ทำไม สิงคโปร์ จึงเป็นประเทศแห่ง บริการทางการเงิน ? /โดย ลงทุนแมน
ประเทศเกาะเล็ก ๆ แห่งนี้มีประชากรเพียงราว ๆ 5.7 ล้านคน
แต่สามารถส่งออกบริการด้านการเงินมากเป็นอันดับ 1 ของทวีปเอเชีย
คิดเป็นมูลค่าถึง 1,210,000 ล้านบาท ในปี 2019
จากการจัดอันดับเมืองศูนย์กลางการเงินโลกของ Long Finance ประจำปี 2021
สิงคโปร์คือศูนย์กลางการเงินอันดับ 5
เป็นรองเพียงนิวยอร์ก กรุงลอนดอน และเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเป็นมหานครหลักของประเทศมหาอำนาจ
กับฮ่องกง ที่เป็นเมืองเชื่อมต่อธุรกิจระหว่างโลกกับจีนแผ่นดินใหญ่
สำหรับประเทศเกาะเล็ก ๆ ที่เพิ่งก่อตั้งในปี 1965 และแทบไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอะไรเลย
แม้แต่น้ำจืดก็ยังขาดแคลนจนต้องนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
แต่สามารถเติบโตจนแซงหน้ามหานครในหลายประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่กว่า
และก้าวขึ้นมาอยู่ระดับแถวหน้าของโลกได้ภายในเวลาไม่ถึง 50 ปี..
ความมหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ มีเส้นทางเป็นอย่างไร ?
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม สิงคโปร์ จึงเป็นประเทศแห่ง บริการทางการเงิน ?
ถึงแม้ประเทศจะมีขนาดเล็ก ไม่ค่อยเหมาะสมกับการเพาะปลูก และแทบไม่มีทรัพยากรอะไรเลย
แต่เกาะสิงคโปร์ยังมีความโชคดีอยู่ประการหนึ่ง คือ
“ทำเลที่ตั้งที่อยู่ปลายสุดของคาบสมุทรมลายู”
ทำเลนี้เป็นจุดสำคัญของเส้นทางเดินเรือ ที่เชื่อมต่อระหว่างเอเชียตะวันออก กับอินเดียและยุโรป
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 อังกฤษรวบรวมดินแดนแถบนี้และเรียกว่า “อาณานิคมช่องแคบ”
สิงคโปร์จึงถูกวางให้เป็นเมืองท่าสำคัญของบริษัท บริติช อีสต์ อินเดีย ซึ่งเป็นบริษัทที่เดินเรือทำการค้าขายระหว่างยุโรป กับอินเดียและโลกตะวันออก
ต่อมาเมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เกิดอุตสาหกรรมอาหารกระป๋องที่ได้รับความนิยมสูงในยุโรป แร่ธาตุที่จะนำมาทำกระป๋องก็คือ ดีบุก ซึ่งพบมากแถบคาบสมุทรมลายู เมืองท่าสิงคโปร์จึงถูกพัฒนาให้เป็นตลาดค้าดีบุกที่สำคัญของโลก
นอกจากดีบุกแล้ว การนำยางพาราเข้ามาปลูกในแถบมลายูในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน
ก็ทำให้สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางของตลาดประมูลยางพาราอีกหนึ่งตำแหน่ง
การเป็นทั้งเมืองท่า เป็นศูนย์กลางการค้าดีบุกและยางพารา ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศในสิงคโปร์คึกคัก ดึงดูดชาวต่างชาติให้เข้ามาเปิดกิจการธนาคาร
ธนาคารต่างชาติแห่งแรกที่เข้ามาเปิดทำการในสิงคโปร์ คือ The Union Bank of Calcutta
เปิดในปี 1840 มีการจัดตั้งสกุลเงินประจำอาณานิคมช่องแคบ คือ Straits Dollar ในปี 1845
ส่วนธนาคารแห่งแรกที่ก่อตั้งในสิงคโปร์ ก่อตั้งโดยชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพมาจากกวางตุ้ง
ชื่อว่า Kwong Yik Bank ในปี 1903 และหลังจากนั้นก็ตามมาด้วยธนาคารอีกหลายแห่ง
แต่ก็มีธนาคารมากมายที่ล้มหายตายจาก หรือถูกควบรวมกับธนาคารอื่น ๆ
ส่วนธนาคารที่ยังดำเนินการมาจนถึงปัจจุบันก็คือ
OCBC หรือ Oversea-Chinese Banking Corporation Limited ซึ่งเกิดจากการควบรวมธนาคารของชาวจีนฮกเกี้ยน 3 แห่ง ในปี 1932
และอีกธนาคารหนึ่งก็คือ UOB หรือ United Overseas Bank ซึ่งก่อตั้งโดยชาวมาเลย์เชื้อสายจีนในปี 1935
แต่ท่ามกลางการวางรากฐานด้านการเงินการธนาคารของสิงคโปร์
การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองท่าแห่งนี้ต้องหยุดชะงักลงในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะถูกยึดครองโดยกองทัพญี่ปุ่น
เมื่อหลังจบสงคราม อาณานิคมช่องแคบได้รับเอกราชจากอังกฤษ และสิงคโปร์ก็ได้ขอรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย ในปี 1963
แต่ด้วยปัญหาความขัดแย้งด้านเชื้อชาติ และอุดมการณ์ทางการเมือง
ท้ายที่สุดสิงคโปร์จึงแยกตัวออกจากมาเลเซีย และก่อตั้งประเทศในปี 1965
พร้อมกับตั้งสกุลเงินดอลลาร์สิงคโปร์ของตัวเองในอีก 2 ปีถัดมา
สิงคโปร์ถือกำเนิดประเทศด้วยการไม่มีทรัพยากรอะไรเลย
และเต็มไปด้วยแรงงานชาวจีนที่หลั่งไหลมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ในช่วงหลังสงครามโลก
ลี กวน ยู (Lee Kuan Yew) นายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงคโปร์ จึงให้ความสำคัญกับเรื่องสวัสดิภาพความเป็นอยู่ รวมไปถึงการสร้างทักษะให้กับแรงงาน ต่อยอดจากการเป็นเมืองท่าค้าขาย
