ทำไม สหรัฐอเมริกา จึงเป็นประเทศแห่ง อุตสาหกรรมไอที ? ตอนที่ 2 /โดย ลงทุนแมน
“ซิลิคอนแวลลีย์ไม่ใช่สถานที่ แต่เป็นวิธีคิด”
คำกล่าวของ Reid Hoffman ผู้ก่อตั้ง LinkedIn แพลตฟอร์มเครือข่ายธุรกิจในการหางานและผู้ร่วมงาน ที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตซิลิคอนแวลลีย์
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ในแง่สถานที่ ซิลิคอนแวลลีย์ คือ พื้นที่หุบเขาราว ๆ 1,500 ตารางกิโลเมตร บริเวณรอบอ่าวซานฟรานซิสโก ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา
ซิลิคอนแวลลีย์ประกอบไปด้วยเมืองน้อยใหญ่ ที่ล้วนเป็นสถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเหล่าบริษัทไอทีชั้นนำระดับโลก โดยมีจุดเริ่มต้นมาจากคำว่า “ซิลิคอนชิป” ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญที่เป็นหน่วยความจำของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ส่วนในแง่วิธีคิด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดปลูกฝังการศึกษาด้านอิเล็กทรอนิกส์ให้งอกงาม ไปพร้อม ๆ กับการพัฒนากระบวนการผลิตนักศึกษาให้เป็นนักธุรกิจ
จนนำมาสู่การก่อตั้งบริษัทไอทีระดับโลกแห่งแรกในซิลิคอนแวลลีย์ คือ Hewlett Packard (HP)
หลังจากนั้น หุบเขาแห่งนี้ก็เบ่งบานไปด้วยบริษัทไอที ดึงดูดนักประดิษฐ์และผู้คลั่งไคล้เทคโนโลยีจากทั่วโลก ให้เข้ามาสานฝันให้กลายเป็นความจริง
และเมื่อมี “วิธีคิด” ช่วยส่องสว่าง นวัตกรรมทุกอย่างก็จะมีหนทางไป..
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม สหรัฐอเมริกา จึงเป็นประเทศแห่ง อุตสาหกรรมไอที ? ตอนที่ 2
ด้วยอาณาบริเวณกว้างใหญ่รอบอ่าวซานฟรานซิสโก ต้นน้ำแห่งนวัตกรรมของซิลิคอนแวลลีย์จึงไม่ได้มีแค่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดเท่านั้น
แต่เหนือขึ้นมาราว 50 กิโลเมตร ยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลกอีกแห่งหนึ่ง นั่นคือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบิร์กลีย์
มหาวิทยาลัยแห่งนี้ก่อตั้งในช่วงเวลาไล่เลี่ยกับมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และสร้างนักประดิษฐ์ วิศวกร ไปจนถึงผู้ประกอบการชั้นยอดมากมาย มาประดับวงการไอที
หนึ่งในนั้นคือ Fred Moore ผู้ก่อตั้งสมาคมคอมพิวเตอร์โฮมบรูว์ สมาคมที่เป็นสถานที่นัดพบของผู้คลั่งไคล้ในโลกของเทคโนโลยี เป็นที่แลกเปลี่ยนทางความคิด
โดยความปรารถนาสูงสุดของผู้คนในสมาคมนี้ คือการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขึ้นมาเอง
ในช่วงปี 1975 ที่มีการก่อตั้งสมาคมแห่งนี้
ความสำเร็จของการประดิษฐ์ “ไมโครโพรเซสเซอร์” ที่ย่อส่วนแผงวงจรรวมจำนวนมากเข้ามาอยู่ด้วยกันในชิปขนาดเล็ก
ทำให้ขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์จากที่มีขนาดใหญ่โตเท่าห้อง มีขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ ราคาก็ถูกลงเรื่อย ๆ และด้วยหน่วยความจำที่มากขึ้น ความสามารถในการทำงานจึงสูงขึ้นและรวดเร็วขึ้นเป็นทวีคูณ
Steve Wozniak นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ได้ชักชวนเพื่อนสมัยมัธยมที่ชื่อ Steve Jobs ให้มาเข้าร่วมสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งนี้..
