ในปัจจุบันคนอาจจะคุ้นเคยกับ The Shawshank Redemption ในฐานะหนังที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุดเป็นอันดับหนึ่งของเว็บ IMDb และรู้จักกันในฐานะหนังเข้าชิง 7 รางวัลออสการ์ในปีเดียวกับ Forrest Gump แต่หลายคนอาจยังไม่รู้ว่าในปีที่หนังออกฉาย ชื่อ The Shawshank Redemption ถูกจับเข้ากลุ่มหนังเจ๊งแห่งปี หนังเข้าฉายวงกว้าง 3 วันแรกยังทำเงินได้น้อยกว่า Exit to Eden หนังแนวคอมเมดี้ทะลึ่งตึงตังของผู้กำกับ Pretty Woman, ทำเงินน้อยกว่า Forrest Gump ที่ฉายมาเกือบ 3 เดือนแล้ว, และทำเงินมากกว่า Quiz Show ที่เข้าฉายสัปดาห์ 2 เพียงนิดเดียว โดยทำเงินเฉลี่ยตอนฉายวงกว้างสัปดาห์แรกเพียง 3,541เหรียญสหรัฐฯ ทั้งที่ตอนฉายจำกัด 33 โรง สามารถทำเงินเฉลี่ยถึง 31,465 เหรียญฯ และในสัปดาห์ต่อมาก็ยังได้เงินเฉลี่ยถึง 23,636 เหรียญฯ แทบไม่เห็นวี่แววว่าจะล้มเหลวในการฉายวงกว้างเลย
.
ตลอดการฉายในสหรัฐอเมริกา The Shawshank Redemption ทำรายได้เพียง 16 ล้านเหรียญฯ ก่อนที่หลังประกาศผลรางวัลออสการ์ จะมีคนสนใจหาดูเพิ่มจนทำเงินไปอีก 12 ล้านเหรียญฯ รวมเป็น 28 ล้านเหรียญฯ จากทุนสร้าง 25 ล้านเหรียญฯ ไม่รวมค่าการตลาดและส่วนแบ่งให้โรงหนัง จึงกลายเป็นหนังเจ๊งแห่งปี
.
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับหนังพยายามคาดเดาสาเหตุที่หนังล้มเหลวในการฉายโรง เริ่มจาก ลิซ กล็อตเซอร์ โปรดิวเซอร์ของหนังเชื่อว่ารีวิวจากนักวิจารณ์ที่บอกว่าหนังขาดความสดใส/น่าเบื่อ ทำให้คนดูจำนวนไม่น้อยเลือกจะข้ามหนังไป, ทิม ร็อบบินส์และมอร์แกน ฟรีแมน สองนักแสดงนำเชื่อว่าชื่อหนังจำยากเกินไป มีบางคนเดินมาบอกว่าชอบหนังของเขามาก เรื่อง Scrimshaw Reduction, Shinkshonk Reduction, หรือเลวร้ายกว่านั้นคือเรียกชื่อหนังว่า Shimmy, Shimmy, Shake (เพี้ยนอะไรขนาดนั้น), ในขณะที่อีกปัจจัยสำคัญคือหนังเข้าฉายพร้อมกับการเปิดตัวสัปดาห์แรกของ Pulp Fiction ที่เพิ่งชนะรางวัลปาล์มทองคำ จากเทศกาลหนังเมืองคานส์, บ้างก็ว่าเพราะหนังไม่มีนักแสดงหญิง, และบางคนก็วิเคราะห์ว่าหนังเกี่ยวกับคุกไม่ใช่ที่นิยมอยู่แล้ว
.
หลังจากล้มเหลวในการฉายโรงแล้ว สิ่งที่ไม่มีใครคาดคิดว่าจะเกิดขึ้นคือ The Shawshank Redemption กลายเป็นหนังที่มีคนเช่าดูมากที่สุดอันดับหนึ่งของปี 1995 จากกระแสปากต่อปาก ได้รับคำชมจากคนดูทั้งเพศชายและหญิง แถมมีคนจำนวนไม่น้อยเช่าดูซ้ำอีก ซึ่งเป็นการพิสูจน์ว่าหนังดีแม้จะไม่ทำเงินตอนฉาย แต่หากมีคนได้ลองดูแล้วชอบจนเกิดการบอกต่อแนะนำให้คนรอบข้างดูตาม มันจะเกิดปรากฎการณ์เป็นกระแสปากต่อปากที่ทำให้หนังประสบความสำเร็จในแง่เสียงตอบรับจากคนดูได้อยู่ดี
.
เบื้องหลังความสำเร็จขึ้นแท่นหนังอันดับ 1 ของเว็บ IMDb อาจจะต้องย้อนไปถึงปี 1980 เมื่อนักเรียนหนังหน้าใหม่ไฟแรงนามว่า 'แฟรงค์ ดาราบอนท์' ในวัย 21 ปี ได้ติดต่อสตีเฟน คิง เพื่อขอซื้อลิขสิทธิ์เรื่องสั้น The Woman in the Room ไปทำเป็นหนังสั้นในราคาเพียง 1 เหรียญฯ หลายคนอาจจะตกใจว่าทำไมราคาถูกขนาดนั้น นั่นเป็นเพราะคิงมีโปรเจ็คต์ส่วนตัวที่เรียกว่า The Dollar Deal หรือ Dollar Baby เป็นโครงการขายลิขสิทธิ์เรื่องสั้นให้นักศึกษาเอาไปทำหนังในราคาแค่ 1 เหรียญฯ จุดประสงค์ตรง ๆ เลยคือช่วยเหลือคนทำหนังหน้าใหม่ด้วยการให้โอกาสเอาเรื่องสั้นไปดัดแปลงในราคาสบายกระเป๋า
.
