講CUHK單嘢都講到口臭,今日想講下現代醫學急速發展,科學醫學基因學一日千里後對醫學院學生同初級醫生嘅影響
拿,頭盔,我唔係故意要同senior們作對,而係有d好重要嘅概念我覺得一路都無人address過。而醫學界仍然有股好重嘅「當年都係咁捱咁讀,點解你咁多意見」嘅風氣
的確,當年前輩們嘅非人on call生活、要去library睇文獻睇書而唔係方便地用Microsoft surface神速打筆記、開uptodate、開pubmed/medline等等。
無可否認,上個年前代嘅醫生們要增進知識要靠嘅自動波去睇論文去溫書,甚至要自己去R導師做臨床教學等等。無人否認當年環境無咁豐富,上堂無精美PowerPoint、臨床教學今時今日已經好structured,分哂history session, examination session, skills session,有像真度極高嘅假人俾你練習,呢d係上代無嘅luxuries
No one is denying this fact
但上一代都一樣無嘅係咩,大家有無諗過?
就係千千萬萬種過去20年發展出來嘅科學醫學理論同治療方法。
O&G 幾十年前都未知道preeclampsia嘅實際原因係乜,原來可以early pregnancy low dose aspirin prevent or delay onset of preeclampsia。廿年前都無HPV疫苗, 都無話原來screen HPV virology比Pap smears更有效發現子宮頸病變,廿年前無人需要知道呢d
Rheumatology幾十年都無一堆biologics, TNFa, IL inhibitor 。原來autoimmune inflammatory arthritis failed NSAID/MTX可以轉infliximab, adalimumab。psoriatic可以用secukinumab但如果有IBD/enteropathic features要小心IL-17 inhibitor,廿前年無人需要知道呢d
Immunology/ID,幾十年前HIV邊有咁多種antiretroviral?今時今日ART多到就算你de novo resistance都可以換藥換到U=U,廿年前都係得舊式治療,無人需要知種種嘅新式療法。immunology仲多咗幾十種唔同嘅complement, complement inhibitor etc etc嘅investigation
Respiratory醫ILD或pulmonary HTN幾十年前個療法來來去去都係得幾種。今時今日IPF有nintedanib,Pul HTN有成堆endothelin antagonist、PDE5 inhibitor同prostacyclin類嘅藥要知。asthma當年來來去去都係ventolin+inhaled/oral steroid,今時今日分埋IgE asthma, eosinophilic asthma,有成堆唔同嘅SABA-LABA, SAMA-LAMA, IgE monoclonal antibodies, IL-5, IL-4 and IL-13,到底eosinophil要幾多先會大機會有response,用緊steroid嘅eosinophil個cutoff係幾多。
Hematology/oncology幾十年前都未有monoclonal antibodies,無rituximab、nivolumab、targeted therapy等等,幾十年來個發現多咗好多唔同gene mutation同targeted site,EGFR, VEGFR, CTLA-4, PD-1,PD-L1、BRAF,HER-2, you name it you got it。以前癌症病人你大多只要beware of neutropenic fever/infection,今時今日你要screen埋immune checkpoint inhibitor autoimmune hepatitis, pneumonitis, thyroditis, colitis,你要知埋有個病人用緊nivolumab時突然變黃,你要screen咩autoimmune,落咩藥,high dose steroid定點,之後仲可唔可以rechallenge。乳癌病人HER-2依加唔止用herceptin,仲有埋pertuzumab,你仲要screen埋cardiomyopathy,echo drop幾多可以接受,係唔係reversible,可唔可以rechallenge
Endocrine幾十年前糖尿病來來去去都係metformin, gliclazide, insulin今時今日T2DM有GLP-1, SGLT-2, gliptin等等,有埋continuous glucose monitoring device又有bump又有唔同林林總總嘅治療。唔止T1/T2DM,今時今日仲有埋LADA,你要知埋個autoimmune panel screen咩。骨質疏鬆當年玩來玩去都係bisphosphonate,今時今日有denusumab有teriparatide,仲有更多新藥。
Gastroenterology幾十年前IBD來來去去都係steroid/steroid sparing agent 5-ASA/aza,今時今日有TNFa blocker有a4b7 inhibitor vedolizumab。當年hepC得幾種antiviral今時今日有sofosbuvir, velpatasvir, glecaprevir等等,仲變成curative。
Neurology MS幾十年前邊有natalizumab,今時今日如果MS on natalizumab with rapid neurological decline,你要諗埋會唔會可能係JC virus reactivation。GBM以前都係只靠surgical resection,今時今日可以用avastin, temozolomide仲要screen埋MGMT hypermethylation去決定有無得用chemo
呢啲改變同發展只係佔各system嘅一小部分,只係我細小嘅腦袋突然諗到嘅小部分內容。世界不斷發展,學海無涯,我們有愈來愈多嘅知識要學,呢一點無人懷疑過。
醫生擁有比一般人更多嘅權力同地位,就自然需要更大嘅責任。
但係,值得大家反思嘅係,當個knowledge base不斷擴大嘅時候,考試仍然要期望你記埋某張slide嘅角落嘅minute details時,呢個係唔係一個合理嘅期望?
