【東奧64真相:Tokyo Olympiad (東京オリンピック)】
今晚東京時間八時(香港七時)舉行東京奧運揭幕禮,與之前歐國盃一樣,在這個像被疫情停頓了般的世界時空,名義上仍稱2020年東奧,世人卻身處2021年,與其自欺說是new normal,實是有種身不由己,失去自由的感覺。至今晚還有半天,介紹大家趁這幾小時上網觀看這部當年東奧特別找名導演市川崑拍攝的官方紀錄片,get in the mood 吧!
市川崑固然是上世紀日本最著名導演之一,但據說日本奧委會當時首選導演是黑澤明,不過,黑澤大導要求完全百分百創作自由,東奧委會怕了,找了市川崑,不過市川大導「俾面」都只是多些少,畢竟他自己成名作品中不乏爭議題目之作,這次亦不是為了拍一部歌功頌德、集中勝利者的祝賀式紀錄片,而是從人性角度,把這「東奧64真相」,呈現出來。
結果,紀錄片得到一致讚賞,甚至被後世列為「1001部一生必看電影」[1] 中少數紀錄片之一,不過,多年來亦曾被剪輯為多個不同版本,有些cut了幾乎一半,當中最方便大家今天找來看的,可以在奧委網站的原裝超過2小時45分鐘的原日文版,或在YouTube官方奧運頻道上的英文2小時版本。我推介日文版,原汁原味但數碼修復,有多國語言字幕,而英文版除了cut短,旁述似乎亦被簡化,略去不少。
日文版:https://olympics.com/en/video/tokyo-1964-official-film
英文版:https://www.youtube.com/watch?v=WHt0eAdCCns
市川大導從片中第一個shot,已經有他的話兒要說。好一個白色太陽在一個紅色背景上,似是代表日本「日出之國」,但顏色卻把日本國旗反轉了,鏡頭一轉,變成一個黑色大鐵球wrecking ball,把一棟一棟的舊建築物破壞、擊毀、拆除,片中最先出現的人,不是奧委會主席,不是日皇,不是運動員,是一個表情茫然的建築工人。當鏡頭一直破壞,旁白卻「正經」而且抽離地,逐一讀出每屆奧運會主辦城市的名字。
這短短一幕,令我不禁想起之前為大家介紹過的柳美里作品 《JR上野駅公園口》(Yu Miri: "Tokyo Ueno Station") [2] ,這本呼應1964和2020東京奧運會,描寫弱勢社群的小說。
鏡頭再轉,全球聖火傳遞由希臘雅典開始,片段包括途經香港,而當聖火在飛機上飛向日本第一站的廣島,首個影像就是廣島原爆圓頂樓(廣島原爆ドーム,Genbaku Dōmu),也許是表達和平、反戰,和重生?
當年的奧運會,原來是在「雙十」十月十日當地下午二時舉行開幕禮,是十月,而非現在的夏季奧運會的七、八月。下午二時,也許是因為晚上燈光照明未及現在高明,要在天黑前完成典禮吧,而當年電視尚未普及,而奧運一向亦不特別遷就美國主要電視直播市場的時區,事關日本下午二時,北美東岸是半夜一點。不過今年的日本晚上八時,香港固然方便,對歐洲時區還好,美國東岸卻是早上七時,西岸更是半夜四時,不利收視了。
從片中看到開幕禮出場運動員的衣服設計,蠻是有趣,因為多數西方國家的女子制服,很像當年的航空公司空姐啊!而當年仍以歐美國家代表團人數最多,普遍都是白人面孔,一些非洲國家代表團只得幾個人,但有趣的是,東、西德原來早已聯合參賽(雖然德國在1990年才真正統一),這早已忘記了(冷知識,原來德國聯隊協調用上的「國歌」是貝多芬第九交響樂!);另外,鏡頭出現「台灣」數十人代表團(英文卻是ROC),還有「南越」(不是越南)和南韓(可惜卻沒有播出北韓當年首次參加奧運代表的片段)。當年祖國和黨還在忙別的事情,沒有參加,可以理解。
再想今晚的開幕禮,人數因疫情將大幅減少,實在可惜。
奧運是運動會,紀錄片當然花最多的時間和片段介紹各項比賽,而佔最多篇幅的,不意外是田徑部分。男子100米美國選手以十秒正完成,平了世界紀錄;英國美少女選手Ann Packer意外地在最後段後來居上勝出800米跑,過終點後直衝向她的未婚夫兼隊長擁抱親吻(兩人今天已八十歲)....日文版的確比較原汁,片段較完整,包括多些選手受傷和落敗者的片段,應該也是導演原意。十月天時,有些項目要在雨中比賽,只得攝氏十多度,而導演在鏈球雨中比賽用上黑白菲林拍攝,捕捉獨特氣氛。導演後段在拳擊部分亦用上黑白菲林,像後來馬田史高西斯的經典拳擊電影《狂牛》,也許是英雄所見略同吧!