จุดเริ่มต้นของ Dollar Baby เกิดขึ้นในช่วงปี 1977 ซึ่งสตีเฟน คิง เริ่มมีชื่อเสียงจาก Carrie ที่เขียนในปี 1974 ก่อนจะถูกนำไปสร้างเป็นหนังปี 1976 กำกับโดย ไบรอัน เดอ พาลมา และ The Shining ก็เป็นนิยายที่ตีพิมพ์ปี 1976 โดยในช่วงนั้นเริ่มมีนักศึกษาหนังเขียนมาสอบถามเขาถึงความเป็นไปได้ในการเอาเรื่องสั้นไปทำเป็นหนังสั้น แต่ฝ่ายบัญชีคัดค้านเพราะกังวลความยุ่งยากหลายประการด้านกฎหมาย สตีเฟน คิงจึงกำหนดนโยบายส่วนตัวขึ้นมา คือยินดีให้สิทธิ์นักศึกษาเอาเรื่องสั้นของเขาไปดัดแปลงเป็นหนังในราคา 1 เหรียญฯ โดยลิขสิทธิ์ในตัวหนังจะเป็นของเขา และยังให้นักศึกษาเซ็นสัญญายอมรับข้อตกลงว่าไม่สามารถเอาไปฉายเชิงพาณิชย์ ยกเว้นคิงอนุญาต
.
ซึ่งพอดาราบอนท์ทำหนังสั้น The Woman in the Room ออกมาให้สตีเฟน คิง ประทับใจ ก็เหมือนเป็นการผูกมิตรกันเรียบร้อย จนกระทั่งปี 1987 ดาราบอนท์ก็เริ่มเข้าวงการหนังเต็มตัวด้วยการเป็นหนึ่งในคนเขียนบท A Nightmare on Elm Street 3: Dream Warriors จากงานของเวส คราเวน ซึ่งเป็นแนวสยองขวัญ แต่เขาก็ยังไม่ได้กำกับหนังสักที ตอนนั้นเขาสนใจนิยายเรื่อง The Mist ของสตีเฟน คิง ที่ว่าด้วยหมอกปกคลุมเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งแล้วยังมีสัตว์ประหลาดกระหายเลือดอยู่ในหมอก แต่กลัวว่าถ้าเขากำกับหรือเขียนบทเรื่องนี้จะทำให้ตัวเองถูกตีตราว่าเป็นผู้กำกับสายสยองขวัญ ซึ่งเขาไม่ต้องการเช่นนั้น (ภายหลังในปี 2007 เขาก็ได้กำกับและเขียนบทเรื่องนี้สมใจ)
.
ดังนั้นเขาเลยติดต่อสตีเฟน คิง ขอซื้อสิทธิ์เรื่องสั้น Rita Hayworth and the Shawshank Redemption ที่ตีพิมพ์ในปี 1982 มาทำเป็นหนังแทน โดนสตีเฟน คิง ไม่ค่อยมั่นใจว่าเรื่องสั้นนี้จะสามารถดัดแปลงเป็นหนังยาวได้ แต่อาจจะด้วยความไว้วางใจดาราบอนท์จึงยอมขายสิทธิ์ให้ในราคา 1,000 เหรียญฯ ซึ่งภายหลังคิงก็ได้คืนเช็คเงินดังกล่าวให้ดาราบอนท์ พร้อมเขียนโน้ตขำขันบอกว่า "เผื่อคุณต้องใช้เงินประกันตัว" ทำให้ในทางปฏิบัติจริง ๆ ดาราบอนท์เหมือนได้ลิขสิทธิ์เรื่องสั้นจากคิงมาทำหนัง The Shawshank Redemption ฟรี ๆ
.
เขาใช้เวลาหลายปีเหมือนกันในการเขียนสคริปต์บทหนัง ก่อนจะส่งไปให้ Castle Rock บริษัทที่ทำหนังเรื่อง Stand by Me ที่ดัดแปลงจากนิยายของสตีเฟน คิง กำกับโดยร็อบ ไรเนอร์ ซึ่ง ลิซ กล็อตเซอร์ โปรดิวเซอร์อ่านสคริปต์แล้วชอบมาก เช่นเดียวกับไรเนอร์ที่แสดงความสนใจจะกำกับหนังเรื่องนี้เอง โดยยื่นข้อเสนอ 2.5 ล้านเหรียญฯ ในการขอซื้อสิทธิ์บทหนังต่อจากดาราบอนท์ และเตรียมให้ทอม ครูซ มาประกบคู่กับแฮริสัน ฟอร์ด (นึกภาพสองคนนี้มาแทน ทิม ร็อบบินส์ กับมอร์แกน ฟรีแมน) แต่สุดท้ายดาราบอนท์ยืนกรานเสียงแข็งว่าเขาจะต้องได้กำกับเอง แม้ไม่เคยมีเครดิตกำกับหนังยาวมาก่อนแต่เขาก็เชื่อว่าตัวเองในฐานะคนคลุกคลีกับบทหนังเรื่องนี้มาตั้งแต่ต้นน่าจะเป็นคนที่เข้าใจวัตถุดิบได้ดีที่สุด
.
