Unfriended: Dark Web (2018) สามารถดูได้ใน Netflix
• สุดขีดในแง่ไอเดียหนังมาก แต่ยังรู้สึกว่าพอมันไฮเทคมาก ๆ เลยมีความแฟนตาซีอยู่พอสมควร
• ไอเดียฆาตกรรมด้วยการควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวบางฉากนี่เก๋มาก พอออกมาประมาณนี้เลยรู้สึกถึงโฉมใหม่ของหนังแนวสยองขวัญ
• ดูช้าไป 2 ปี แต่เทรนด์วัยรุ่นและเทคโนโลยียังใกล้เคียงปัจจุบัน คุยกันผ่าน skype, ฟัง Spotify, ทำ Vlog ของตัวเอง, พูดถึงบิตคอยน์
• เทียบกับภาคแรกที่เป็นสยองขวัญเหนือธรรมชาติแล้ว คิดว่าไอเดียการเล่นกับหน้าจอภาคแรกใช้คุ้มกว่า ส่วนภาคนี้น้ำหนักนอกคอมพิวเตอร์ค่อนข้างเยอะ
• หนังมีตอนจบถึง 3 แบบ ในโรง 2 แบบ และในบลูเรย์ 1 แบบ ใน Netflix เหมือนจะได้ดูตอนจบฉบับดั้งเดิมเลย
-------------------------------------
'มาไทอัส' (Colin Woodell) ขโมยแล็ปท็อปเครื่องหนึ่งมาจากคาเฟ่ ปรากฏว่าแล็ปท็อปเครื่องดังกล่าวดันเป็นของพวกถ่ายคลิปฆาตกรรมขายเว็บใต้ดิน ซึ่งเจ้าของเครื่องอยากได้แล็ปท็อปคืนแลกกับการไว้ชีวิตแฟนสาวที่บกพร่องทางการได้ยินของมาไทอัส แต่ยังไม่ทันจะได้ส่งคืนก็กลายเป็นว่าเพื่อน ๆ ที่คุยวิดีโอกับเขาทุกคนกลายเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถูกข่มขู่เอาชีวิตด้วยทั้งหมด
.
หนังมันเล่นไอเดียแบบ Unfriended ภาคแรกคือเน้นเล่าผ่านหน้าจอแล็ปท็อปเพียงอย่างเดียว ต่างกันที่ภาคแรกเป็นสยองขวัญเหนือธรรมชาติ ส่วนอันนี้สยองขวัญไซเบอร์ นึกชะตากรรมหากเราที่มีความรู้ด้านอินเตอรเน็ตแค่ขั้นพื้นฐานต้องสู้กับพวกสุดยอดแฮ็คเกอร์ที่สามารถเข้ามาควบคุมแล็ปท็อปของเรา ตัดต่อเรียงลำดับคลิปเสียงใหม่ ติดตั้งโปรแกรมและควบคุมระบบได้ทั้งหมดมันจะทำให้เราหมดสิ้นหนทางได้ขนาดไหน
.
การวางไอเดียเรื่องที่มีจุดพลิกผันและสภาพแวดล้อมของตัวละครถูกหยิบมาใช้เกือบจะละเอียดทุกเม็ด ทั้งแฟนสาวที่พิการทางการได้ยิน, เพื่อนชายที่อวดลำโพงใหม่เอี่ยม, หรือเรื่องเล่าถึงแม่ที่นอนป่วย, แม้กระทั่งโปรแกรมภาษามือ คือตอนท้ายหยิบมาเล่นได้หมดทุกอย่าง ใครอยากหาหนังระทึกขวัญความยาวประมาณ 90 นาทีดูสนุก ๆ ก็ลองจัดกันได้ครับ
Director: Stephen Susco
screenplay: Stephen Susco (เขียนบท The Grudge)
Genre: horror, mystery, thriller
7/10
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過250的網紅偽學術,也在其Youtube影片中提到,自從2016年的《殘穢》後,大概《#犬鳴村》 算是比較符合日式恐怖(j-horror)的電影。這類日式恐怖電影,大概以2000年前後的作品為尚,像是《七夜怪談》、《鬼水怪談》、《咒怨》等等,這些作品用較為緩慢的步驟營造壓抑氛圍,透過日常的家庭空間與生活感,讓幽冥世界與真實世界混合成一個獨特的世界觀。...
grudge netflix 在 偽學術 Facebook 的精選貼文
【認真聽】#有些地方千萬不要去!解析清水崇的《犬鳴村》與「心靈地點」考察 | 李長潔 👻
.