มีการจัดตั้ง Housing and Development Board เพื่อดูแลในเรื่องที่พักอาศัย
และสร้างนิคมอุตสาหกรรมในเขต Jurong ทางตะวันตกของเกาะ
เพื่อสร้างงานในภาคอุตสาหกรรม
โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ทั้ง 2 โครงการ ต้องใช้เงินลงทุนสูง รัฐบาลสิงคโปร์จึงลงทุนเองบางส่วนในโครงการเหล่านี้ และได้ตั้ง The Development Bank of Singapore Limited หรือ ธนาคาร DBS ในปี 1968 เพื่อรองรับเงินทุน กระตุ้นให้เงินทุนหมุนเวียน และโครงการพัฒนาดำเนินไปอย่างราบรื่น
เมื่อผู้คนมีที่อยู่อาศัย มีงานทำ และค่อย ๆ หลุดพ้นจากความยากจนแล้ว รัฐบาลก็ต้องวางแผนต่อเนื่องเพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างยั่งยืน
ประการแรก: พัฒนาการศึกษา
เพราะสิ่งที่สำคัญที่สุดของประเทศที่ขาดแคลนทรัพยากรอย่างสิงคโปร์ ก็คือ “ทรัพยากรมนุษย์”
รัฐบาลสิงคโปร์จึงให้ความสำคัญต่อนโยบายการศึกษาอย่างสูงสุด โดยมีการปฏิรูปคุณภาพของระบบ และมาตรฐานการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
เริ่มจากการมีบุคลากรครูคุณภาพสูง โดยครูทุกคนต้องจบการศึกษาในด้านที่เกี่ยวข้อง หลังจบการศึกษาต้องเข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพครูจากสถาบันการศึกษาแห่งชาติสิงคโปร์ (National Institute of Education หรือ NIE) เป็นเวลา 1 ปี เมื่อปฏิบัติหน้าที่ครูแล้วต้องได้รับการประเมิน และพัฒนาในทุก ๆ ปี
และด้วยความหลากหลายทางเชื้อชาติและภาษาของผู้คนในสิงคโปร์ ที่มีทั้งชาวจีน ชาวมาเลย์ ชาวทมิฬ ซึ่งแต่ละเชื้อชาติต่างก็มีการใช้ภาษาเป็นของตัวเองแตกต่างกันไป
สิ่งที่จะหลอมรวมให้คนทุกเชื้อชาติสามารถอยู่ร่วมกันก็คือ
“ชาวสิงคโปร์ทุกคนจะต้องสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้”
นำมาสู่ระบบการเรียนการสอนสองภาษา ที่มีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก
ส่วนภาษาที่สองก็เป็นภาษาของแต่ละเชื้อชาติ
รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้สร้างทางเลือกในการศึกษาระดับมัธยมให้กับประชาชน โดยแบ่งเป็น
หลักสูตรมัธยมศึกษาเชิงวิชาการ สำหรับนักเรียนที่มุ่งเรียนต่อในมหาวิทยาลัย
และหลักสูตรมัธยมศึกษาโพลีเทคนิค สำหรับนักเรียนที่มุ่งเรียนต่อในสายอาชีวะ
ซึ่งรัฐบาลสิงคโปร์ก็ผลักดันมาตรฐานในการเรียนสายอาชีวะให้มีคุณภาพสูง
เพราะมองว่านักเรียนแต่ละคนมีความถนัดทางวิชาการไม่เท่ากัน และสายอาชีวะสามารถผลิตบุคลากรเพื่อป้อนตลาดแรงงานในทันที
โดยหนึ่งในสายวิชาชีพ ที่รัฐบาลผลักดันตั้งแต่การก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวะแห่งแรก ๆ ก็คือ “นักบัญชี”
สำหรับการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย มีการจัดตั้ง National University of Singapore (NUS) ที่เกิดจากการควบรวมมหาวิทยาลัย 2 แห่งในปี 1980 และเริ่มพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการ โดยจัดตั้ง NUS Entrepreneurship Centre ในปี 1988
ซึ่งในปีการศึกษา 2022 มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ก็เป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของทวีปเอเชีย
จากการจัดอันดับโดย QS
ต่อมาในปี 1981 มีการจัดตั้ง Nanyang Technological University (NTU)
ซึ่งก็กลายเป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับ 2 ของทวีปเอเชีย
โดยมี Nanyang Business School เป็นสถาบันด้านบริหารธุรกิจอันดับ 1 ของสิงคโปร์
เมื่อสร้างแรงงานที่เป็นที่ต้องการของตลาด โดยเฉพาะในภาคบริหารธุรกิจและการเงิน รวมไปถึงด้านกฎหมาย และแรงงานส่วนใหญ่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี
ปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้สิงคโปร์มีความเป็นเมืองนานาชาติ และมีข้อได้เปรียบดึงดูดบริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะสถาบันการเงิน บริษัทด้านบัญชี และกฎหมาย ให้เลือกมาตั้งสำนักงานใหญ่ระดับภูมิภาคในสิงคโปร์
รัฐบาลได้จัดตั้ง ธนาคารกลางแห่งสิงคโปร์ (Monetary Authority of Singapore หรือ MAS) ในปี 1971 เพื่อควบคุมสถาบันการเงิน และบริหารจัดการนโยบายทางการเงิน
ด้วยความที่สิงคโปร์เป็นประเทศขนาดเล็กและเป็นเมืองท่าค้าขาย และพึ่งพาการค้าจากต่างประเทศสูงมาก สิงคโปร์จึงอาศัยกลไก “อัตราแลกเปลี่ยน” เป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายการเงิน ภายใต้การบริหารจัดการของ MAS
ประการที่ 2: ปฏิรูประบบราชการ