แม้ว่าในตอนหนังฉายโรงจะไม่ประสบความสำเร็จด้านรายได้ แต่การที่ดาราบอนท์ มีชื่อเข้าชิงออสการ์ในฐานะคนเขียนบทหนัง และการที่หนังได้กระแสบอกปากต่อปากตอนลงม้วนวิดีโอ น่าจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความสำเร็จได้เป็นอย่างดี แม้จะไม่มีอันดับ 1 ของเว็บ IMDb มาช่วยยืนยันก็ตาม
อ้างอิง
- https://www.mentalfloss.com/article/597842/the-shawshank-redemption-box-office-bomb-to-hit
- https://www.indiewire.com/2019/10/tim-robbins-blames-shawshank-box-office-flop-bad-title-1202181602/
- https://en.wikipedia.org/wiki/Dollar_Baby
#หนังโปรดของข้าพเจ้า
同時也有6部Youtube影片,追蹤數超過33萬的網紅Toys Zone D,也在其Youtube影片中提到,[Unboxing]Transformers MPM-07 Movie Masterpiece "BumbleBee" (2018) Website :http://www.thetoyszone.com/ Facebook Page: https://www.facebook.com/theto...
「fiction wiki」的推薦目錄:
- 關於fiction wiki 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最佳貼文
- 關於fiction wiki 在 茱力&Black Music Lovers Facebook 的最讚貼文
- 關於fiction wiki 在 茱力&Black Music Lovers Facebook 的精選貼文
- 關於fiction wiki 在 Toys Zone D Youtube 的最讚貼文
- 關於fiction wiki 在 MAMADESG 妈妈狠有事【原 Kandie Family】 Youtube 的最佳解答
- 關於fiction wiki 在 Micaela ミカエラ Youtube 的最讚貼文
- 關於fiction wiki 在 The Monthly News for July is up!... - Deadliest Fiction Wiki 的評價
- 關於fiction wiki 在 A Perfect Circle - Wikipedia: Fact or Fiction? - YouTube 的評價
fiction wiki 在 茱力&Black Music Lovers Facebook 的最讚貼文
🔥#嘻哈書寫:#以文字表達嘻哈文化各面目
.
本文發表於par表演藝術誌2012/3月號
http://par.npac-ntch.org/article/show/1356071815625539
.
◎撰文:茱力 茱力&Black Music Lovers
.(若、本、文、有、未、盡、事、宜,請點本粉專 #置頂各種我獨自經營的平台💖謝謝指教^U^也歡迎理性討論唷!我們是要一起往前走的,不是我,也不是只有你,是一起唷U////////////U)
.
「嘻哈書寫」(Hip Hop Writing)一詞,就像是透鏡一般,詮釋人們看待嘻哈文化的不同面向,並讓「文字」與「書寫」本身,成為傳達表述此類音樂文化的重要媒介。
「嘻哈書寫」的範疇也可大可小。廣義來說,舉凡各種描述嘻哈文化面貌的文字載體都可囊括在內——如最直接的歌詞、聚焦於音樂的樂評、甚至充斥著嘻哈態度與創作者生活描述的小說、影視劇本、傳記、文字紀錄等,本文將羅列幾本美國近年的重要嘻哈書寫著作。
.
◎來自街頭的詩歌——#嘻哈歌詞
.
歌詞,是嘻哈身為一類音樂品種中最直接、最重要的構成要素。嘻哈歌詞來自街頭,能夠忠實的反應生活大小事與喜怒哀樂,又具一定的音樂性與豐富韻腳、節奏感,因此,不少文化研究學者如Alan Lawrence Sitomer、Paul Edwards等紛紛用「詩歌」、「詩篇」等文字來形容優秀的嘻哈韻文。
.
嘻哈歌詞通常是簡潔而不失魅力的,透過朗朗上口的韻律
感,直接而明快,比一般媒介文本更能影響眾人。在「嘻哈詩歌與經典」(Hip-Hop Poetry and the Classics)一書中,Alan Lawrence Sitomer 與Michael Cirelli引經據典,將多位英美文學大師(如Robert Frost、莎士比亞等)的名詩韻文對照美國當代的饒舌歌手(阿姆、Notorious B.I.G.等)陳列比較,用寓教娛樂的方式贏得了美國教師的認同。學者Paul Edwards更在「如何饒舌:嘻哈歌手的藝術與科學」(How to Rap: The Art & Science of the Hip-Hop MC)舉出多達四五十位以上的主流與地下饒舌歌手,分析他們歌詞視野、創作架構與內容差異。
非裔美國文學研究者Adam Bradley,也曾在著作「韻腳之書:嘻哈政治學」(Book of Rhymes: The Poetics of Hip Hop)中表示,饒舌樂中充滿了嘻哈歌手對生活、社會甚至世界的見解。更具體來說,嘻哈歌詞中總是有意無意地表達出政治與經濟相關的看法,而世界各地饒舌歌手也經常透過歌詞組織成一個個「故事」,對公眾議題表態,如美國Fort Minor、日本的Shing02都曾藉二次世界大戰歷史題材表達反戰概念,以第三人稱在「Kenji」、「Pearl Harbor」等曲中陳述歷史,知名饒舌巨擘Tupac等人也多次在作品中表達非裔美國人的社會困境。
.