田徑後有體操項目,當年仍是白人選手為主,亞洲體操運動員中,除了日本男子隊,尚未上位,就是游泳項目片段中,還是美國代表為首,而當澳洲選手勝出時,當年播出的國歌,仍是採用英國國歌「個個揸住個兜」。其他出現的賽事片段,還有舉重、摔角、劍擊、射擊、馬術、足球、曲棍球、籃球、水球、划艇、風帆、競步等。
此外,較特別的還有穿過美麗日本郊外田野的公路單車賽,和男子柔道決賽,6'5"的荷蘭選手擊敗了「細一個碼」5'9"的日本選手,在日本柔道主場擊敗日本選手,固具特別意義,但這位荷蘭冠軍獲勝後仍保持頭腦清醒,鏡頭見他走向場邊揮手示意,原來是叫隊友們守日本規矩,不要踩上柔道蓆慶祝,以示尊敬,可敬。
不知道是否導演總有點偏心,播出美國選手勝出的最多,雖然他們當時亦是獎牌榜之首,但實在比第二位的蘇聯出鏡多太多,美國國歌也播多很多次了。日本當年在獎牌榜排第三,以主辦國而言導演主要只在體操等對他們落墨較多,另外就是首次成為奧運項目的女排決賽,日本對蘇聯,當然是瘋魔一時的東洋魔女最後勝出!
導演最後花上較多時間在最後的比賽項目,當然是馬拉松!那個閉幕前又熱又潮濕的下午,跑手經過橋底時,頭上還有火車經過,而萬人空巷的東京街頭,不乏分別身穿小黑帽和水手服的制服男女中學生,看得有趣。而在比賽部分,導演特別描繪不支退出比賽的選手的失望和痛苦、落敗選手在完成後脫下跑鞋的傷勢。
紀錄片中段有一段關於非洲小國乍得(Chad)選手的特寫,是日本版才有,在英文版被剪走的部分。喜歡電影的,欣賞本片時會留意導演拍攝手法的流暢、取鏡角度的多元、配樂的細緻、氣氛的掌握,他應該在have fun,我們觀眾也enjoy!
最終,一如傳統,閉幕禮各國選手「撈亂」進場,可惜今屆又是因為疫情可能只找些代表算了。本片中,紅日落下,1964年的選手閉幕派對,銀幕打出SAYONARA,天上煙火,奧運火焰熄滅,好樣我們預先重溫這今屆可能將會的失落。
結束前,導演分享了以下詩句:
(英文版)
"Night,
And the fire returns to the sun
For humans dream thus only once
Is it then enough for us
This infrequent, created peace?" (英文有點怪)
(日文版中的英文字幕)
"The sacred flame returns
Humans share a dream every four year
Is it enough for this peace
To be merely a dream?"
(我嘗試綜合翻譯)
「晚上,
聖火回歸太陽
人們四年才一次同夢
這和平足夠嗎?
還是不過一場夢?」
最後一個shot,是個空空如也的場館,場中剩下最後一人的工作人員。市川大導,最後都要玩一玩嘢,幽奧委會一默。
最後一提,今屆東奧找了近年多部傑出作品的女導演河瀨直美(《甜味人間》、《光》、《晨曦將至》等)執導2020東奧的紀錄片,珠玉在前,但要表達這沒有觀眾的奧運,又要反映疫情下的困境、無助、希望、重生,挑戰極大,亦令人格外預望!