เมื่อวางแผนระบบการศึกษาเพื่อสร้างแรงงานที่มีคุณภาพแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ต้องพัฒนาเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติก็คือ “ความโปร่งใส”
ในช่วงหลังการแยกตัวเป็นเอกราช
สิงคโปร์เคยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการคอร์รัปชันสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
รัฐบาลภายใต้การนำของนายก ลี กวน ยู ได้ย้ายสำนักสืบสวนการทุจริตคอร์รัปชัน (Corrupt Practices Investigation Bureau หรือ CPIB)
ซึ่งเป็นองค์กรที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1952 มาอยู่ภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรี
และทำการปฏิรูปกฎหมายป้องกันและปราบปรามการคอร์รัปชัน ให้ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ
ทั้งการตัดสินลงโทษผู้ต้องหาโดยไม่ต้องมีหลักฐานชัดเจน แค่มีพฤติกรรมโน้มเอียงไปในทางไม่ซื่อสัตย์ก็สามารถตัดสินได้ หากผู้ต้องหาถูกตัดสินว่าผิดจริง ก็จะได้รับโทษอย่างรุนแรง
นอกจากโทษทางกฎหมายแล้ว ยังต้องชดใช้ค่าเสียหายเท่ากับจำนวนเงินที่ทำการทุจริตด้วย
หลังจากตัวบทกฎหมาย และกระบวนการลงโทษเริ่มเข้าที่เข้าทาง
ขั้นต่อมา คือการเพิ่มผลตอบแทนให้ข้าราชการ โดยเริ่มในปี 1989
เพื่อจูงใจให้คนเก่งเข้ารับราชการ และลดการรับสินบนของเจ้าหน้าที่รัฐ
รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เวลาต่อสู้กับการคอร์รัปชันมาเป็นเวลากว่า 50 ปี
จนสิงคโปร์กลายเป็นประเทศที่มีดัชนีความโปร่งใส (Corruption Perceptions Index)
สูงเป็นอันดับ 3 ของโลก ในปี 2020
เมื่อประเทศมีความโปร่งใส ก็ดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ ในขณะที่รัฐบาลก็มีเงินมาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น ทั้งการคมนาคมขนส่ง ไปจนถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้ก่อตั้ง คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Development Board หรือ EDB) เพื่อวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่ชัดเจน
จากเมืองท่าปลอดภาษี ในช่วงทศวรรษ 1970s สิงคโปร์ต่อยอดมาสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และปิโตรเคมี ในทศวรรษ 1980s
และในช่วงทศวรรษ 1990s ประเทศแห่งนี้ก็เปลี่ยนไปเป็นศูนย์กลางบริการทางการเงินของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประการที่ 3: พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดตั้ง The Smart Nation and Digital Government Group หรือ SNDGG รับผิดชอบในการเปลี่ยนแปลงบริการต่าง ๆ ของภาครัฐสู่ระบบดิจิทัล เพื่อเก็บข้อมูล และประยุกต์ใช้ในการวางแผนพัฒนาประเทศ ทำให้รัฐบาลสิงคโปร์มี Big Data โดยเฉพาะข้อมูลทางการเงิน
รัฐบาลจึงสามารถตรวจสอบเส้นทางทางการเงินได้ ป้องกันการฟอกเงิน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองทำให้สิงคโปร์ได้รับความน่าเชื่อถือ สามารถเป็นศูนย์กลางทางการเงิน
รัฐบาลยังต่อยอดและให้การสนับสนุนเทคโนโลยีทางการเงิน หรือ FinTech โดยมีเป้าหมายเพื่อผลักดันให้สิงคโปร์เป็น The FinTech Nation
ทั้งการเปิดให้บริษัท FinTech จากทั่วโลก ขอใบอนุญาต Digital Banking ได้เต็มรูปแบบ
ไม่ปิดกั้นเฉพาะองค์กรในสิงคโปร์ และให้การสนับสนุนนวัตกรรมทางการเงินหลายรูปแบบ
ทั้งระบบชำระเงิน, บล็อกเชน ไปจนถึงเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
ในขณะที่ธนาคารกลางสิงคโปร์ ก็เป็นผู้ริเริ่มจัดงาน Singapore FinTech Festival ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกในปี 2016 และจัดขึ้นติดต่อกันมาเป็นประจำทุกปี ซึ่งถือว่าเป็นมหกรรม FinTech ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ปัจจุบัน ธนาคารสิงคโปร์ที่ใหญ่ที่สุด 3 แห่ง คือ DBS, OCBC และ UOB
ล้วนเป็น 3 ธนาคารที่ใหญ่อันดับต้น ๆ ในภูมิภาคอาเซียน มีผลิตภัณฑ์การเงินที่หลากหลาย ทั้งประกันภัย ผลิตภัณฑ์การลงทุนต่าง ๆ ไปจนถึงสกุลเงินดิจิทัล
ภาคบริการการเงินคิดเป็นสัดส่วนราว 7.4% ของการส่งออกสินค้าและบริการของสิงคโปร์ ซึ่งบริการขั้นสูงเหล่านี้ มีส่วนสำคัญที่ผลักดัน GDP ต่อหัวของชาวสิงคโปร์ให้สูงขึ้นเรื่อย ๆ
ในปี 1965 ที่ก่อตั้งประเทศ ชาวสิงคโปร์เคยมี GDP ต่อหัวน้อยกว่า เจ้าอาณานิคมอย่างสหราชอาณาจักร ประเทศแห่งนวัตกรรมอย่างเยอรมนี หรือประเทศมหาอำนาจในเอเชียอย่างญี่ปุ่น
แต่ในปี 2020 GDP ต่อหัวชาวสิงคโปร์แซงหน้าประเทศเหล่านี้ทั้งหมด และมากเป็นเกือบ 1.5 เท่า ของอดีตเจ้าอาณานิคม..