自從2016年的《殘穢》後,大概《#犬鳴村》 算是比較符合日式恐怖(j-horror)的電影。這類日式恐怖電影,大概以2000年前後的作品為尚,像是《七夜怪談》、《鬼水怪談》、《咒怨》等等,這些作品用較為緩慢的步驟營造壓抑氛圍,透過日常的家庭空間與生活感,讓幽冥世界與真實世界混合成一個獨特的世界觀。我們就趁著鬼月的到來,談談作為日式恐怖電影翹楚的清水崇,及其最新作品《犬鳴村》,還有日本「#心靈地點」(#心霊スポット)的文化社會學分析。
.
📌 #今天內容有:
.
▶ 恐怖大師清水崇,你累了嗎?
▶ 超有名的「舊犬鳴隧道」都市傳說
▶ 心靈地點的文化社會學考察
▶ 《犬鳴村》的早期恐怖電影口味
▶ 太多揭露就沒有恐怖
▶ 恐怖片裡包裹的社會主義與家庭電影
.
📣 #Firstory 聽這裡:https://open.firstory.me/story/ckdu3i8hvoi4w0880j5qy3bwu?ref=android
.
📣 #Spotify 聽這裡:https://open.spotify.com/episode/6GgjjiOn34FwghnvguK5mN?si=1fpeCODwSnW2x1oB_iSwBw
 ̄ ̄ ̄ ̄
//// 完整論述提供閱讀 ////
.
清水崇導演以2003年的《咒怨》為代表作品,這部作品延伸開展出近20年的恐怖IP(intellectual property),共約有8部,像是續集《咒怨2》,或是外掛的《呪怨 白い老女》(2009)、《呪怨 黒い少女》(2009),近期就像前幾集談到的Netflix《咒怨之始》(2020),還有美國版的《怨咒》(The Grudge, 2020)。算是一個做好做滿的恐怖典範。
.
清水崇或許自己覺得伽耶子看膩了,開始展開新的系列計畫,他以日本知名的「都市傳說」、「心靈地點」為基礎,目前規劃《犬鳴村》、《樹海村》兩部電影,為「#實錄的恐怖村莊系列」(実録!恐怖の村シリーズ)。犬鳴村,指向「舊犬鳴隧道」的恐怖故事,而樹海村則是關於富士山下自殺森林的都市傳說。兩者都有真實的傳說脈絡,也是認真的「心靈地點」。但是,甚麼是「心靈地點」?
.
▓ #心靈地點的空間考察
.
立命館大學的宗教社會學研究者住家正芳(2004)認為,1970年代是日本心靈主義的源起,傳播媒體上瀰漫著各種預言、幽浮、超自然現象的論述內容,像是電視節目設計了讓民眾投稿心靈寫真的單元。如Giddens所談及的「#後傳統社會」(post-traditional society)的特徵,新興宗教與認同的興起,這類觸及地域認同解離、心靈體驗探索的議題,成為一種流行(福西大輔,2019)。
.
根據「#全日本心靈地圖網站」(全国心霊マップ心霊まとめサイト),截至2019年為止,整個日本共有1690個地點。心靈地點可分類成「隧道」、「廢墟」、「山林」、「墓地」、「病院」、「海川」、「橋」、「學校」、「神社寺院」、「公園」、「其他」等12種,各自依照地點的空間敘事而被產生。鈴木晃志郎等(2020)則展示心靈地點的GIS數據呈現,從研究的分類可以發現,心靈地點時常出現在「社會與經濟弱勢者」、「智能與身體弱勢者」、「廢棄處理設施」、「地形限制設施」等逐漸遠離社會生活的公共空間,例如「舊犬鳴隧道」就反映出水壩設施公共計畫下所犧牲的社會弱勢壓迫與反抗。
.
▓ #舊犬鳴隧道的都市傳說
.