Steve Wozniak เป็นผู้คลั่งไคล้ในวิศวกรรมและมีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้น เคยทำงานให้กับ Hewlett Packard
ส่วน Steve Jobs เป็นผู้มีหัวการค้า มีนิสัยกล้าคิดกล้าทำ เขาเคยทำงานให้กับบริษัทสร้างวิดีโอเกมชื่อ Atari และเคยทำงานในช่วงฤดูร้อนให้กับ Hewlett Packard ด้วยเช่นกัน
Wozniak ได้นำความรู้และประสบการณ์มาทดลองออกแบบคอมพิวเตอร์ด้วยแนวทางของตัวเอง โดยใช้ชิปเท่าที่จะหาได้ มาประกอบกับคีย์บอร์ด QWERTY และมีจอโทรทัศน์เป็นเครื่องแสดงผลในช่วงแรกเริ่ม
และเมื่อออกมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล Jobs ก็เป็นผู้เสนอความคิดให้ลองนำสิ่งประดิษฐ์นี้ออกวางขายในเวลาต่อมา
ผลงานการประดิษฐ์ชิ้นนั้นของ Wozniak ถือเป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะรุ่นแรก ๆ ของโลก เครื่องคอมพิวเตอร์นี้ถูกตั้งชื่อต่อมาว่า “Apple I”
สิ่งสำคัญไม่แพ้การสนับสนุนจากสถาบันการศึกษาก็คือ “เสรีภาพทางความคิด”
ซิลิคอนแวลลีย์ มีสมาคมมากมายที่เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนทางความคิด นำเสนอไอเดีย จึงกลายเป็นวัฒนธรรมที่หล่อหลอมให้คนรุ่นใหม่กล้าคิดกล้าทำ และเติบโตไปบนหนทางสร้างสรรค์ที่ตัวเองตั้งใจ
คอมพิวเตอร์ของ Wozniak ก็ถูกนำเสนอแก่สายตาสมาชิกในสมาคมโฮมบรูว์ในช่วงปลายปี 1975 ซึ่งหนึ่งในผู้เข้ามาร่วมชม คือ เจ้าของร้าน The Byte Shop ร้านขายของเบ็ดเตล็ดและอุปกรณ์ไอที
ที่เกิดความประทับใจกับคอมพิวเตอร์ชิ้นนี้มาก จึงได้สั่งซื้อคอมพิวเตอร์นี้ถึง 50 เครื่อง
แล้วก้าวแรกของบริษัท Apple ก็เริ่มต้นขึ้นในเมืองคูเปอร์ติโน ทางตอนใต้ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ในอีก 1 ปีถัดมา..
ใครจะไปเชื่อว่า จากบริษัทเล็ก ๆ ที่มีผู้ก่อตั้งเป็นผู้คลั่งไคล้เทคโนโลยี 2 คน
ในปี 1980 หลังการก่อตั้งเพียง 4 ปี บริษัทสามารถเติบโตจนเข้าระดมทุนในตลาดหุ้นในฐานะบริษัทมหาชนได้สำเร็จ และได้กลายเป็นบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุดในโลก ในตอนนี้..
เมื่อมีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแล้ว อีกหนึ่งก้าวสำคัญของซิลิคอนแวลลีย์ ก็เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 1970s
นั่นก็คือ จุดเริ่มต้นของ “อินเทอร์เน็ต”
เมื่อบริษัทไอที ชื่อ Xerox ได้จัดตั้งศูนย์วิจัยในเมืองพาโล อัลโต ไม่ไกลจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ชื่อว่า Xerox Palo Alto Research Center หรือ Xerox PARC
Xerox PARC ได้เริ่มพัฒนาเทคโนโลยีเชื่อมต่อ จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ในยุคแรกที่มีชื่อว่า ระบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet)
อีเทอร์เน็ต ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1973 โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์ ผ่านเครือข่ายบริเวณระยะใกล้ หรือเครือข่าย LAN (Local Area Network)
ต่อมาในปี 1978 Vint Cerf ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ได้ร่วมมือกับ Bob Kahn พัฒนาโพรโทคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
ซึ่งโพรโทคอลที่ว่านี้ คือชุดของขั้นตอนและกฎระเบียบ ทำให้ภายในชุดกฎระเบียบเดียวกัน ทั้ง 2 เครื่องจะสามารถเข้าใจระบบของกันและกัน และสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้
โดยเฉพาะเลข Internet Protocol (IP) ที่เป็นการปูรากฐานให้กับโลกของอินเทอร์เน็ต
อุปกรณ์ทุกชนิดที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตจะต้องมีเลขนี้ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ บนระบบเครือข่ายรู้จักกัน โดย IP จะระบุว่า เครือข่ายต่าง ๆ ควรเชื่อมโยงกันอย่างไร