#TokyoOlympiad #東京オリンピック #市川崑
#東奧1964 #東奧2020
#光影評 #影評 #電影 #電影介紹
Note:
[1] https://en.wikipedia.org/wiki/1001_Movies_You_Must_See_Before_You_Die
[2] https://www.facebook.com/CharlesMokOffice/posts/348050616677454
同時也有20部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅ブライ即ラボ,也在其Youtube影片中提到,なぜか動画が日をまたいだ男、ピラウ。 高火力、高耐久、SP消費なしのハイスペックだが モーションや快適さが欠点。 自由に動ける時間がないというか、あまりアクションぽくないというか SPが低い方が強いので、わざと衰弱を食らって調整できる、SP減少系の対策が一切いらない、消費SPも気にしなくていいとい...
horizon wiki 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的精選貼文
ขอบฟ้าเหตุการณ์ และ cosmic censorship hypothesis
*******************
ขอบฟ้าเหตุการณ์ และ cosmic censorship hypothesis(2/6)
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของซีรีส์บทความ 6 ตอน ที่เราจะมาทำความรู้จักกันกับทฤษฎีที่เกี่ยวกับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี 2020 ที่มอบให้แก่ Roger Penrose, Reinhard Genzel และ Andrea Ghez หรือเรื่องที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับผู้ได้รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปีนี้ โดยจะมีอยู่ด้วยกันหกตอน ได้แก่
1. ซิงกูลาริตี้ หรือสภาวะเอกฐาน[5]
2. ขอบฟ้าเหตุการณ์ และ cosmic censorship hypothesis
3. ปริภูมิเวลาของดาวฤกษ์ที่ยุบตัวลงเป็นหลุมดำ
4. หลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก
5. สามเหลี่ยมเพนโรส
6. กระเบื้องเพนโรส
*******************
การมีอยู่ของซิงกูลาริตี้นั้นสร้างปัญหาพอสมควรให้กับนักฟิสิกส์ เนื่องจากซิงกูลาริตี้เป็นบริเวณที่ฟิสิกส์ทั้งมวลที่เรารู้จักอยู่สิ้นสุดลง และเรายังไม่มีทฤษฎีที่จะอธิบายในระดับนั้นได้ หากเราสามารถสังเกตซิงกูลาริตี้ได้โดยตรง (เรียกว่าซิงกูลาริตี้แบบเปลือย หรือ naked singularity) จะหมายความว่าเราจะสามารถสังเกตเห็นมวลสารที่กำลังถูกบีบอัดเข้าสู่ความหนาแน่นเป็นอนันต์ได้ ซึ่งจะเป็นปัญหาเป็นอย่างมากต่อทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป เนื่องจากทฤษฎีสัมพัทธภาพนั้นยังไม่สามารถทำนายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในบริเวณใกล้ซิงกูลาริตี้ได้ ซึ่งอาจจะนำไปสู่สิ้นสุดของความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล (causality) ที่เรารู้จักกัน
สิ่งที่ Roger Penrose เสนอในปี 1969 ก็คือ ทุกๆ ซิงกูลาริตี้ที่เกิดขึ้นในเอกภพ จะต้องมีสิ่งที่เราเรียกกันว่า “ขอบฟ้าเหตุการณ์” (Event Horizon) ห่อหุ้มเอาไว้เสมอ ดังที่กำหนดเอาไว้ในสมมติฐานที่เรียกว่า cosmic censorship hypothesis
ภายใต้สมมติฐานนี้ จะไม่มีทางที่ผู้สังเกตใดจะสามารถสังเกตซิงกูลาริตี้ได้ เนื่องจากขอบฟ้าเหตุการณ์จะต้องห่อหุ้มเอาไว้เสมอ นี่คือสิ่งที่เราพบในภาพของหลุมดำที่อยู่ในใจกลางของ M87 ที่ถูกบันทึกเอาไว้โดยทีมของ EHT[3]