เรื่องทั้งหมดนี้เกิดจากการวางแผนระยะยาว
ทั้งการเตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้พร้อมสำหรับงานบริการ
การพัฒนาประเทศให้โปร่งใสและมีความน่าเชื่อถือในระดับสากล
รวมไปถึงการช่วยเหลือของภาครัฐในทุก ๆ ด้าน
จากเมืองท่าศูนย์กลางการค้า สิงคโปร์ก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการเงินของภูมิภาค และกำลังจะกลายเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีทางการเงินแห่งศตวรรษที่ 21
เรื่องราวของประเทศเกาะมหัศจรรย์แห่งนี้ บอกให้เรารู้ว่า
เมื่อเริ่มเป็นศูนย์กลางอะไรสักอย่าง และสั่งสมประสบการณ์จนมากพอแล้ว
ก็จะง่ายในการดึงดูดสิ่งใหม่ ๆ และกลายเป็นศูนย์กลางด้านอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
และในวันนี้ สิงคโปร์กำลังเตรียมพร้อมทุกอย่าง
สำหรับการเป็นศูนย์กลางอีกหลายด้าน ที่กำลังจะเกิดขึ้นในโลกอนาคต..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-http://prp.trf.or.th/download/2538/
-https://atlas.cid.harvard.edu/explore?country=undefined&product=404&year=2019&productClass=HS&target=Product&partner=undefined&startYear=undefined
-https://remembersingapore.org/2011/10/07/money-never-sleeps-a-brief-history-of-banking-in-sg/
-https://lkyspp.nus.edu.sg/docs/default-source/case-studies/entry-1516-singapores_transformation_into_a_global_financial_hub.pdf
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.PCAP.CD?locations=SG-GB-JP-DE
-https://www.moneyandbanking.co.th/article/news/dbs-cryptocurrency-trading-130964?fbclid=IwAR2VVHEH9_n29fpyXSQ6EgSGDm63Lhm3aQF0aj7I8LIQ_B2wgjIXSazIVxU
同時也有14部Youtube影片,追蹤數超過285萬的網紅Namewee,也在其Youtube影片中提到,【BABI/你是豬】將在11月20日,於全台灣戲院正式上映! 並在11月6及7號在《金馬影展》世界首映。 【BABI/你是豬】由真人真事改編, 這起大型的校園種族暴動事件,發生在2000年馬來西亞南方小鎮的一所學校裡。 當時的馬來西亞處在一黨獨大,爛權腐敗,媒體被嚴格控管及消息封鎖的階段。因此這...
「government authority」的推薦目錄:
- 關於government authority 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
- 關於government authority 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於government authority 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最讚貼文
- 關於government authority 在 Namewee Youtube 的最讚貼文
- 關於government authority 在 Heaven Cream Youtube 的精選貼文
- 關於government authority 在 FATTY HO Youtube 的最讚貼文
government authority 在 Facebook 的最讚貼文
𝙎𝙪𝙩𝙚𝙧𝙖@𝙈𝙖𝙣𝙩𝙖𝙣𝙖𝙣𝙞 𝙞𝙨 𝙉𝙊𝙒 𝙊𝙋𝙀𝙉!
Start planning your holidayyyyy.
𝗦𝗮𝗳𝗲 𝗧𝗿𝗮𝘃𝗲𝗹 𝗔𝘁 𝗦𝘂𝘁𝗲𝗿𝗮@𝗠𝗮𝗻𝘁𝗮𝗻𝗮𝗻𝗶
Rates starting from RM385 nett per room/night for 2 fully vaccinated adults).
Promotion period:
20 August until 30 September 2021.
Inclusive:
*Return land and sea transfer.
*Full board meals; breakfast, lunch, high-tea &
dinner for 2 adults.
*Sports activities subject to the latest SOP.
To book:
https://www.suteraatmantanani.com/exciting-deals/
Tel: 088-303870 / 317617 (Mon-Sun 9am to 6pm)
For enquiries, please WhatsApp 👇
http://wa.me/60178330622
http://wa.me/60178353533
http://wa.me/60178331822
(Mon to Fri 9am to 6pm)
Point-to-point Travel Bubble The Magellan Sutera Resort to Mantanani Island return is in accordance with Travel Bubble Concept structured by the authority.
With the already heightened safety protocols we have, we also adhere to strict SOP stipulated by the Malaysian Government.
*For Malaysians and Residents only.
*Terms & conditions apply.
Your Safety Our Priority
#suteracares #togetherwefight #safewithus𝙎𝙪𝙩𝙚𝙧𝙖@𝙈𝙖𝙣𝙩𝙖𝙣𝙖𝙣𝙞 𝙞𝙨 𝙉𝙊𝙒 𝙊𝙋𝙀𝙉!
Our fully vaccinated staff is excited to welcome you back here.
𝗦𝗮𝗳𝗲 𝗧𝗿𝗮𝘃𝗲𝗹 𝗔𝘁 𝗦𝘂𝘁𝗲𝗿𝗮@𝗠𝗮𝗻𝘁𝗮𝗻𝗮𝗻𝗶
Rates starting from RM385 nett per room/night for 2 fully vaccinated adults).
Promotion period:
20 August until 30 September 2021.
Inclusive:
*Return land and sea transfer.
*Full board meals; breakfast, lunch, high-tea &
dinner for 2 adults.
*Sports activities subject to the latest SOP.
To book:
https://www.suteraatmantanani.com/exciting-deals/
Tel: 088-303870 / 317617 (Mon-Sun 9am to 6pm)
For enquiries, please WhatsApp 👇
http://wa.me/60178330622
http://wa.me/60178353533
http://wa.me/60178331822
(Mon to Fri 9am to 6pm)
Point-to-point Travel Bubble The Magellan Sutera Resort to Mantanani Island return is in accordance with Travel Bubble Concept structured by the authority.
With the already heightened safety protocols we have, we also adhere to strict SOP stipulated by the Malaysian Government.
*For Malaysians and Residents only.
*Terms & conditions apply.