เมื่อโลกอินเทอร์เน็ตถูกปูรากฐาน ต่อมาในยุค 1980s ก็เป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้ทรงประสิทธิภาพมากขึ้น
Doug Engelbart นักวิจัยจากสถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ได้มาทำงานให้ PARC และได้พัฒนาระบบส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ หรือ Graphic User Interface (GUI)
จากคอมพิวเตอร์รุ่นแรก ๆ ที่ใช้งานยากและต้องใช้งานผ่านตัวอักษร
ระบบ GUI ได้เข้ามาช่วยเปลี่ยนการใช้งานให้ง่ายขึ้นผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพ เช่น ไอคอน หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก รวมถึงการพัฒนา “ตัวชี้ตำแหน่ง X-Y” ซึ่งต่อมาก็คือ “เมาส์”
ทั้งระบบ GUI และเมาส์นี่เอง ที่เป็นแรงบันดาลใจให้ Steve Jobs นำสิ่งเหล่านี้มาพัฒนาและเกิดเป็น “Macintosh” ในปี 1984 ซึ่งถือเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเครื่องแรก ๆ ที่มีการออกแบบอย่างเข้าใจผู้ใช้งาน
ในเวลานี้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลก็เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ
ครัวเรือนชาวอเมริกันที่ครอบครองคอมพิวเตอร์เพิ่มจากร้อยละ 5 ในช่วงต้นทศวรรษ 1980s
มาเป็นร้อยละ 20 ในปี 1989
โลกอินเทอร์เน็ตถูกเชื่อมโยงเข้ากับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเปิดทางให้เกิดการพัฒนา World Wide Web ในช่วงปี 1989 ซึ่งมีจุดเริ่มต้นเมื่อ นักวิทยาศาสตร์ของสถาบันวิจัย CERN ในสวิตเซอร์แลนด์ ต้องการส่งข้อมูลให้กับเพื่อนนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก
World Wide Web, WWW คือ ระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลหนึ่ง ไปยังแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลทั่วโลก ให้มีความง่ายต่อการใช้งานมากที่สุด
โดยผ่านซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า “เบราว์เซอร์”
แล้ว “สาธารณชน” ในยุค 1990s ก็เข้าถึงโลกอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรก!
สหรัฐอเมริกากลายเป็นประเทศที่มีผู้เข้าถึงอินเทอร์เน็ตสัดส่วนสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ในปี 1996 มีชาวอเมริกันเข้าถึงอินเทอร์เน็ตสูงถึงร้อยละ 16
ในขณะที่หลายประเทศในยุโรปตะวันตกยังเข้าถึงอินเทอร์เน็ตไม่ถึงร้อยละ 5
การเกิดขึ้นของ World Wide Web ทำให้ย่านซิลิคอนแวลลีย์เริ่มคึกคักไปด้วยบริษัทที่มีโมเดลทำรายได้ผ่านอินเทอร์เน็ต ที่ถูกมองว่าเป็นนวัตกรรมแห่งอนาคต ขึ้นมามากมาย
และสิ่งสำคัญที่สุด ที่มีมาตั้งแต่การก่อตั้งบริษัทไอทีในยุค 1950s คือ ธุรกิจเงินร่วมลงทุน หรือ Venture Capital ดึงดูดให้บริษัทสตาร์ตอัปมากมาย หลั่งไหลเข้ามาใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบเหล่านี้
นักศึกษาปริญญาเอกสาขาคอมพิวเตอร์จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด 2 คน
คือ Larry Page และ Sergey Brin ได้ร่วมกันพัฒนาโปรแกรมสำหรับใช้ค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตในรูปแบบของ Search Engine
โดยใช้การทำงานของ Robot ที่ชื่อว่า Spider ซึ่งเป็นตัวสำรวจข้อมูล เมื่อพบข้อมูลที่ต้องการก็จะส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทาง
ปี 1998 ทั้ง 2 คน ได้ตั้งบริษัทที่ชื่อว่า “Google” ในเมืองเมนโลพาร์ก และ IPO เข้าสู่ตลาดหุ้นในอีก 5 ปีถัดมา
แล้วก็ไม่ต่างอะไรกับบริษัท Apple เพราะอีก 20 ปีต่อมา บริษัท Google ที่เปลี่ยนชื่อเป็น Alphabet ก็ได้กลายมาเป็น บริษัทที่มีมูลค่าเป็นอันดับ 5 ของโลก..