說明一下「舊犬鳴隧道」的恐怖故事吧!犬鳴村位於今天的福岡縣宮若市,如今在地圖上已找不到該村莊,已淹沒入1994年興建的水壩中。此地自古名為犬鳴谷村,不過現在大多數人習慣稱犬鳴村。也因為封村,舊的犬鳴隧道便禁止通行,而隧道中其實還有村民存在的傳說,自此不脛而走:這個犬鳴村一個賤民居住的地方,因為不公平的對待,村民們拒絕與外界有任何接觸,甚至連整府都設立「#前方將不適用大日本帝國憲法」的警告。
.
自此,犬鳴山的各種傳說大量被反覆傳送。漫畫作品、小說、網路鬼話、民眾自製影片,無論虛實真假,都以犬鳴山作為故事背景,創作者們想像著村莊被封閉與限制的各種可能性。像是這裡住著左翼份子、痲瘋病人、遺傳著畸形模樣的村民、被遺忘而淹死的村民,他們與這個地方以一種負面的姿態存在於架空的地理中。雖然實際上來說,根據《#犬鳴鉄山由来書》在江戶時代起,是一個製煤鐵為業的村區。
.
清水崇的《犬鳴村》基本上沿用都市傳說的原型與謠言流傳的架構,講述一家人在去犬鳴村探險後,被村民鬼魂纏上的恐怖故事。被鬼嚇死了人,大都是在日常的居家空間中被「淹死」,這也埋下了「犬鳴村」誕生的因果關係解釋。故事中的女主角森田湊(三吉彩花 飾),在劇中表現優異,為了拯救自己的家人與血脈,深入村莊揭開犬鳴村民慘死於公共開發的暗黑歷史。
.
▓ #符合早期日本恐怖觀眾的味口
.
討論完「操作型定義」:清水崇的電影語言,與心靈地點的概念。就開始進入《犬鳴村》的批評吧。影片開始時,清水崇運用youtuber前往心靈地點的靈異影片「實錄」作為序曲,恐怖氣氛的拿捏非常細膩:攝錄機的晃動鏡頭,幽暗的廢村,youtuber的企劃執著,在在都趕上當下新媒體的潮流,也點明了「心靈地點」的系列主題。
.
遇見不可知、不可見村民攻擊的youtuber,回到家後便發了瘋似了,成天關在房間裡唱著奇怪的歌曲:大水來了,趕快逃。一頭霧水的觀眾,還可以在她的房間裡明顯地看見一張恐怖藝術大師稻川淳二的海報,應該是清水崇向愛講鬼故事的大師致敬。在醫院、家屋、庭院中,不時出現的鬼魂錯視(角落的女人),與汙穢象徵的暗示(尿液),安心與緊張弔詭的共存,讓作品的前半段,相當符合早期日式恐怖觀眾的偏好。
.
▓ #對於未知的恐懼與過度揭露
.
一直到電影中段前,電影中犬鳴村的具體認知,停留在大家所熟知的「封閉的舊犬鳴隧道」,未知的愁雲慘霧、死亡之謎、母親的瘋狂,壟罩在整個情節的推展下。這一直是清水崇在《咒怨》擅長的,就是讓你摸不透鬼到底在想什麼,用力拼湊著故事碎片,還是看不清事物的原貌。更何況「舊犬鳴隧道」的都市傳說原本就沒有一個完整的脈絡解釋,只是片段事件帶來的恐怖想像。
.
可惜很快地,女主角開始解謎,她的敏感體質讓她快速地進入到村莊過去的秘密當中。這些莫名其妙出現的諸多鬼魂,其實就是當年被水壩興建強迫滅村的人口,他們被以很慘忍的方式,囚禁、虐待,並強迫女子與狗交配,生下帶著犬隻血統的人類,最後被大水淹沒在深湖底下,永遠與社會世界隔離。
.
因為鬼魂的可憐身世突然被過度揭露,削弱了村民令人發毛的曖昧性。本來電影最後女主角侵入犬鳴村,與逃脫「犬女」追殺的過程,應該是全片中的關鍵恐怖場景,但卻因為過度的資訊揭露,而毫無緊迫刺激之感。
.
▓ #社會主義與家庭電影的混合
.
可以看的出來,清水崇想要在這系列「實在實錄」的都市傳基礎上,再架構出一個富有完整世界觀與人物關係的敘事整體。一方面他帶著社會主義的價值,控訴著現代性發展的歷史中,被掩蓋的地方與人民,像是 #福島核災被掩蓋與模糊化的事件真實;另方面,他企圖使用家庭電影的手段,透過隱喻的方式,暗示著這些被遺棄的人,並不會真的消失。而都市傳說與恐怖電影的建構,則是讓大眾得以用某種迂迴的途徑,持續讓這個現代性的失落被不斷談論下去。
.