Your Safety Our Priority
#suteracares #togetherwefight #safewithus
government authority 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最讚貼文
【還原「物業帶動鐵路」的歷史時空】 #永續港鐵霸權 #7月專研
港鐵霸權一大核心就是長期壟斷「鐵路上蓋物業發展權」,今時今日香港土地問題走到如斯局面,與經常被吹噓為「國際成功模式」的「鐵路加物業」(Rail + Property) 不無關係,但服務大眾的鐵路公司搖身一變成為追求利潤的發展商,絕對不是一夕間發生的合理事情。「鐵路上蓋物業」的原意又與今日有沒有變化? 是次研究專題將會透過回顧過上千頁有關香港地下鐵發展的英國解密檔案,還原70年代「物業帶動鐵路」發展模式的源起及原意,將有助進一步理解現時逐漸扭曲的港鐵發展形態。
▌構思初現:初期鐵路物業的背景與概念
「以地養鐵」更早可以在日本找到相類似發展模式 (Murakami, J., & Gregory, K. I.,2012),然而最早「引進」香港的來源暫不可考。但從現有官方內部檔案中,可找到早於1970年交通諮詢委員會 (Transport Advisory Committee)提交的一份《集體運輸計劃總報告書》,報告中建議除了計劃興建已設計的4條鐵路路線,並分9期(nine distinct stages) 完成「理想」鐵路系統(preferred system)外,已有提及「發展上蓋物業」的構思。在報告提及鐵路系統的長期發展影響:
”Wherever subway systems have been built experience shows that property and land increase in value. This opens up the strong possibility that a part of the cost of providing station concourses could be met through arrangements which permit the private development of station superstructures and surrounds.”
當年報告所述,由於預視到鐵路系統的帶動下,當地物業及地價將會升值。因而報告提到有很大可能可以容許私人發展 (private development) 上蓋物業去補貼鐵路站的建設成本。值得注意的是,報告除了提出上蓋 (station superstructures)發展外,首次提到發展上蓋周邊 (surrounds) 的發展概念。可見,現時港鐵圈地/上蓋物業發展一早出現在早期鐵路系統構思之中。
70年代還有差點讓鐵路系統觸礁的財政艱難,更清晰定位鐵路中的「物業收益」有何功能。參考早期關於興建鐵路系統的英國解密檔案顯示,早於1972年,香港政府成立集體運輸臨時管理局(Mass Transit Railway Provisional Authority),打算先行興建較全面、工程單一批予日資財團(Japanese consortium)的早期系統(initial system),但後來石油危機爆發,日本經濟陷入危機,財團先是提出可否修訂興建成本價格上限由50億為60億,遭到管理局拒絕後則宣佈退出鐵路興建,檔案中可看到港英政府曾一度為此而與日資財團就賠償爭執,甚至有香港主要大班 (怡和除外) 都因財政理由反對繼續推展興建鐵路計劃。
當年港英內部評估1980年代交通系統會超負荷,即使鐵路系統已被日資延遲一年(have effectively delayed the MTR project for 12 months),連帶物料通賬的財政問題,但卻認為必須「頂硬上」,調整鐵路系統的財政預算、規模以及未來發展方向,於是臨急推出後來實現的修正早期系統 (Modified Initial System)。在1975年一份關於修正早期系統行政局內部文件,港英將會排除必要鐵路系統以外的多餘支出 (eliminate all expenditures not strictly necessary for resultant simpler system),不僅使整個鐵路規模「大縮水」,同時更建議以溢價債卷(Premium bond)作為融資措施,以及發展沿線上蓋物業(property development on lines)抵消(offset)財赤,皆為確保(safeguard)鐵路在任何情況下的財政可負擔性(the financial viability in any event),讓減少後規模的總興建成本能夠保持於49億的水平。可見,當初「鐵路加物業」發展的概念是在財政大緊縮的特定歷史脈絡生成,目的為防止鐵路興建所帶來財政不穩定情況的其中一法。
▌立業辟地:港鐵上蓋四小龍
直到1975年,為了確保鐵路系統的財政可負擔性以及應急儲備,集體運輸臨時管理局向政府申請批出四個鐵路上蓋物業的綜合發展權(comprehensive development)。而當時行政局內部討論中,一份十分詳細記錄有關批予集體運輸臨時管理局四個上蓋發展權的行政局文件顯示,最早期物業上蓋發展的具體情況:
—九龍灣車廠上蓋物業(現時德福花園):
當時除了作為首個利用鐵路車廠上蓋作物業發展的項目,而且亦成為物業上蓋住宅發展的先例,佔地165,800平方呎,打算興建大型屋苑,滿足18,000個人口的住宅需求。
—亞皆老站(即現今旺角站)上蓋物業(現時旺角中心第一期):
首個非鐵路站上蓋作物業發展,只是相鄰於(adjacent to) 鐵路站,為首個利用鐵路通風樓(ventilation shaft)的物業發展。
—金鐘站上蓋物業(現時海富中心):
佔地60,000平方呎的海富中心,當時金鐘站上蓋物業批地條例原來有列明非工業用途,包括興建酒店(non-industrial purposes which may include a hotel)。
—畢打/遮打站(即現今中環站)上蓋物業(Pedder/Chater)(現時環球中心):
當時批中環商業靚地予鐵路公司的理據明顯為商業利益最大化(maximum exploitation of the commercial possibilities),一來可以善用土地資源(物業建於鐵路站上蓋),二來物業及鐵路站同時興建,可以減少工程興建時發展阻礙(development disturbance)。
其後地鐵公司分別與恆隆、合和、長實多間發展商共合發展上述四個上蓋物業,作為「鐵路加物業」發展模式的雛型,當時內部估計以上物業收入將會佔地鐵公司總收益的20%。當年批出九龍灣車廠上蓋物業上公頃的市區發展土地,整體政府部門都相當歡迎,認為可以平衡當區公屋主導的房屋格局,與及能夠為該區提供額外設施的機會,甚至具體要求屋苑內有至少10戶1車位的發展條件 (XCC(75)52)。此四幅最早批出的上蓋物業發展,從通風樓到車廠、由單一大廈到綜合發展,已是奠定了日後鐵路物業發展的主要選址方式與發展類型。
▌誰主上蓋物業?
