞 #阿法男 #性別 #仇女殺人 #凱特曼恩 麥田出版
femicide 在 Facebook 的精選貼文
【BBC中文網】震驚英國的兇殺案:白領女子之死引發社會風暴的六個重點
倫敦女子莎拉·艾弗拉德(Sarah Everard)徒步回家路上被綁架殺害,案件在英國掀起一場反抗針對女性暴力的社會運動和輿論浪潮,震撼英國政壇和警方。
3月3日晚上9點,住在倫敦南部的莎拉走路回家途中失蹤。警察一周後在倫敦東南幾十公里外找到她的遺體。
案件轟動英國社會。有關這起兇殺案以及英國民間保護婦女、反對暴力的社會運動,BBC中文梳理六個關鍵重點:
血腥綁架兇殺案
莎拉·艾弗拉德今年33歲,長在英國約克郡,大學畢業後在倫敦一家電子媒體公司擔任營銷工作,住在倫敦南部的布里克斯頓(Brixton)。
3月3日晚上約9點,她離開友人住處徒步走回家,其間她還曾與男友通話約15分鐘,從此再無音訊。
3月7日警方在搜尋她的下落過程中,在她經過的一個保安監控相機裏找到她身前最後一張留影,時間是當晚9:30;
3月9日英國東南的肯特郡一名警察涉嫌綁架被捕;
3月10日警方在肯特郡的林間找到一具屍體;
3月12日通過牙醫記錄鑒定死者被確認是莎拉·艾弗拉德,但警方還沒有公布她的死因。
被捕的嫌疑人是48歲的懷恩·科曾斯(Wayne Couzens)。他於2018年9月加入倫敦警隊,2020年2月調入負責議會和外交保護工作的警察分隊,主要工作是在倫敦各外國領館周邊巡邏。
科曾斯已經被控綁架和謀殺,但案件審理預計將在今年10月展開。
英國女性遇害情況
莎拉遇害案件在媒體披露後,首先在英國女性中引起強烈反響:發生在莎拉身上的事,是不是也會發生在自己身上?難道女性晚間單獨走在街上有生命危險了嗎?
越來越多女性開始講出她們經歷過的恐懼、擔憂,遭遇過的騷擾、侵害,並且大聲呼籲政府、警方以及全社會正視女性面對的暴力問題。
那麼,英國女性遇害的情況究竟有多普遍呢?
據殺害女性普查(Femicide Census)的統計,在2018年之前的十年中英國共有1425名女性被男性殺害。這相當於每三天就有一名女性成為男性暴力的受害者。
其中2019年,女性被男性殺害的總數是過去十年最高,達241人。
另外還有兩個很說明問題的數據是:1)57%的女性死者是被她們熟識的人殺害,如伴侶或前伴侶;2)70%被殺害的女性是在自己的家中遇害。
女性被性侵的情況
據英國國家統計局(Office for National Statistics)所掌握的最近期的統計數據,2017年,全英國有340萬女性稱曾經遭遇過性侵犯,其中包括100萬遭遇過強姦或未遂強姦。
遭遇過性侵犯的男性總數為65萬人。
年輕女性遭遇性侵犯的情況最為普遍,大約十分之一的女性學生表示她們在過去一年中經歷過。
但是絶大多數針對女性的性暴力都沒有被處理。實際上,大部分的性侵行為甚至沒有報告給警方。
女性的不安全感
莎拉失蹤後,成千上萬的女性通過社交網站和英國媒體講出她們獨自走在街上時如何缺乏安全感、如何假裝鎮定、如何克服恐懼、如何互相守望、如何感到憤怒和無奈。
英國各地的女性發起了一場「收復街道」(Reclaim These Streets)的運動,為莎拉舉行悼念活動的同時要求當局重視女性晚間單獨出行的安全問題。
這場運動的發起者說,有人對女性施暴,應對的辦法卻是要求女性改變自己不這樣不那樣,「這簡直錯得離譜」。
主管治安的英國內政大臣普麗提·帕特爾(Priti Patel)對女性們夜間單獨出行的擔心表示感同身受。她說:「每個女性走在我們的街道上都應該感到安全,不怕受到騷擾和暴力。」
倫敦警察局局長克麗絲達·狄克(Cressida Dick)表示女性在街上被綁架的事件極為罕見。「儘管如此,我完全理解倫敦和更大範圍的女性、特別是莎拉失蹤地區附近的女性會非常擔心,甚至會感到害怕。」
女警察局長的壓力
克麗絲達·狄克作為英國警隊近兩百年歷史上的第一位女局長,在本次莎拉失蹤受害案中面對巨大壓力。
身為警察的本案嫌疑人懷恩·科曾斯在莎拉失蹤的三天前,曾在倫敦南部的一個快餐館內「露體」被報告給警方。警方目前正在調查對這一報案情況的處理是否有失職之處。
最關鍵的是倫敦警方對悼念活動的處理手法受到活動的參加者和組織者以及社會各界聲援者的批評。
由於英國的新冠疫情防控措施仍然沒有解除,警方對不顧禁令在莎拉失蹤地附近舉行守夜悼念活動的民眾採取了執法行動。
期間,警方與集會者發生肢體衝突。之後,警方被指執法手段過於激烈,他們強行拖走幾名年輕女性的照片在社交媒體、主流媒體上廣泛傳發。
狄克局長因此面臨社會上要求她辭職的呼聲。
對此她回應說:「在我看來,我的警隊有權認定這是非法集會,對人們健康構成一定風險。所發生的這一切讓我繼續領導警隊的決心有增無減。」
轉折點
莎拉被殺案件形成巨大民間反響,促使英國政府迅速採取行動。
首先政府為街道照明和監控經費大幅增加2500萬英鎊的撥款。
其次將開始試點計劃,向酒吧和夜總會等場所派遣便衣警察,向執勤警察通報慣犯或疑犯的情況。
負責治安的官員表示,政府將與商界和警方合作,確保在疫情過後重新開業時,讓「女性走在街上有安全感。」
有關英國該如何加強對女性的保護,英國議會政黨間的辯論也還在繼續。
主要反對黨工黨領導人斯塔默爾(Keir Starmer)在3月17日的議會首相問答會上說,全體議員對莎拉家人蒙受的痛苦深表慰問,「在相當長的一段時間內我們都不會忘記的一句話就是:她走在回家路上卻遭綁架殺害。」
首相約翰遜贊同斯塔默爾的看法,認為現在應該是保護女性和女童權益的一個轉折點,並承諾政府將加強立法和執法打擊針對女性的暴力行為。
莎拉遇害案預計將會成為英國保護女性和女童免遭暴力社會運動的一個里程碑。
#社會