其實綜合前述對心靈地點的討論,《犬鳴村》揭露了心靈地點的現代性過程,這些被納入公共建設計畫的地方,被掩蓋了過去的、壓抑的集體記憶。而靈異地點之所以成為靈異地點,並且富含傳說故事,也是因為這些公共設施逐漸從都市生活中遠離,被棄置的公共設施,#同時反映著地方消滅與集體記憶續存的社會主義觀點。
.
總體而言,我承認清水崇的作法,或許有更深層次的論述意涵,但說故事的方式,讓電影的深度與恐怖性打了折扣。我還是大推三宅唱在Netflix上扎扎實實的批判,《咒怨之始》就是日本的黑暗史。也期待本片中的伏筆,可以有更巧妙的延伸,也期待其作品《樹海村》可以構成一個系列性的論述。我還是很崇拜清水崇啊~~
.
📒 #參考文獻:
1. 住家正芳. (2004). 宗教的多元性の探究: 宗教社会学における宗教的多元性と世俗化の理論的構図に関する研究 (Doctoral dissertation, 東京大学).
2. 福西大輔. (2019). 現代における橋の怪異と地域社会に関する一考察: 人口流出にともなう 「心霊スポット」 の発生.
3. 鈴木晃志郎, 伊藤修一, & 于燕楠. (2020). 心霊スポットは何と空間的に随伴するのか. In 日本地理学会発表要旨集 2020 年度日本地理学会春季学術大会 (p. 31). 公益社団法人 日本地理学会.
.
📲 #全国心霊マップ心霊まとめサイト:https://ghostmap.net/
grudge netflix 在 horrorclub.net Facebook 的最佳解答
Ju-On Origins กำเนิดโคตรผีดุ (2020-Netflix)
- ดูจบแล้วเหมือนดู The Grudge เวอร์ชันรีเมค คือไม่รู้จะดูไปทำไม ดูจบแล้วก็จบ ไม่มีอะไรให้คิดต่อ ยกเว้นความงงที่มากกว่าเดิม
- ไม่มีคายาโกะผีเบรคแดนซ์ ไม่มีโทชิโอะเด็กเกาเข่า มีแต่บ้านผีดุที่ใครเข้ามาก็จะโดนคำสาป คิดว่าน่าจะเอามาตีความใหม่เลยโดยใช้คอนเซปต์ "ความแค้นของผู้ตายที่ฝังแน่นและพร้อมจะแพร่ต่อให้ผู้มาสัมผัสมัน"
- เล่าเรื่องแบบเวอร์ชันต้นฉบับ ที่เป็นเรื่องราวของตัวละครหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มคือคนที่มาเกี่ยวข้องกับบ้าน แล้วก็ต้องประสบเคราะห์กรรมต่างๆ กันไป
- แต่ไม่มีใครเลยที่โดนผีเล่นงาน จะมีผลกับจิตใจมากกว่าเช่นก้าวร้าวขึ้น ทำอะไรรุนแรงไม่มีเหตุผลมากขึ้น
- ใช้คอนเซปต์ของ "มิติวิญญาณไม่มีกาลเวลา" (แบบเดียวกับที่ต้นฉบับใช้ และจักรวาลหนังอย่าง Conjuring ก็เอาไปใช้" คือบางคนจะเห็นนิมิตของเหตุการณ์ในอดีต บางคนก็ไปซ้อนทับกับเหตุการณ์ในอนาคต นั่นเลยทำให้ยิ่งงงกว่าเดิมเพราะว่าไม่รู้มันจะเห็นไปทำไม
- เรื่องราวจะดำเนินอยู่ในช่วงต้นยุค 90s ซีรีส์ก็ทำเก๋โดยการแทรกพวกเหตุการณ์คดีจริงๆ อย่างเรื่องฆาตกรฆ่าเด็ก หรือคดีเด็กสาวโดนเพื่อนร่วมชั้นกักขังและทำร้าย (คดีจุงโกะสุดหดหู่) เอาไว้ในเรื่องด้วย เหมือนจะบอกว่ามีอะไรเกี่ยวกับบ้านหลังนี้รึเปล่า แต่สุดท้ายก็ไม่ได้มีอะไรสำคัญกับพล็อตหลักเลย