ขอบฟ้าเหตุการณ์ที่ห่อหุ้มซิงกูลาริตี้เอาไว้ จะแบ่งกาลอวกาศภายในออกจากภายนอกซิงกูลาริตี้โดยสิ้นเชิง ทำให้แสงใดๆ ที่เกิดขึ้นภายในจะไม่สามารถออกไปสู่ผู้สังเกตที่อยู่ภายนอกได้ นอกไปจากนี้ ขอบฟ้าเหตุการณ์จะทำให้แสงสุดท้ายของดาวฤกษ์ที่ยุบตัวลงไปเป็นหลุมดำ ถูกหยุดเวลาเอาไว้ในขณะที่พื้นผิวสุดท้ายของดาวฤกษ์กำลังข้ามขอบฟ้าเหตุการณ์ และผู้สังเกตภายนอกจะไม่สามารถสังเกตเห็นดาวฤกษ์ยุบตัวลงข้ามขอบฟ้าเหตุการณ์ได้จนกว่าจะถึงเวลาเป็นอนันต์
แม้ว่าในทางทฤษฎีแล้ว มีความเป็นไปได้ที่หลุมดำที่หมุนด้วยความเร็วสูงเพียงพออาจจะทำให้เกิด naked singularity ได้[4] แต่อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันเรายังไม่มีข้อบ่งชี้ใดว่า naked singularity นั้นมีอยู่จริงในเอกภพ
ภาพ: หลุมดำที่ถูกห่อหุ้มเอาไว้ด้วยขอบฟ้าเหตุการณ์ จะปรากฏเป็นทรงกลมสีดำที่ถูกห้อมล้อมเอาไว้ด้วยภาพของมวลสารที่กำลังตกลงสู่หลุมดำ เป็นวงซ้อนๆ กัน เนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงเบนเส้นทางเดินของแสงเอาไว้คล้ายกับเลนส์ทำให้แสงจากวงแหวนวงเดิมสามารถวนรอบๆ ขอบฟ้าเหตุการณ์ได้หลายครั้งก่อนที่จะมาถึงผู้สังเกต ภาพโดย NASA’s Goddard Space Flight Center/Jeremy Schnittman
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.nobelprize.org/prizes/physics/2020/popular-information/
[2] https://en.wikipedia.org/wiki/Cosmic_censorship_hypothesis
[3] https://eventhorizontelescope.org/press-release-april-10-2019-astronomers-capture-first-image-black-hole
[4] https://authors.library.caltech.edu/87494/1/PhysRevLett.66.994.pdf
[5] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/1430982597111942/
horizon wiki 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最佳解答
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี 2020
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี 2020 นี้ได้แบ่งออกเป็นสองส่วน โดยครึ่งแรกนั้นมอบให้กับ Roger Penrose ที่ได้ค้นพบว่า “กระบวนการกำเนิดของหลุมดำนั้นสอดคล้องและยืนยันถึงทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป” อีกครึ่งหนึ่งนั้นแบ่งกันระหว่าง Reinhard Genzel และ Andrea Ghez เนื่องจาก “การค้นพบวัตถุความหนาแน่นสูงมีมวลยิ่งยวดบริเวณใจกลางกาแล็กซีของเรา”
Roger Penrose นั้นเป็นนักคณิตศาสตร์ฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ และนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ที่ได้สร้างผลงานไว้เป็นจำนวนมากเสียจนไม่สามารถอธิบายไว้ใน ณ ที่นี้ได้ทั้งหมด ในปี 1954 Roger Penrose ได้พบกับผลงานของจิตกร M. C. Esher ที่โด่งดังจากการวาดภาพสิ่งของที่เป็นไปไม่ได้ แรงบันดาลใจที่ได้จากการชมผลงานนี้ผลักดัันให้ Roger Penrose ได้สร้าง “Penrose Triangle” ขึ้นมา[3] และเขากับพ่อของเขาได้ร่วมกันคิดค้น “Penrose Stairs”[4] บันไดที่เป็นไปไม่ได้ที่สามารถขึ้นลงได้ไม่มีที่สิ้นสุด ภายหลังจากที่จิตกร M. C. Esher ได้ทราบถึงผลงานของพ่อลูกทั้งสองนี้จึงบันดาลใจให้เขาผลิตผลงานที่โด่งดังที่สุดของ M. C. Esher, “Ascending and Descending” ภาพบันไดลวงตาที่สามารถขึ้นหรือลงได้ไม่มีที่สิ้นสุด ที่ถูกนำไปกล่าวถึงแม้กระทั่งในภาพยนต์ยุคปัจจุบันอย่าง Inception