這份行政局文件亦載有早期鐵路用地發展權的重要批地原則(principles to be adopted in respect to land grant to Mass Transmit Railway Corporation),是還原物業上蓋發展歷史一份重要參照。文件清楚列出,上蓋物業不一定是地鐵公司「囊中物」,鐵路物業發展權是否批出,或批給誰,完全是政府「話事」 (the grant of comprehensive development rights on land affected by railway installations will be discretionary)。
文件亦同時指出,程序上地鐵公司需要先向政府申請(formally apply)批地,政府可以基於實際考慮 (practical consideration) 決定如何運用這些鐵路上蓋用地的發展潛力 (for government to decide on how to dispose of any development potential remaining in the land over and above its Mass Transit usage) 。換言之,港鐵的上蓋發展絕對可以由政府主導及決定,包括根據現時的實際考慮(公營房屋供應長期落後及不足)用作興建公屋,不一定用於與發展商合作興建私樓供港鐵公司利潤最大化。
▌物業收益應急而起
70年代尾,鐵路系統打算擴建至荃灣區。翻查1978年有關鐵路擴建荃灣(Mass Transit Railway extension to Tsuen Wan)的行政局文件顯示,當時除了提及車廠上蓋物業發展的選址爭議外,亦有提及港英對發展上蓋物業的財政原則。物業發展的收入原本並不用作補貼鐵路成本 (revenue from property development was not originally envisaged as being used as a means of financing the capital cost of the railway itself),而是作為應急儲備及改善現金流(contingency reserve and to improve its cash flow)。而且更補充荃灣車廠上蓋物業發展的剩餘收入,可以用作應對以下4個應急情況:
—抵消「超支」建築成本(offset any excess construction costs)
—抵消收入財赤(offset any revenue deficiencies)
—加速還債(accelerate loan repayments)
—提早鐵路公司對港英政府的投資分股息的日子(bring forward the date when the Corporation begins to pay the Government as share holder on behalf of the public dividends on its investment)
可見,港英多次強調,鐵路上蓋物業收入為確保財政可負擔性(viability)及應急(contingency),而非像現時政府愈來愈恆常化送地予港鐵興建私樓賺錢。
引述法國城市學者Aveline-Dubach整理地鐵公司至其後港鐵自1980至2016年收入可見,明顯看見90年代末東涌綫及其後的將軍澳線所帶動的物業發展收入比例愈來愈重,已經超越鐵路票務收入,現時每年物業收益足足佔港鐵總收入四成。可見,透過重現當初的批地原意,更能突顯漸走向扭曲的港鐵發展形態,形成尾大不掉之勢。
▌賣樓補車費:明言物業發展利潤補貼車費
港鐵不應用上蓋物業賺盡的討論,亦見於地下鐵路公司條例的立法階段的重要討論。一份1975年討論地下鐵路公司草案(Mass Transit Railway Corporation Bill)的行政局文件,提及鐵路公司需要按照審慎商業原則 (prudent commercial principles)。鐵路作為公共交通工具,不應最大化其投資回報 (maximize its return on investment),只應賺取足夠(enough)收入作營運開支。
文件亦可見當年政府就發展上蓋物業項目的收益,會清晰公開回應指物業發展可為鐵路帶來的額外利潤,以維持一個「保守的車費政策」 (assist the railway by providing extra revenue to maintain a conservative fares policy)。比起今天已經與物業收益「脫勾」的「可加可減」車費制度,當日港英政府明顯認為物業收益有助更平宜的車費定價。
在40多年前的歷史時空,當初「鐵路加物業」發展模式跟現時已經不可同日而語,發展上蓋物業不論就其發展型態、財政狀況、規劃模式、補貼原意,明顯有其特定的歷史脈絡及原意。是次研究專題透過還原早期興建地鐵的歷史討論,帶出現時不斷被政府吹奏作為「國際級典範」—港鐵發展模式,並不是一套千秋萬世的發展方程式。
參考資料
1971 FCO 40 358 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1975 FCO 40 658 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1975 FCO 40 659 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1975 FCO 40 660 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1978 FCO 40 974 Construction of an underground railway system in Hong Kong
Aveline-Dubach, N., & Blandeau, G. (2019). The political economy of transit value capture: The changing business model of the MTRC in Hong Kong. Urban Studies, 56(16), 3415-3431.
Murakami, J., & Gregory, K. I. (2012). Transit value capture: New town codevelopment models and land market updates in Tokyo and Hong Kong. Value capture and land policies, 285-320.