- ถึงจะบอกว่าชื่อ Origins แต่ก็ไม่ได้พูดถึงต้นกำเนิดอะไรจริงๆ จังๆ เลย กล่าวถึงแค่นิดเดียว ไม่ได้ลงรายละเอียดให้กระจ่าง ดันไปโฟกัสเรื่องราวของตัวละครในปัจจุบันมากกว่า
- ไม่มีฉากติดตา ไม่มีผีจับหัวตอนสระผม ไม่มีผีมุดผ้าห่ม มีแต่ฉากรุนแรงอย่างผ่าท้องศพหญิงตั้งครรภ์ หรือฉากนักเรียนถูกข่มขืน ซึ่งก็ไม่ได้รู้สึกติดตาติดใจอะไรเท่าไร
- สรุปก็อย่างที่บอกไปตอนต้น ดูจบแล้วก็ยังงงๆ ว่าจะสื่ออะไรกับเราเหรอ? ถ้าอยากได้เรื่องเล่าแบบหลายไทม์ไลน์ ไปดูต้นฉบับดีกว่า ถ้าอยากได้ประวัติความเป็นมาของบ้านผีดุหลังนี้ ไปอ่านหนังสือดีกว่า
ปล. เพลงตอนจบอย่างหลอน แต่ฟังไปฟังมาเหมือนมันร้องว่า ส้มใครหล่น ส้มใครหล่น แล้วจะฮาทันที 555
grudge netflix 在 偽學術 Youtube 的最讚貼文
自從2016年的《殘穢》後,大概《#犬鳴村》 算是比較符合日式恐怖(j-horror)的電影。這類日式恐怖電影,大概以2000年前後的作品為尚,像是《七夜怪談》、《鬼水怪談》、《咒怨》等等,這些作品用較為緩慢的步驟營造壓抑氛圍,透過日常的家庭空間與生活感,讓幽冥世界與真實世界混合成一個獨特的世界觀。我們就趁著鬼月的到來,談談作為日式恐怖電影翹楚的清水崇,及其最新作品《犬鳴村》,還有日本「#心靈地點」(#心霊スポット)的文化社會學分析。
.
📌 #今天內容有:
.
▶ 恐怖大師清水崇,你累了嗎?
▶ 超有名的「舊犬鳴隧道」都市傳說
▶ 心靈地點的文化社會學考察
▶ 《犬鳴村》的早期恐怖電影口味
▶ 太多揭露就沒有恐怖
▶ 恐怖片裡包裹的社會主義與家庭電影
.
📣 #Firstory 聽這裡:https://open.firstory.me/story/ckdu3i8hvoi4w0880j5qy3bwu?ref=android
.
📣 #Spotify 聽這裡:https://open.spotify.com/episode/6GgjjiOn34FwghnvguK5mN?si=1fpeCODwSnW2x1oB_iSwBw
 ̄ ̄ ̄ ̄
//// 完整論述提供閱讀 ////
.
清水崇導演以2003年的《咒怨》為代表作品,這部作品延伸開展出近20年的恐怖IP(intellectual property),共約有8部,像是續集《咒怨2》,或是外掛的《呪怨 白い老女》(2009)、《呪怨 黒い少女》(2009),近期就像前幾集談到的Netflix《咒怨之始》(2020),還有美國版的《怨咒》(The Grudge, 2020)。算是一個做好做滿的恐怖典範。
.
清水崇或許自己覺得伽耶子看膩了,開始展開新的系列計畫,他以日本知名的「都市傳說」、「心靈地點」為基礎,目前展開《犬鳴村》、《樹海村》兩部電影系列,為「#實錄的恐怖村莊系列」(実録!恐怖の村シリーズ)。犬鳴村,指向「舊犬鳴隧道」的恐怖故事,而樹海村則是關於富士山下自殺森林的都市傳說。兩者都有真實的傳說脈絡,也是認真的「心靈地點」。但是,甚麼是「心靈地點」?
.
▓ #心靈地點的空間考察
.