而當場景置換到台灣,重視本土意識的饒舌歌手如大支、張睿銓,都曾在歌曲「19470228」、「囝仔」中加入對歷史事件的描述與反思,拷秋勤(Kou Chou Ching)也在「灰色海岸線」中唱出對環保議題的重視,蛋堡(Soft Lipa)也在「雨沒停過」一曲中,隱晦提及小林村事件。
.
◎傳播媒體中的嘻哈書寫——報導與紀錄
除了嘻哈文化領域的平面著作之外,近二十年來,嘻哈已晉身為美國主流音樂,隨之出現的電影文本如Boyz n the Hood、Juice、Menace II Society、 Notorious、Get Rich Or Die Tryin'等,也一一現身。
.
此類電影的主角群通常由非裔美國演員飾演,並忠實穿插主流與素人饒舌樂,。擔任電影劇本寫作的多半是電影業界人士,並不限於非裔血統,顯示出美國近年對嘻哈媒體文本的重視也已經漸漸拋棄種族偏見。而台灣坊間較知名的中文授權嘻哈音樂電影則有「街頭嘻哈客」(Hustle &Flow)、以及阿姆(Eminem)的半自傳電影「街頭痞子」(8 Mile)等。
.
而在針對嘻哈現象的專論探討、音樂深度介紹、專訪紀錄方面,嘻哈雜誌也扮演了重要角色。在青少年與青年閱讀層中頗受好評、較專注於音樂與文化介紹的雜誌,則有Hip Hop Connection, XXL, Scratch, The Source and Vibe,每年都有不少新刊物浮出市場。這類雜誌近年也紛紛成立電子版與網站,以節省人事成本、與線上社群同步結合,日本的BMR雜誌就是其中一例。
而台灣則仍以部落格、網站與網路社群為主,由素人網友自主刊載嘻哈演唱會觀賞紀錄、訪談、音樂評析、心得等,如網站Groove War、Milk Crates便以類數位雜誌的排版與風貌、輔以優雅文字評述嘻哈音樂,而另一線上網站「Underground Celebrities」則是完整批露與嘻哈創作者的獨家專訪。線上綜合型網站「THINK TAIWAN」則擅長以全英文的介紹方式,將部份台灣本土的嘻哈創作者介紹給世界各地的讀者,其中不乏大篇幅的歌詞翻譯與音樂解析。而嘻哈音樂廠牌How We Roll也曾推出過一頁純文字免費雜誌「Rollin’」介紹自家廠牌藝人,但專屬嘻哈文化的非商業雜誌目前仍罕見,而商業誌中的「嘻哈」印象多半以塗鴉藝術、刺青藝術、商業服飾置入性介紹為主,並以視覺攝影型態為主,並不那麼依賴文字作為媒介。
.
◎當嘻哈文化踏進文學殿堂——文學作品與傳記
.
美國綠木出版社(Greenwood)編輯Tarshia L. Stanley曾收集多種嘻哈文本,編撰成「嘻哈文學百科」(Encyclopedia of Hip Hop Literature),她也明確將所謂的「嘻哈文學」定義成一種都市虛構小說(Urban Fiction)與街頭文學(Street Literature)。Tarshia L. Stanley認同的嘻哈寫作範疇更廣,隱含許多文化觀察、自傳參考、歌詞,無法與社會脈絡情境切割。而此書也邀請了不少嘻哈業界工作者(設計師、音樂創作者、導演、作家)一同來提供其對嘻哈書寫的見解。
維基百科對嘻哈文學的定義也並不狹隘——「不論是虛構小說或非虛構小說,嘻哈文學屬於都會文學,並同樣來自於非裔美國文學領域。」(維基百科,2012)而美國專門出版此類都會文學的出版社多半成立於九○年代晚期。1992年,首部獲得藝術性認同的嘻哈文學著作,則是Ricardo Cortez Cruz的「出走康普頓」(STRAIGHT OUTTA COMPTON,與美國嘻哈團體N.W.A.的其中一張專輯同名),是一本描述黑人主角Rooster在美國洛城黑幫群聚區生活的嘻哈小說。而Ricardo Cortez Cruz的另一本小說「血流五日」(FIVE DAYS OF BLEEDING)出版於1995年,同樣獲得各界肯定,讓嘻哈小說終於登上文學殿堂。
.
近年來,由於美國饒舌歌手紛紛在主流市場上取得了成功,他們的私生活與經驗談也成為讀者們感興趣的部份。如已故的傳奇饒舌歌手Tupac(2pac)的昔日手稿,已在2009年被出版成半自傳詩集「生於水泥的玫瑰」(The Rose that Grew from Concrete),讓讀者一窺他成名前的創作世界。
.