研究自主 月捐撐起最新專研系列:https://liber-research.com/support-us/
FPS ID:5390547
HSBC PayMe 捐款支持:https://bit.ly/32aoOMn
戶口號碼:匯豐銀行 640-198305-001 (LIBER RESEARCH COMMUNITY (HK) COMPANY LIMITED)
義工招募:https://bit.ly/2SbbyT3
government authority 在 Namewee Youtube 的最讚貼文
【BABI/你是豬】將在11月20日,於全台灣戲院正式上映! 並在11月6及7號在《金馬影展》世界首映。
【BABI/你是豬】由真人真事改編, 這起大型的校園種族暴動事件,發生在2000年馬來西亞南方小鎮的一所學校裡。
當時的馬來西亞處在一黨獨大,爛權腐敗,媒體被嚴格控管及消息封鎖的階段。因此這起事件在當時已被相關單位“和諧”,在馬來西亞幾乎沒有人知道。
我想把這部電影拍出來,目的除了要揭露事實的真相,也要藉此提醒馬來西亞人種族之間必須更團結,互助,交流,才不會一直被政治人物利用,以操弄種族情緒而達到政治目的。不然就會發生更多類似的悲劇。。。
“BABI”在馬來語裡面是“豬”的意思。在一般人眼裡,“豬”就只是一個動物的名稱。但在穆斯林的眼裡,豬是不潔的動物,只要在任何媒體上或言論上提到“豬”這個字眼,等同犯了大忌,會引起很大的爭議。而這部電影就是建立在“豬”這個字眼所引發的一系列連鎖效應,最後造成的悲劇。
【BABI/你是豬】在馬來西亞是一部禁片,沒辦法找到投資,因此只用了非常低的成本來拍攝,過程非常艱難和痛苦。但慶幸的是,最後我們不但在重重壓力下完成了拍攝,甚至還受到了各國影展的青睞,包括【德國柏林電影節】,【泰國國際電影節】以及【金馬影展】,有這樣的成績讓我們都感到非常欣慰。
感謝【金馬影展】的評審對【BABI/你是豬】的肯定,希望未來能讓更多人知道,並看得到這一部電影。
我們堅決反對種族政策,反對政府控制媒體及各種官官相護的行為。在此祝願我的國家馬來西亞未來能夠更好,各族團結共榮,一起譴責種族主義和一切歧視的行為。
最後,我要感謝台灣這片土地對不同聲音及藝術作品的包容與接納,感謝台灣,感謝【金馬影展】【金馬獎】以及發行商【華映娛樂】對我的肯定!
我們11月20號不見不散!
‘Babi’ will be available in all Taiwan cinemas on November 20 onwards! The film is also scheduled to debut internationally at the ‘Taipei Golden Horse Film Festival’ on the 6 and 7 of November 2020.
‘BABI’ is a film which is based on an actual real-life event, the movie sheds light on a massive school racial riot, the incident took place in year 2000 in a small town somewhere Southern in Malaysia.
During that time Malaysia was still under the authoritarian rule of one-dominant party, abuse of power and corruption were frequent, media and news were being stringently controlled or filtered. Thus, the incident was being ‘compromised’ by relevant authority, the case was unknown to most of the Malaysians.
I want to disclose the story though art and filming but most importantly sending a message to all Malaysians that we must be more unified disregard of our ethnicity and race. In short, we shall always lend a helping hand to each other and communicate with our hearts and souls therefore we won’t be exploited by politicians who incite racial sentiment to reach their end goal. Otherwise, we will only be trapped in this tragic never-ending cycle…
‘BABI’ in Malay means ‘PIG’. In someone’s eyes, ‘BABI’ is purely just a name for an animal but in Muslim’s eyes, pig resembles unholiness, a word which would radiate sin even mutter from one’s mouth, a taboo word which would spark controversy on any given media or comment section. Hence, this movie is built upon how the word ‘BABI’ triggered a chain reaction which ultimately resulted a series of misfortunes.
‘BABI’ is not passed for screening in Malaysia, a banned film. Due to this reason, the budget for this movie was very limited, I have had only a little of resources to finish this project, the process was arduous and agonizing. Luckily, we have not only completed the film under such immense pressure but being invited to Berlin International Film Festival, International Thai Film Festival and Golden Horse Film Festival as well, I’m relief that our labour and passion bore fruit right in the very end.
I want to thank the judging panel for all the recognition. I hope that in the future more people would know about the film and able to watch it.
We stand firm against any race policy and structural racism, we strongly oppose nepotism and government controlled media. I wish my home country Malaysia, to be ever united against racial policy and has a brighter future ahead.
I would like to thank Taiwan for welcoming all different kind of voices and art, thank you Taiwan. Lastly, shout-out to the ‘Taipei Golden Horse Film Festival’, ‘Golden Horse Awards’ and the film’s distributor ‘CPT Entertainment’ for their acknowledgment.
See you in the cinemas on November 20!
-
【你是豬|BABI】購票連結 Ticketing Link: https://www.ezding.com.tw/movieInfo?movieid=1fb7e4b914af42a3b44c268aba72fa75
【你是豬|BABI】預告Trailer:https://youtu.be/_ZuZiHMSXtE
【你是豬|BABI】電影插曲【Happy Family】https://youtu.be/tdnfe3lALd8
【你是豬|BABI】解釋 Penjelasan:https://bit.ly/3mog7ps
-
配合《BABI 你是豬》正式在台灣上映,黃明志決定開放福利給粉絲啦‼
黃明志將會於11月13日 - 16日在台灣舉辦《BABI 你是豬》電影見面會。屆時你將會和黃明志一同看電影,還有機會能在電影結束後向黃明志提問,無論你心中有什麼疑惑都可以大膽地提出來!
除了和黃明志近距離接觸外,還有機會獲得簽名海報喔!看到這裡你心動了嗎?心動不如行動,趕快點擊連結買票吧 ?