นอกจากนี้ Roger Penrose ยังได้สร้างผลงานการค้นพบทางคณิตศาสตร์อีกเป็นจำนวนมาก ตั้งแต่เมทริกซ์ Moore-Penrose inverse ไปจนถึง Penrose tiling หรือกระเบื้องสองชิ้นที่สามารถ “ปู” เต็มพื้นราบได้โดยรูปแบบที่ไม่มีการซ้ำ และเป็นรูปทรงการปูพื้นระนาบรูปแรกที่มีสมมาตรห้าส่วน (five-fold symmetry)[6] ซึ่งถูกค้นพบภายหลังในธรรมชาติในรูปของ quasicrystal
อย่างไรก็ตาม ผลงานชิ้นหนึ่งของ Roger Penrose ที่อาจจะผลักดันวงการวิทยาศาสตร์ได้มากที่สุด ก็คือผลงานของเขาในทางด้านเกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพ และหลุมดำ ในปี 1969 Penrose ได้ค้นพบ cosmic censorship conjecture ว่า singularity หรือสภาวะเอกฐานในเอกภพใดๆ ก็ตาม จะต้องถูกห่อหุ้มไปด้วยขอบฟ้าเหตุการณ์ (Event Horizon) ทำให้ผู้สังเกตไม่สามารถสังเกตเห็น singularity ได้ ซึ่งนำไปสู่การตั้งชื่อของวัตถุนี้ว่า “หลุมดำ”
ส่วนอีกครึ่งหนึ่งของรางวัลโนเบลในปีนี้ ได้มอบให้แก่ Reinhard Genzel และ Andrea Ghez นักดาราศาสตร์สังเกตการณ์ที่ได้ทำการติดตามดาวที่โคจรรอบใจกลางของกาแล็กซีของเรา ในบริเวณที่เรียกว่า Sagittarius A* (Sgr A*)[7] และได้ค้นพบว่าดาวฤกษ์ที่โคจรรอบใจกลางของกาแล็กซีของเรานั้นกำลังโคจรด้วยอัตราเร็วที่สูงเกินกว่าจะเป็น และจากการคำนวณพบว่าวัตถุที่มันโคจรรอบๆ อยู่ หรือ Sgr A* นั้นจะต้องมีมวลไม่ต่ำกว่าสี่ล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกจำกัดอยู่ในปริมาตรที่มีรัศมีเพียง 6.25 ชั่วโมงแสง หรือเทียบเท่าเพียง 45 เท่าของระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งนำไปสู่การค้นพบวัตถุความหนาแน่นสูงมวลยิ่งยวดที่สุดวัตถุหนึ่งในเอกภพ ในปัจจุบันนี้หลักฐานทุกอย่างบ่งชี้ว่าวัตถุ Sgr A* นี้เป็นหลุมดำมวลยิ่งยวดที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งตั้งอยู่ ณ ใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.nobelprize.org/prizes/physics/2020/summary/
[2] https://en.wikipedia.org/wiki/Roger_Penrose
[3] https://en.wikipedia.org/wiki/Penrose_triangle
[4] https://en.wikipedia.org/wiki/Penrose_stairs
[5] https://en.wikipedia.org/wiki/Ascending_and_Descending
[6] https://en.wikipedia.org/wiki/Penrose_tiling
[7] https://en.wikipedia.org/wiki/Sagittarius_A*
horizon wiki 在 ブライ即ラボ Youtube 的精選貼文
なぜか動画が日をまたいだ男、ピラウ。
高火力、高耐久、SP消費なしのハイスペックだが
モーションや快適さが欠点。
自由に動ける時間がないというか、あまりアクションぽくないというか
SPが低い方が強いので、わざと衰弱を食らって調整できる、SP減少系の対策が一切いらない、消費SPも気にしなくていいという他キャラにはない長所もある。
SP制限の厳しい場面では頼れる男!