美國商業歌手與製作人Jay Z前兩年也撰寫出半自傳性質的著作「解碼」(Decoded),將他的往事、喜愛的嘻哈歌曲一併書寫成韻腳短詩,展現人生故事與音樂的高度結合,並獲得亞馬遜五星評價。日本有「嘻哈天皇」之稱的傳奇饒舌歌手Zeebra(横井英之),也曾在2008年親自執筆、出版自傳「ZEEBRA自伝 :HIP HOP LOVE」,他將年幼往事到近年生涯心得等面貌完整呈現,然而,樂迷的反應則相當兩極,褒貶不一。
.
◎推薦閱讀:#關於嘻哈與黑人音樂文化的中譯書籍
.
儘管台灣的饒舌創作者不斷在歌詞創作上展現高度的藝術性,但屬於台灣本土的嘻哈文學小說仍尚未出現,此類市場更有待開發。不過,只要將範疇放寬至「嘻哈書寫」領域,台灣樂迷仍有許多翻譯好書可以閱讀。例如十年前由商周出版的「嘻哈美國」(Hip Hop America)便是被台灣嘻哈社群奉為圭臬的著作。
.
「嘻哈美國」不但為「美國書卷獎」得獎之作,更是「美國國家書評獎」的決選作品。而譯者何穎怡更在翻譯過程中做了許多考證,將非裔美國人的生活態度與嘻哈精神逐一忠實呈現。
.
若年輕的讀者認為「嘻哈美國」一書較為龐雜艱澀,還有許多商周出版的一系列著作可供選擇,如《嘻哈星球筆記》、《嘻哈黑話字典》、《20世紀最後的草根藝術︰嘻哈文化發展史》,等都是不錯的解析與工具書。《等待藥頭》則從歷史脈絡解析音樂發展與音樂場景中的各種文化思考,《酷派當家》更從「酷」一詞延伸至歷史情境,從新觀點看待美國黑人音樂文化,並對青少年的思想與生活有著深刻有趣的觀察。
.
參考網址:
http://www.books.com.tw/exep/prod/booksfile.php…
http://www.goodreads.com/…/sh…/781522.Straight_Outta_Compton
http://en.wikipedia.org/wiki/Hip-hop_literature
http://www.amazon.com/Encyclopedia-Hip-Literat…/…/0313343896
http://www.amazon.com/Decoded-J…/…/0812981154/ref=pd_sim_b_2
http://ja.wikipedia.org/wiki/Zeebra
http://www.amazon.com/Rose-that-Grew-Concr…/…/ref=pd_sim_b_3
http://www.amazon.co.jp/ZEEBRA%E8%87%AA%E4%BC%…/…/4835617207
Encyclopedia of Hip Hop Literature [Hardcover]
.(若、本、文、有、未、盡、事、宜,請點本粉專 #置頂各種我獨自經營的平台💖謝謝指教^U^也歡迎理性討論唷!我們是要一起往前走的,不是我,也不是只有你,是一起唷U////////////U)https://www.youtube.com/watch?v=QmORI6Fuqpg
.
CREDIT:我家柴犬,這次應該不會再有酸民說要強暴他要射在他臉上要殺他了吧?發文前多想9秒,不認同可以靜默,歡迎理性討論,但任何仇恨言論我肯定會截圖並嘴對方告對方9年喔^U^
.
fiction wiki 在 茱力&Black Music Lovers Facebook 的精選貼文
🔥#嘻哈書寫:#以文字表達嘻哈文化各面目
.
本文發表於par表演藝術誌2012/3月號
http://par.npac-ntch.org/article/show/1356071815625539
.
◎撰文:茱力 茱力&Black Music Lovers
.(若、本、文、有、未、盡、事、宜,請點本粉專 #置頂各種我獨自經營的平台💖謝謝指教^U^也歡迎理性討論唷!我們是要一起往前走的,不是我,也不是只有你,是一起唷U////////////U)
.
「嘻哈書寫」(Hip Hop Writing)一詞,就像是透鏡一般,詮釋人們看待嘻哈文化的不同面向,並讓「文字」與「書寫」本身,成為傳達表述此類音樂文化的重要媒介。
「嘻哈書寫」的範疇也可大可小。廣義來說,舉凡各種描述嘻哈文化面貌的文字載體都可囊括在內——如最直接的歌詞、聚焦於音樂的樂評、甚至充斥著嘻哈態度與創作者生活描述的小說、影視劇本、傳記、文字紀錄等,本文將羅列幾本美國近年的重要嘻哈書寫著作。
.
◎來自街頭的詩歌——#嘻哈歌詞
.
歌詞,是嘻哈身為一類音樂品種中最直接、最重要的構成要素。嘻哈歌詞來自街頭,能夠忠實的反應生活大小事與喜怒哀樂,又具一定的音樂性與豐富韻腳、節奏感,因此,不少文化研究學者如Alan Lawrence Sitomer、Paul Edwards等紛紛用「詩歌」、「詩篇」等文字來形容優秀的嘻哈韻文。
.