粉絲簽名分享會地點如下:
11/13(五) 桃園 - 美麗新台茂影城 19:00
活動頁面:https://fb.me/e/3g4Q1KlrQ
桃園粉絲簽名分享會買票連結:https://reurl.cc/3Lm7K8
-
11/14(六) 台中 - 台中站前秀泰影城S2館 13:30
活動頁面:https://fb.me/e/4tF9LvhyX
台中粉絲簽名分享會買票連結:https://reurl.cc/k0vWG9
-
11/14(六) 嘉義 - 嘉義秀泰 18:30
活動頁面:https://fb.me/e/cnL2zcQ8B
嘉義粉絲簽名分享會買票連結:https://reurl.cc/Q3DoQ5
-
11/15(日) 台南 - 台南大遠百威秀影城 13:00
活動頁面:https://fb.me/e/4szAREnw3
台南粉絲簽名分享會買票連結:https://reurl.cc/EzDN8g
-
11/15(日) 高雄 - 高雄喜滿客夢時代影城 17:30
活動頁面:https://fb.me/e/3HEFXP91r
高雄粉絲簽名分享會買票連結:https://reurl.cc/8n76xy
-
11/16(一) 台北 - in89豪華數位影城 19:00
活動頁面:https://fb.me/e/1KkqasF4G
台北粉絲簽名分享會買票連結:https://reurl.cc/R1D74D
-
欲網購黃明志最新實體專輯《亞洲通才》及歷年專輯和周邊商品請到。Purchase Namewee Latest 《Asian Polymath》 , Others Music Albums & Merchandises Please log in to https://namewee4896.com/
Namewee 黃明志 Official Facebook Fan Page:
https://www.facebook.com/namewee/
Namewee YouTube Channel Link:
http://www.youtube.com/user/namewee
#Namewee #黃明志
government authority 在 Heaven Cream Youtube 的精選貼文
隔離的一天日記|防疫旅館開箱|一日三餐隔離日常|Quarantine diary : A day in my life | quanrantine hotel room tour | what I eat in a day
♥ More about me :
➶Instagram : @xiinyulee
https://www.instagram.com/xiinyulee/
——————————————————————————————————————
?About this video 關於影片:
我在台灣14天隔離生活第七天的日记。隔離住宿14天的花費原本是21000台幣,不過感謝台灣政府和學校的補貼,所以這14天費用是免費?的❕❕影片記錄了隔離期間的一日三餐,還有我的隔離日常生活。
A day in my life of my 14days quarantine in Taiwan. The quarantine facility costs 21000NTD but the government and our school authority will pay for the bill which I am very thankful for?.This video recorded what I eat in a day and my daily routine during quarantine.
?Places地方:
台灣 台北
Taiwan, Taipei,
?Music Credit 音樂來源:
Music by Eric Reprid - Lime - https://thmatc.co/?l=4A04C5C9
https://soundcloud.com/quicklyquickly...
——————————————————————————————————————
♥ Thanks for watching!感謝收看!
➶Subscribe n turn on notifications for more video soon 更多影片請訂閱+打開小鈴鐺
government authority 在 FATTY HO Youtube 的最讚貼文
突發「笑著流淚」林格X肥仔 雙人展 | 「Joy in Misery」Works by Lin Ge & Fatty Ho ﹗﹗﹗
尻下尻下又一年~ 是但喇~
金權專政、強人民主、狂言總統,日不落退歐,退精英化,個人主義抬頭,當前的世界是一個前所未有的局面,對上一次或許數到文藝復興時期,讓知識與文字普及,但這趟的顛覆與以往截然不同,轉化中很多時沒有帶領者或許不久的將來權威會進一步失去原有的價值。
回看我們的寶地,過去數年的人均生產總值世界排名不斷攀升、名列前茅,我們擁有15年免費教育,完善的醫療體系、社會保障,政府福利更是世上罕有的完美,由出生、成長、教育、就業、醫療、養老、到死亡,樣樣照顧妥貼,走出街,雖然沒有Uber但公交有補貼,每年還有現金分享,對比起動盪的世界格局,這地方實在離地得可愛。
踏入2018年,尋藝會第一場展覽,我們將為大家帶來兩位出色的年輕藝術家,分別是,林格與肥仔,二位一直以文字、插畫、電繪、短片等方式在不同領域發表作品,緣分將我們牽連在一起,今天聚首在同一展場,以笑中有淚的全新作品,嘗試在離地的地面,觀察生活、探討生命,我們到底快樂嗎?在真話難宣的日子裡,好在還有藝術,期望透過這場展出,讓更多朋友多關心世界以致周邊的日常。
Plutocracy, dictatorial democracy, boastful president, Brexit, weakening elitism and the rise of individualism form an unprecedented situation in the world today. Looking back at history, the last great change may be the Renaissance which popularized knowledge and words. However, the current subversion is entirely different from the past since there is usually no leader in the transformation. Perhaps authority will lose further its original value in the near future.
Talking about our blessed land, its world GDP per capita ranking has been continuously rising and dominating the top of the list over the past few years. We have 15-year free education, well-established healthcare system, social security, and the welfare from the government is extraordinarily perfect compared with other places in the world, it covers every stage of our life: from birth, growth, education, career, medical care, retirement until death. Though Uber is no longer available, we have public transport fare subsidy. We can also share the fruits of its economic development under the Wealth Partaking Scheme annually. In contrast to the turbulent global pattern, this place is unrealistically lovely.
In the first exhibition of Find Art Association in 2018, we are going to introduce two talented young artists – Lin Ge and Fatty Ho. They have been publishing works in various areas through words, illustration, computer graphics and short film etc. Fate brings us together in this exhibition with artworks of “Joy in Misery”, let’s try to observe and explore life in this unrealistic city, and we may question ourselves: are we really happy? It is hard to reveal our true self in our life, fortunately, there is art. I hope this exhibition can inspire more people to care about the world and their surroundings.
策展人
Curator
蘇侃哲
José Lázaro das Dores
____________________________________________________
展覽開幕儀式
2018年3月16日(星期五) 18:30
展覽開放日期
2018年3月16日至4月3日
展覽開放時間
逢星期二至五 18:30-21:30
逢星期六至日 13:30-21:30
展覽地點
MMM Workshop
澳門媽閣街45號金利樓地下
Opening Ceremony
16 March 2018 (Friday) 18:30
Exhibition Period
16 March 2018 to 3 April 2018
Opening Hours
Tuesday - Friday : 18:30 to 21:30
Saturday - Sunday : 13:30 to 21:30
Exhibition Venue
MMM workshop & JUJU studio
Barra No45 Edf Kam Lei R/C
government authority 在 Government Authority Definition: 4k Samples | Law Insider 的相關結果
Government Authority means any relevant administrative, judicial, executive, legislative or other governmental or intergovernmental entity, department, agency, ... ... <看更多>
government authority 在 governmental authority collocation | meaning and examples of ... 的相關結果
Governmental authority is legitimately exercised only in accordance with written, publicly disclosed laws adopted and enforced in accordance with established ... ... <看更多>
government authority 在 government authority - Linguee | 中英词典(更多其他语言) 的相關結果
As part of government authority to enact public policy to prevent, combat and eliminate the illicit trade in small arms and light weapons, ... ... <看更多>