あとピラウはピラフの語源(Wiki調べ)
【ラナウェイ・ホライゾン火力検証】
シロー:https://youtu.be/jwqkCuDidcc
┗モチーフ武器:https://youtu.be/Fxdjthlm4ZM
┗やみなべ:https://youtu.be/KCqKwQSInVA
クロカ:https://youtu.be/C7HBf7_KdoI
┗モチーフ武器:https://youtu.be/AA5BhrWjJUw
┗やみなべ:https://youtu.be/VAhKQxs4zsE
ペルマナ:https://youtu.be/TOGcztgYFqU
┗モチーフ武器:https://youtu.be/bXtXCOd8UCo
┗やみなべ:https://youtu.be/bCwiXcFk9_0
ピラウ:https://youtu.be/8RAyKPfhmHo
┗モチーフ武器:https://youtu.be/s-JOaqZV9Zc
┗やみなべ:https://youtu.be/_ayZ756mSjE
【ガンバッター石板の解説】
https://youtu.be/87eYUkwyYVM
【ガチャ】
ライブ:https://youtu.be/J_yFn_ZMGfs
動画:https://youtu.be/LbvnM2X4EaQ
プレチケ:
【ラナウェイ・ホライゾンの再生リスト】
https://www.youtube.com/playlist?list=PLcZ4VMMuQzt-G0DwetGZ6qRgGtpYgJB6f
【継続火力・最強ランキング3】
https://youtu.be/dSRgl9bmtAI
【全11職の基本操作】
https://youtu.be/ivXlCUccPWI
【会心の重要さ解説】
https://youtu.be/KWahEIc-g84
【火力検証の再生リスト】
https://www.youtube.com/playlist?list=PLcZ4VMMuQzt96hvEhEzny3MUZh1r_3C2C
【パラメータ調整の再生リスト】
https://www.youtube.com/playlist?list=PLcZ4VMMuQzt_5dYhigPqai9EBVYN3XzPI
【ガチャ動画の再生リスト】
https://www.youtube.com/playlist?list=PLcZ4VMMuQzt_Xh6Ce9bYxKu4kNeHVrKpR
【チャンネル登録】 https://www.youtube.com/channel/UCK-AbvRzENVRkQ_Id70HrAg?sub_confirmation=1
【Twitter】 https://twitter.com/bry_favor
【スポンサー登録】 https://www.youtube.com/channel/UCK-AbvRzENVRkQ_Id70HrAg/join
※毎月490円でスポンサーとして僕を支援出来る機能です。
#白猫プロジェクト #ピラウ #ラナウェイホライゾン
horizon wiki 在 真電玩宅速配 Youtube 的最佳解答
從1983年開始舉辦的金搖桿獎,在電玩史中可說是歷史悠久了。特色是由大眾投票來決定獎項,因此被視為重要的人氣指標。那麼這次有哪些遊戲得獎呢?最佳PS遊戲由《地平線:期待黎明》獲得,另外還贏得了最佳敘事與最佳演出獎項,為主角配音的聲優也因為表現突出而獲個人突破獎項。
可惜,《地平線:期待黎明》雖然表現不俗,但與任天堂強作《薩爾達傳說:荒野之息》強碰,《薩爾達傳說》不僅獲得最佳任天堂獎項,還有評審獎與最佳音效獎,年度遊戲大獎當然也就順便收下囉,任天堂企劃製作本部也因此獲選為年度最佳工作室。《絕地求生》則獲得最佳PC與最佳連線遊戲獎。而最佳Xbox遊戲是由《Cuphead》這款難倒許多玩家的動作遊戲獲得。
另外今年新增的電競獎項則由《鬥陣特攻》大獲全勝,年度最佳電競遊戲、最佳隊伍與最佳選手都出自《鬥陣特攻》,最佳選手的源氏有多神呢?眼睛不要眨,準備看好囉,3、2、1。
更多獎項細節,請參考Youtube影片敘述的連結,電玩宅速配,我們下次再見囉。
https://en.wikipedia.org/wiki/Golden_Joystick_Awards
(C)GamesRadar
「電玩宅速配」粉絲團:https://www.facebook.com/tvgamexpress
「美女愛玩Game」節目:http://bit.ly/1Qwt7S3
休閒平台:http://myfun.gamedb.com.tw
遊戲庫粉絲團:http://www.facebook.com/Gamedbfans
horizon wiki 在 くまベアー Youtube 的精選貼文
PCゲーム Steam 宇宙 ストラテジー 【Stellaris】 Paradox Interactive
銀河統一を目指して資源を掘り、研究を行い、外交をする。
時には戦争して、またあるときは土下座外交も積極的に。
宇宙SFストラテジー 【Stellaris】
新米総統がとりあえず宇宙に進出してみたが未確認生命体は予想以上に多い!!!
手探りで宇宙を漂流する『くま総統』の未来は!?
wiki
https://stellariswiki.info/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
・DLC
Horizon Signal
Leviathans Story Pack
Plantoids Species Pack
Utopia
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
・BGM
OK-Sounds『自然の導き』
http://dova-s.jp/_contents/author/profile145.html
------------------------------------------------------------------------------------------------------------