嘻哈歌詞通常是簡潔而不失魅力的,透過朗朗上口的韻律
感,直接而明快,比一般媒介文本更能影響眾人。在「嘻哈詩歌與經典」(Hip-Hop Poetry and the Classics)一書中,Alan Lawrence Sitomer 與Michael Cirelli引經據典,將多位英美文學大師(如Robert Frost、莎士比亞等)的名詩韻文對照美國當代的饒舌歌手(阿姆、Notorious B.I.G.等)陳列比較,用寓教娛樂的方式贏得了美國教師的認同。學者Paul Edwards更在「如何饒舌:嘻哈歌手的藝術與科學」(How to Rap: The Art & Science of the Hip-Hop MC)舉出多達四五十位以上的主流與地下饒舌歌手,分析他們歌詞視野、創作架構與內容差異。
非裔美國文學研究者Adam Bradley,也曾在著作「韻腳之書:嘻哈政治學」(Book of Rhymes: The Poetics of Hip Hop)中表示,饒舌樂中充滿了嘻哈歌手對生活、社會甚至世界的見解。更具體來說,嘻哈歌詞中總是有意無意地表達出政治與經濟相關的看法,而世界各地饒舌歌手也經常透過歌詞組織成一個個「故事」,對公眾議題表態,如美國Fort Minor、日本的Shing02都曾藉二次世界大戰歷史題材表達反戰概念,以第三人稱在「Kenji」、「Pearl Harbor」等曲中陳述歷史,知名饒舌巨擘Tupac等人也多次在作品中表達非裔美國人的社會困境。
.
而當場景置換到台灣,重視本土意識的饒舌歌手如大支、張睿銓,都曾在歌曲「19470228」、「囝仔」中加入對歷史事件的描述與反思,拷秋勤(Kou Chou Ching)也在「灰色海岸線」中唱出對環保議題的重視,蛋堡(Soft Lipa)也在「雨沒停過」一曲中,隱晦提及小林村事件。
.
◎傳播媒體中的嘻哈書寫——報導與紀錄
除了嘻哈文化領域的平面著作之外,近二十年來,嘻哈已晉身為美國主流音樂,隨之出現的電影文本如Boyz n the Hood、Juice、Menace II Society、 Notorious、Get Rich Or Die Tryin'等,也一一現身。
.
此類電影的主角群通常由非裔美國演員飾演,並忠實穿插主流與素人饒舌樂,。擔任電影劇本寫作的多半是電影業界人士,並不限於非裔血統,顯示出美國近年對嘻哈媒體文本的重視也已經漸漸拋棄種族偏見。而台灣坊間較知名的中文授權嘻哈音樂電影則有「街頭嘻哈客」(Hustle &Flow)、以及阿姆(Eminem)的半自傳電影「街頭痞子」(8 Mile)等。
.
而在針對嘻哈現象的專論探討、音樂深度介紹、專訪紀錄方面,嘻哈雜誌也扮演了重要角色。在青少年與青年閱讀層中頗受好評、較專注於音樂與文化介紹的雜誌,則有Hip Hop Connection, XXL, Scratch, The Source and Vibe,每年都有不少新刊物浮出市場。這類雜誌近年也紛紛成立電子版與網站,以節省人事成本、與線上社群同步結合,日本的BMR雜誌就是其中一例。
而台灣則仍以部落格、網站與網路社群為主,由素人網友自主刊載嘻哈演唱會觀賞紀錄、訪談、音樂評析、心得等,如網站Groove War、Milk Crates便以類數位雜誌的排版與風貌、輔以優雅文字評述嘻哈音樂,而另一線上網站「Underground Celebrities」則是完整批露與嘻哈創作者的獨家專訪。線上綜合型網站「THINK TAIWAN」則擅長以全英文的介紹方式,將部份台灣本土的嘻哈創作者介紹給世界各地的讀者,其中不乏大篇幅的歌詞翻譯與音樂解析。而嘻哈音樂廠牌How We Roll也曾推出過一頁純文字免費雜誌「Rollin’」介紹自家廠牌藝人,但專屬嘻哈文化的非商業雜誌目前仍罕見,而商業誌中的「嘻哈」印象多半以塗鴉藝術、刺青藝術、商業服飾置入性介紹為主,並以視覺攝影型態為主,並不那麼依賴文字作為媒介。
.
◎當嘻哈文化踏進文學殿堂——文學作品與傳記
.
美國綠木出版社(Greenwood)編輯Tarshia L. Stanley曾收集多種嘻哈文本,編撰成「嘻哈文學百科」(Encyclopedia of Hip Hop Literature),她也明確將所謂的「嘻哈文學」定義成一種都市虛構小說(Urban Fiction)與街頭文學(Street Literature)。Tarshia L. Stanley認同的嘻哈寫作範疇更廣,隱含許多文化觀察、自傳參考、歌詞,無法與社會脈絡情境切割。而此書也邀請了不少嘻哈業界工作者(設計師、音樂創作者、導演、作家)一同來提供其對嘻哈書寫的見解。
維基百科對嘻哈文學的定義也並不狹隘——「不論是虛構小說或非虛構小說,嘻哈文學屬於都會文學,並同樣來自於非裔美國文學領域。」(維基百科,2012)而美國專門出版此類都會文學的出版社多半成立於九○年代晚期。1992年,首部獲得藝術性認同的嘻哈文學著作,則是Ricardo Cortez Cruz的「出走康普頓」(STRAIGHT OUTTA COMPTON,與美國嘻哈團體N.W.A.的其中一張專輯同名),是一本描述黑人主角Rooster在美國洛城黑幫群聚區生活的嘻哈小說。而Ricardo Cortez Cruz的另一本小說「血流五日」(FIVE DAYS OF BLEEDING)出版於1995年,同樣獲得各界肯定,讓嘻哈小說終於登上文學殿堂。
.