立命館大學的宗教社會學研究者住家正芳(2004)認為,1970年代是日本心靈主義的源起,傳播媒體上瀰漫著各種預言、幽浮、超自然現象的論述內容,像是電視節目設計了讓民眾投稿心靈寫真的單元。如Giddens所談及的「#後傳統社會」(post-traditional society)的特徵,新興宗教與認同的興起,這類觸及地域認同解離、心靈體驗探索的議題,成為一種流行(福西大輔,2019)。
.
根據「#全日本心靈地圖網站」(全国心霊マップ心霊まとめサイト),截至2019年為止,整個日本共有1690個地點。心靈地點可分類成「隧道」、「廢墟」、「山林」、「墓地」、「病院」、「海川」、「橋」、「學校」、「神社寺院」、「公園」、「其他」等12種,各自依照地點的空間敘事而被產生。鈴木晃志郎等(2020)則展示心靈地點的GIS數據呈現,從研究的分類可以發現,心靈地點時常出現在「社會與經濟弱勢者」、「智能與身體弱勢者」、「廢棄處理設施」、「地形限制設施」等逐漸遠離社會生活的公共空間,例如「舊犬鳴隧道」就反映出水壩設施公共計畫下所犧牲的社會弱勢壓迫與反抗。
.
▓ #舊犬鳴隧道的都市傳說
.
說明一下「舊犬鳴隧道」的恐怖故事吧!犬鳴村位於今天的福岡縣宮若市,如今在地圖上已找不到該村莊,已淹沒入1994年興建的水壩中。此地自古名為犬鳴谷村,不過現在大多數人習慣稱犬鳴村。也因為封村,舊的犬鳴隧道便禁止通行,而隧道中其實還有村民存在的傳說,自此不脛而走:這個犬鳴村一個賤民居住的地方,因為不公平的對待,村民們拒絕與外界有任何接觸,甚至連整府都設立「#前方將不適用大日本帝國憲法」的警告。
.
自此,犬鳴山的各種傳說大量被反覆傳送。漫畫作品、小說、網路鬼話、民眾自製影片,無論虛實真假,都以犬鳴山作為故事背景,創作者們想像著村莊被封閉與限制的各種可能性。像是這裡住著左翼份子、痲瘋病人、遺傳著畸形模樣的村民、被遺忘而淹死的村民,他們與這個地方以一種負面的姿態存在於架空的地理中。雖然實際上來說,根據《#犬鳴鉄山由来書》在江戶時代起,是一個製煤鐵為業的村區。
.
清水崇的《犬鳴村》基本上沿用都市傳說的原型與謠言流傳的架構,講述一家人在去犬鳴村探險後,被村民鬼魂纏上的恐怖故事。被鬼嚇死了人,大都是在日常的居家空間中被「淹死」,這也埋下了「犬鳴村」誕生的因果關係解釋。故事中的女主角森田湊(三吉彩花 飾),在劇中表現優異,為了拯救自己的家人與血脈,深入村莊揭開犬鳴村民慘死於公共開發的暗黑歷史。
.
▓ #符合早期日本恐怖觀眾的味口
.
討論完「操作型定義」:清水崇的電影語言,與心靈地點的概念。就開始進入《犬鳴村》的批評吧。影片開始時,清水崇運用youtuber前往心靈地點的靈異影片「實錄」作為序曲,恐怖氣氛的拿捏非常細膩:攝錄機的晃動鏡頭,幽暗的廢村,youtuber的企劃執著,在在都趕上當下新媒體的潮流,也點明了「心靈地點」的系列主題。
.
遇見不可知、不可見村民攻擊的youtuber,回到家後便發了瘋似了,成天關在房間裡唱著奇怪的歌曲:大水來了,趕快逃。一頭霧水的觀眾,還可以在她的房間裡明顯地看見一張恐怖藝術大師稻川淳二的海報,應該是清水崇向愛講鬼故事的大師致敬。在醫院、家屋、庭院中,不時出現的鬼魂錯視(角落的女人),與汙穢象徵的暗示(尿液),安心與緊張弔詭的共存,讓作品的前半段,相當符合早期日式恐怖觀眾的偏好。
.
▓ #對於未知的恐懼與過度揭露
.