當一個basic trainee去考PACES/long case嘅時候,到底係唔係同以前一樣要知得咁深入?當深度一樣,而個base不斷widen broaden時,新世代嘅醫生應該如何應對?
而考試嘅範圍似乎未有被address過,呢點好值得我地一齊諗諗
gene panel 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
กรณีศึกษา การตรวจ “ยีน” เพื่อหา “ยา” ที่เหมาะสม
บำรุงราษฎร์ x ลงทุนแมน
ยา คือ 1 ในปัจจัย 4 ของมนุษย์ เมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย ทุกคนย่อมต้องการรักษาด้วยยา
เพื่อให้อาการเจ็บป่วยหายดี หรือบรรเทาให้เร็วที่สุด
แต่รู้หรือไม่ว่า มนุษย์แต่ละคน จะตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาที่แตกต่างกัน
โดยสิ่งที่ควบคุมการตอบสนองนี้ก็คือ “ยีน”
ยีน (Gene) คือ หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เช่น สีตา สีผม ไปจนถึงการตอบสนองต่อยา โดยยีนเป็นสิ่งที่เราได้รับถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ และสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานต่อไปได้
รู้ไหมว่า ในวันนี้ ด้วยเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ที่ก้าวหน้า
เราสามารถรู้ข้อมูลสุขภาพได้มากกว่าที่เราคาดคิด
โดยเฉพาะการตรวจยีนเพื่อหา “ยา” ที่เหมาะสมกับตัวเราเอง..
เรื่องนี้น่าสนใจอย่างไร? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ก่อนอื่น มาทำความเข้าใจกลไกของยาในร่างกายกันสักนิด
ทุกครั้งที่เรากินยา 1 เม็ด ยาจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด และกระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ก่อนที่จะถูกส่งมาที่ตับ
อย่างที่เราเคยได้ยินกันมาว่า หากกินยามากๆ ตับจะทำงานหนัก
นั่นเป็นเพราะว่า หน้าที่ของตับ ก็คือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารเคมีที่เข้าสู่ร่างกาย
และขจัดสารเคมีที่เป็นพิษออกจากร่างกาย
ซึ่ง ยา ก็เป็นสารเคมีชนิดหนึ่ง..
ยาบางชนิด มีโครงสร้างทางเคมีที่ยังไม่ออกฤทธิ์ จนกว่าจะถูกลำเลียงมาที่ตับ เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปโครงสร้างที่ออกฤทธิ์ และให้ผลทางการรักษาได้
ในขณะที่ยาบางชนิด หลังจากให้ผลทางการรักษาแล้ว ก็จะถูกส่งมาที่ตับ เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในโครงสร้างที่หมดฤทธิ์ และสามารถขับออกจากร่างกายได้
กระบวนการนี้เรียกว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพของยา หรือ Drug Metabolism
ซึ่งสิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพของยา ก็คือ เอนไซม์ที่อยู่ในตับ
โดยสิ่งที่ควบคุมลักษณะของเอนไซม์ในตับ ก็คือ ยีน
แต่ยีนที่ควบคุมนั้น ก็จะมีหลายชนิด และส่งผลจำเพาะกับยาแตกต่างกันไป
เช่น ยีน CYP2C9 จำเพาะกับยา Warfarin ซึ่งเป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือด ใช้สำหรับป้องกันการอุดตันของหลอดเลือด โดยเฉพาะหลอดเลือดสมอง
หากทุกคนมียีน CYP2C9 เหมือนๆ กัน ก็จะไม่มีปัญหาอะไร
แต่จะมีปัญหาเกิดขึ้น เมื่อแต่ละคนมียีนที่ไม่เหมือนกัน
บางคนมียีน CYP2C9 บางคนไม่มียีนนี้
สำหรับคนที่มียีน CYP2C9 จะตอบสนองได้ดีต่อการใช้ยา Warfarin จนอาจต้องลดขนาดยาลง เพราะหากได้รับมากเกินไป จะทำให้เกิดอาการเลือดไหลไม่หยุด
แต่สำหรับคนที่มียีน CYP2C9 น้อย หรือไม่มี อาจจะตอบสนองต่อยา Warfarin ได้ไม่ดีเท่าที่ควร จึงจำเป็นต้องเพิ่มขนาดยา หรือเปลี่ยนไปใช้ยาอื่น เพื่อให้ผลการรักษามีประสิทธิภาพ
นอกจากในเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยา ยีนยังมีผลในเรื่องของ “การแพ้ยา” อีกด้วย..