近年來,由於美國饒舌歌手紛紛在主流市場上取得了成功,他們的私生活與經驗談也成為讀者們感興趣的部份。如已故的傳奇饒舌歌手Tupac(2pac)的昔日手稿,已在2009年被出版成半自傳詩集「生於水泥的玫瑰」(The Rose that Grew from Concrete),讓讀者一窺他成名前的創作世界。
.
美國商業歌手與製作人Jay Z前兩年也撰寫出半自傳性質的著作「解碼」(Decoded),將他的往事、喜愛的嘻哈歌曲一併書寫成韻腳短詩,展現人生故事與音樂的高度結合,並獲得亞馬遜五星評價。日本有「嘻哈天皇」之稱的傳奇饒舌歌手Zeebra(横井英之),也曾在2008年親自執筆、出版自傳「ZEEBRA自伝 :HIP HOP LOVE」,他將年幼往事到近年生涯心得等面貌完整呈現,然而,樂迷的反應則相當兩極,褒貶不一。
.
◎推薦閱讀:#關於嘻哈與黑人音樂文化的中譯書籍
.
儘管台灣的饒舌創作者不斷在歌詞創作上展現高度的藝術性,但屬於台灣本土的嘻哈文學小說仍尚未出現,此類市場更有待開發。不過,只要將範疇放寬至「嘻哈書寫」領域,台灣樂迷仍有許多翻譯好書可以閱讀。例如十年前由商周出版的「嘻哈美國」(Hip Hop America)便是被台灣嘻哈社群奉為圭臬的著作。
.
「嘻哈美國」不但為「美國書卷獎」得獎之作,更是「美國國家書評獎」的決選作品。而譯者何穎怡更在翻譯過程中做了許多考證,將非裔美國人的生活態度與嘻哈精神逐一忠實呈現。
.
若年輕的讀者認為「嘻哈美國」一書較為龐雜艱澀,還有許多商周出版的一系列著作可供選擇,如《嘻哈星球筆記》、《嘻哈黑話字典》、《20世紀最後的草根藝術︰嘻哈文化發展史》,等都是不錯的解析與工具書。《等待藥頭》則從歷史脈絡解析音樂發展與音樂場景中的各種文化思考,《酷派當家》更從「酷」一詞延伸至歷史情境,從新觀點看待美國黑人音樂文化,並對青少年的思想與生活有著深刻有趣的觀察。
.
參考網址:
http://www.books.com.tw/exep/prod/booksfile.php…
http://www.goodreads.com/…/sh…/781522.Straight_Outta_Compton
http://en.wikipedia.org/wiki/Hip-hop_literature
http://www.amazon.com/Encyclopedia-Hip-Literat…/…/0313343896
http://www.amazon.com/Decoded-J…/…/0812981154/ref=pd_sim_b_2
http://ja.wikipedia.org/wiki/Zeebra
http://www.amazon.com/Rose-that-Grew-Concr…/…/ref=pd_sim_b_3
http://www.amazon.co.jp/ZEEBRA%E8%87%AA%E4%BC%…/…/4835617207
Encyclopedia of Hip Hop Literature [Hardcover]
.(若、本、文、有、未、盡、事、宜,請點本粉專 #置頂各種我獨自經營的平台💖謝謝指教^U^也歡迎理性討論唷!我們是要一起往前走的,不是我,也不是只有你,是一起唷U////////////U)https://www.youtube.com/watch?v=QmORI6Fuqpg
.
CREDIT:我家柴犬,這次應該不會再有酸民說要強暴他要射在他臉上要殺他了吧?發文前多想9秒,不認同可以靜默,歡迎理性討論,但任何仇恨言論我肯定會截圖並嘴對方告對方9年喔^U^
.
fiction wiki 在 Toys Zone D Youtube 的最讚貼文
[Unboxing]Transformers MPM-07 Movie Masterpiece "BumbleBee" (2018)
Website :http://www.thetoyszone.com/
Facebook Page: https://www.facebook.com/thetoyszone
Contact US : info@thetoyszone.com
Donate to Us : https://goo.gl/cM8HrL
Bumblebee is an upcoming American science fiction action film centered around the Transformers character of the same name. It is the sixth live-action Transformers movie. The film is Directed by Travis Knight and written by Christina Hodson, the film stars Hailee Steinfeld, John Cena, Jorge Lendeborg Jr., John Ortiz, Jason Drucker, and Pamela Adlon. It is also the first live-action Transformers film not to be directed by Michael Bay, though he still acts as a producer.