一直到電影中段前,電影中犬鳴村的具體認知,停留在大家所熟知的「封閉的舊犬鳴隧道」,未知的愁雲慘霧、死亡之謎、母親的瘋狂,壟罩在整個情節的推展下。這一直是清水崇在《咒怨》擅長的,就是讓你摸不透鬼到底在想什麼,用力拼湊著故事碎片,還是看不清事物的原貌。更何況「舊犬鳴隧道」的都市傳說原本就沒有一個完整的脈絡解釋,只是片段事件帶來的恐怖想像。
.
可惜很快地,女主角開始解謎,她的敏感體質讓她快速地進入到村莊過去的秘密當中。這些莫名其妙出現的諸多鬼魂,其實就是當年被水壩興建強迫滅村的人口,他們被以很慘忍的方式,囚禁、虐待,並強迫女子與狗交配,生下帶著犬隻血統的人類,最後被大水淹沒在深湖底下,永遠與社會世界隔離。
.
因為鬼魂的可憐身世突然被過度揭露,削弱了村民令人發毛的曖昧性。本來電影最後女主角侵入犬鳴村,與逃脫「犬女」追殺的過程,應該是全片中的關鍵恐怖場景,但卻因為過度的資訊揭露,而毫無緊迫刺激之感。
.
▓ #社會主義與家庭電影的混合
.
可以看的出來,清水崇想要在這系列「實在實錄」的都市傳基礎上,再架構出一個富有完整世界觀與人物關係的敘事整體。一方面他帶著社會主義的價值,控訴著現代性發展的歷史中,被掩蓋的地方與人民,像是 #福島核災被掩蓋與模糊化的事件真實;另方面,他企圖使用家庭電影的手段,透過隱喻的方式,暗示著這些被遺棄的人,並不會真的消失。而都市傳說與恐怖電影的建構,則是讓大眾得以用某種迂迴的途徑,持續讓這個現代性的失落被不斷談論下去。
.
其實綜合前述對心靈地點的討論,《犬鳴村》揭露了心靈地點的現代性過程,這些被納入公共建設計畫的地方,被掩蓋了過去的、壓抑的集體記憶。而靈異地點之所以成為靈異地點,並且富含傳說故事,也是因為這些公共設施逐漸從都市生活中遠離,被棄置的公共設施,#同時反映著地方消滅與集體記憶續存的社會主義觀點。
.
總體而言,我承認清水崇的作法,或許有更深層次的論述意涵,但說故事的方式,讓電影的深度與恐怖性打了折扣。我還是大推三宅唱在Netflix上扎扎實實的批判,《咒怨之始》就是日本的黑暗史。也期待本片中的伏筆,可以有更巧妙的延伸,也期待其作品《樹海村》可以構成一個系列性的論述。我還是很崇拜清水崇啊~~
.
📒 #參考文獻:
1. 住家正芳. (2004). 宗教的多元性の探究: 宗教社会学における宗教的多元性と世俗化の理論的構図に関する研究 (Doctoral dissertation, 東京大学).
2. 福西大輔. (2019). 現代における橋の怪異と地域社会に関する一考察: 人口流出にともなう 「心霊スポット」 の発生.
3. 鈴木晃志郎, 伊藤修一, & 于燕楠. (2020). 心霊スポットは何と空間的に随伴するのか. In 日本地理学会発表要旨集 2020 年度日本地理学会春季学術大会 (p. 31). 公益社団法人 日本地理学会.
.
📲 #全国心霊マップ心霊まとめサイト:https://ghostmap.net/
grudge netflix 在 คอเป็นหนัง Youtube 的精選貼文
***โดเนทเพื่อเป็นกำลังใจในการทำคลิปให้ผมได้นะครับขอบคุณมากคับ
*ผ่าน True Wallet - 0881558463
*ผ่าน พร้อมเพย์ - 0826694927
*ผ่าน True Money - http://bit.ly/2mVhm5z
*ผ่าน Paypal - https://goo.gl/sFbN5j
-----------------------------------------------------------------------------------------------------
เป็นการรีวิวสไตล์บ้านๆของคนชอบดูหนังคนนึงนะครับ ถ้ามีข้อมูลผิดพลาดหรือพูดอะไรไม่ถูกต้องไม่ถูกใจต้องขออภัยด้วยกันไวด้วยนะจ๊ะ. . ....
ติดต่องานรีแอ็คชั่น+โฆษณษณาอื่นๆต่อติดต่อได้ทางเพจ https://www.facebook.com/KorPenNang/
#รีวิวหนัง