การแพ้ยา เป็นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันภายในร่างกายที่มีต่อยา เมื่อร่างกายมองว่ายาคือสิ่งแปลกปลอมที่ต้องกำจัดออก แต่หากมีการตอบสนองที่มากเกินไปอาจส่งผลเสียตามมา
เช่น มีผื่นขึ้น ริมฝีปากบวม ผิวหนังหลุดลอก หรือเกิดความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย
จนอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
การกลายพันธุ์ของยีนบางชนิด เช่น ยีน HLA-B ซึ่งทำหน้าที่สร้างโปรตีนบนภูมิคุ้มกัน หากเกิดการกลายพันธุ์กลายเป็นยีน HLA-B*1502 จะทำให้ได้โปรตีนที่มีความผิดปกติ ซึ่งสามารถจับกับยาทำให้เกิดการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันมากกว่าปกติ โดยเฉพาะ ยากันชัก Carbamazepine
ผู้ที่มียีน HLA-B*1502 ทำให้เสี่ยงต่อการแพ้ชนิดรุนแรงจากยา Carbamazepine
มากกว่าปกติถึง 55 เท่า
มนุษย์มียีนที่แตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล โดยมีปัจจัยหลักคือ เชื้อชาติ
หากเราสามารถตรวจยีน ก่อนรับการรักษาด้วยการใช้ยา ก็จะทำให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถเลือกใช้ยาที่เหมาะกับตัวเรา และจ่ายยาให้เราในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดผลการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ลดผลข้างเคียงจากการใช้ยา และลดอาการแพ้ยาลงได้
ในอดีต การตรวจเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก ด้วยต้องอาศัยเทคโนโลยีและเครื่องมือที่ทันสมัย
แต่ในปัจจุบัน เราสามารถตรวจสอบยีนได้ ด้วยการตรวจ PGx panel - myDNA Medication test ซึ่งเป็นการตรวจวิเคราะห์ทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่ตรวจความผิดแปลกทางพันธุกรรมในแต่ละบุคคล
ผลของการตรวจนี้ ทำให้แพทย์สามารถทำนายการตอบสนองต่อยา เลือกใช้ยาและขนาดยาที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการรักษาและลดอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาได้
เช่น หากตรวจพบว่า เรามียีน CYP2C9 ซึ่งจำเพาะกับยา Warfarin
แพทย์จำเป็นต้องลดขนาดยา Warfarin ลง เพื่อลดผลข้างเคียง โดยเฉพาะอาการเลือดไหลไม่หยุด เพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพต่อไปได้
แล้วในประเทศไทย เราสามารถทำการตรวจวิเคราะห์แบบนี้ได้ที่ไหนบ้าง?
หนึ่งในศูนย์การแพทย์ที่สามารถทำแบบนี้ได้ คือ
“ศูนย์พันธุศาตร์เชิงป้องกัน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์” ที่มีทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่มากด้วยประสบการณ์ รวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ครบครัน ทันสมัยและได้มาตรฐานสากล
การตรวจพันธุกรรมยา เป็นการตรวจระดับพันธุกรรมซึ่งช่วยทำนายการตอบสนองของร่างกายต่อยา ผลการตรวจช่วยให้แพทย์สามารถเลือกยาที่มีประสิทธิภาพให้แก่ผู้ป่วยได้อย่างแม่นยำ ลดเวลาการลองผิดลองถูก และลดโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยาลง
การตรวจพันธุกรรมยา เป็นการตรวจ 9 ยีน ที่ครอบคลุมยากว่า 140 ชนิด เช่น ยาลดระดับไขมันในเลือด, ยาละลายลิ่มเลือด, ยารักษาโรคหัวใจ, ยาแก้ปวด, ยาจิตเวช, ยารักษาโรคกระเพาะ ฯลฯ
ซึ่งนอกจากการตรวจเพื่อหาการตอบสนองต่อยาแล้ว ศูนย์พันธุศาตร์เชิงป้องกัน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ยังให้บริการการตรวจเพื่อหาโรคติดต่อทางพันธุกรรม ไม่ว่าจะเป็น มะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือดจากพันธุกรรม รวมไปถึงตรวจโรคทางพันธุกรรมที่อาจถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้อีกด้วย
สิ่งเหล่านี้เป็นเทคโนโลยีที่น่าสนใจมาก
ซึ่งในอนาคตอันใกล้ เรื่องนี้อาจเข้ามาเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญของวงการแพทย์
เพราะยีนของเราเปลี่ยนแปลงไม่ได้ แต่เราเลือกที่จะลงทุนเพื่อตรวจหาได้
ว่าอะไรเหมาะสมกับยีนของเรามากที่สุด..
สำหรับคนที่สนใจ สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม หรือซื้อแพ็กเกจได้ที่ https://bit.ly/3nz7dWT
References
-https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/216/เภสัชพันธุศาสตร์
-Pharmacogenetics: Basic Concept for Pharmacists, ดร.อ.ภก.ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
gene panel 在 陳柏臣醫師的健康診間 Facebook 的精選貼文
A biomarker panel accurately distinguished combat-exposed US veterans with and without PTSD. Some of the biomarkers have previously been linked to PTSD (eg elevated heart rate and decreased coagulation factors), others to MDD, anxiety, and other comorbid conditions, (eg platelet volume, insulin resistance, alterations in the SHANK2 gene, and PDE9A expression), and others are new (miRNAs). https://ja.ma/2oM5957