Principal photography on the film began on July 31, 2017, in Los Angeles and San Francisco, California. Bumblebee is scheduled to be released in the United States on December 21, 2018 In 3D.
Via: WIKI
fiction wiki 在 MAMADESG 妈妈狠有事【原 Kandie Family】 Youtube 的最佳解答
新加坡人真的很多压力,连小学生都喘不过气,会不会太恐怖~~~~让Kate和Andie告诉大家如何消除压力!
Singaporeans are really stressed out. Even Primary School students are overwhelmed by stress. It’s so scary~~ Let’s hear from Kate and Andie as they share some ways to unwind.
===== ===== ===== ===== ===== =====
Subscribe for new video every Friday!
欢迎订阅我们的 YouTube频道 和去我们的 Facebook主页。
If you enjoyed this video, subscribe to our channel and visit our Facebook page.
https://www.youtube.com/c/kandienetwork
https://www.facebook.com/kandiefamily/
也有IG哦!
Follow us on Instagram!
https://www.instagram.com/kandiefamily/
官网:
Website:http://www.kandienetwork.com/
A等妈 的粉丝专页:
Kate Pang Facebook:
https://www.facebook.com/pangleixin
安迪爸的粉丝专页:
Andie Chen Facebook:
https://www.facebook.com/andiechen
A等妈 的IG:
Kate Pang Instagram:
https://www.instagram.com/katepang311/?hl=en
安迪爸 的IG:
Andie Chen Instagram:
https://www.instagram.com/andiechen/?hl=en
===== ===== ===== ===== ===== =====
Credits
鸭梨
https://item.btime.com/wm/44f2cur192m8b3b94re33affpfe
Family Stress
https://www.livestrong.com/article/94299-causes-family-stress/
Alarm Clock
https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Draw_alarm-clock.png
Scientist
https://cn.dreamstime.com/???????-?学家????-image31258885
Archaeologist
http://ent.sina.com.cn/m/f/2008-05-16/02262028768.shtml
Cheerleadning
https://www.kisspng.com/png-cheerleading-cartoon-dance-pom-pom-clip-art-3534746/
Cow
https://appalachianvetservices.com/cow-head-with-black-spots/
Arrow to the left
https://www.vbectx.org/arrow-to-the-left-3/
Thermometer
http://www.clker.com/clipart-percent-thermometer.html
Magnet
http://pngimg.com/imgs/technic/magnet/
Blank X’mas Card
http://onwe.bioinnovate.co/blank-christmas-cards/
Reading
https://blog.theliteracysite.com/fiction-readers/
Hiker
https://www.videoblocks.com/video/young-traveler-hiking-man-walking-through-the-woods-with-a-mobile-phone-in-his-hand-bxlabzvimjdbhww5f
Stop
https://thriving.childrenshospital.org/ask-expert-prevent-respond-bullying/
Stress Fress Zone
https://www.theodysseyonline.com/5-ways-help-destress
Gru’s dance
https://www.youtube.com/watch?v=s4sLZOmrvEs
fiction wiki 在 Micaela ミカエラ Youtube 的最讚貼文
The Truth About Japanese Ninja | 外国人が知らない、忍者の話
Historically they went by many names--Monomi, Kusa, Rappa, Nokizaru, Shinobi, but the most popular term to use when referring to Feudal Japan’s famous spies, is “Ninja”.
In Pop Culture and Fiction, Ninja take on the imageof being skilled assassins, dressed in black, moving swiftly through the night with almost mythical skills and powers— but how much of that is actually true?
The Japan Ninja Council is a national team dedicated to preserving the fact and fiction of ninja, and translating it into modern terms for the current day and age. With their guidance I travelled across Japan to speak to experts and determine the truth behind Japanese history’s most mysterious beings.
Related Links:
The Japan Ninja Association:
https://ninja-official.com/?lang=en#toptext
Information about the Odawara Area:
https://www.jnto.go.jp/eng/regional/kanagawa/odawara.html
Information About The Fuma Ninja:
https://en.wikipedia.org/wiki/F%C5%ABma_Kotar%C5%8D
Sakana Cuisine Ryo's English Website:
http://www.d-ryo.co.jp/english.html
Kamaboko Museum's Website:
https://www.kamaboko.com/en/
〜*☆ SOCIAL MEDIA LINKS ☆*〜
Second Channel/セカンドチャンネル!
http://www.youtube.com/mikaeradesu
Follow Me On Twitter/ツイッターでフォローしてね!
http://www.twitter.com/ciaela
Posting Daily On Instagram/インスタグラムでフォローしてね!_
http://www.instagram.com/ciaela
Music courtesy of Epidemic Sound.
~ Thanks For Watching ~
fiction wiki 在 A Perfect Circle - Wikipedia: Fact or Fiction? - YouTube 的推薦與評價
If you're new, Subscribe! → http://bit.ly/subscribe-loudwireA Perfect Circle's Billy Howerdel sits down with @grahamwire to prove and ... ... <看更多>
fiction wiki 在 The Monthly News for July is up!... - Deadliest Fiction Wiki 的推薦與評價
The Monthly News for July is up! It's also time to vote for Battle of the Season, so if you're a Wiki user you can support your favorite ... ... <看更多>