แม้ความรุ่งเรืองจากการเกิดขึ้นของอินเทอร์เน็ต จะพาซิลิคอนแวลลีย์เข้าสู่การเติบโตที่รวดเร็วเกินไปจนเกิดวิกฤติฟองสบู่ดอตคอมในช่วงก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 จนสร้างความเสียหายหลายบริษัทและนักลงทุนในตลาดหุ้นจำนวนมาก
แต่อย่างไรก็ตาม วิกฤติครั้งนั้น ก็ไม่สามารถหยุดยั้งการพัฒนาของเทคโนโลยี ณ หุบเขาแห่งนี้ได้
หลังจากวิกฤติไม่นาน ก็มีการพัฒนาระบบ IPv6 ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลน IP ช่วยให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้มากขึ้น นอกเหนือจากเครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งปูทางมาถึงการเกิดขึ้นของ “สมาร์ตโฟน” โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถในการใช้งานมัลติมีเดีย และเชื่อมต่อเข้ากับโลกอินเทอร์เน็ตอย่างไร้รอยต่อ ด้วยระบบ IPv6
หนึ่งในสมาร์ตโฟนที่โดดเด่นที่สุดก็คือ iPhone จากบริษัท Apple ที่เปิดตัวในปี 2007
เช่นเดียวกับ Google ที่ได้เข้าซื้อบริษัท Android และเปิดตัวโทรศัพท์แอนดรอยด์ในปี 2008
และทั้งสองก็แข่งขันกันพัฒนาระบบปฏิบัติการของตัวเอง
เมื่อผู้คนเริ่มใช้สมาร์ตโฟนมากขึ้น นำมาสู่การเกิดขึ้นของ “Application” ซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อช่วยการทำงานต่าง ๆ ของผู้ใช้งาน
โดยแอปพลิเคชัน จะมีส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) หรือ UI เพื่อเป็นตัวกลางในการใช้งานให้ราบรื่น
และด้วยความที่ซิลิคอนแวลลีย์เต็มไปด้วย Venture Capital ที่คอยให้เงินทุนสนับสนุนไอเดียล้ำ ๆ
หุบเขาแห่งนี้ จึงยังคงเป็นแม่เหล็กดึงดูดบริษัทใหม่มากมาย โดยเฉพาะบริษัทที่จะมาสร้างสรรค์เครือข่ายสังคมออนไลน์..
ปี 2003 LinkedIn เกิดแพลตฟอร์มเครือข่ายธุรกิจในการหางานและผู้ร่วมงาน
ก่อตั้งโดย Reid Garrett Hoffman วิศวกรที่เคยทำงานให้กับ Apple
ปี 2004 เกิด Facebook เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้งานหลายพันล้านคนทั่วโลก
ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากการคิดค้นวิธีการเชื่อมผู้คนในรูปแบบใหม่ในรั้วมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ของ Mark Zuckerberg พร้อมกับเพื่อนอีก 4 คน
ปี 2006 หลังออกจากมหาวิทยาลัย Jack Dorsey พร้อมกับเพื่อนอีก 3 คน
ได้ก่อตั้งเครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภท Microblog ที่แสดงข้อความสั้น ๆ ความยาวไม่เกิน 140 ตัวอักษร
โดยคิดค้นชื่อที่มาจากคำว่า Tweet ซึ่งแปลว่าเสียงนกร้อง Logo ของบริษัทจึงเป็นรูปนก และบริษัทนี้มีชื่อว่า Twitter
ปี 2009 เกิด WhatsApp แอปพลิเคชันในการติดต่อสื่อสารด้วยข้อความ ก่อตั้งโดย Jan Koum โปรแกรมเมอร์ที่เห็นประโยชน์จากการเกิดขึ้นของสมาร์ตโฟน
บริษัททั้งหมดล้วนมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในซิลิคอนแวลลีย์
หุบเขาแห่งเทคโนโลยีแห่งนี้ยังคงดึงดูดผู้คนจากทั่วโลกให้เข้าไปเติมเต็มความฝัน เพื่อสร้างสรรค์อุปกรณ์ไอทีที่ไฮเทคขึ้นเรื่อย ๆ
และเปลี่ยนแปลงมาสู่โลกของเครือข่ายอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตและเชื่อมต่อกันและกัน หรือเรียกว่า “Internet of Things” ที่จะเข้ามามีบทบาทในทุกย่างก้าวของชีวิต
ความสำเร็จของอุตสาหกรรมไอทีที่ทำให้สหรัฐอเมริกากลายเป็นมหาอำนาจของโลก ล้วนมีที่มาจากหลายปัจจัย
ทั้งระบบการศึกษาที่เข้มแข็ง ที่สร้างองค์ความรู้และช่วยวางรากฐานสู่โลกธุรกิจ
วัฒนธรรมแห่งเสรีภาพ ที่สนับสนุนให้คนรุ่นใหม่กล้าคิดกล้าทำเพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
แหล่งเงินทุน ที่เข้าถึงง่ายและมีหลากหลายรูปแบบ
และเครือข่ายผู้คิดค้นนวัตกรรมที่เติมเต็มความฝันต่อยอดกันไปไม่รู้จบ
หากถามว่า อิทธิพลทางเทคโนโลยีของสหรัฐอเมริกาจะคงอยู่อีกนานแค่ไหน ?
เมื่อไรที่มนุษย์จะหยุดฝัน เมื่อนั้นอาจเป็นคำตอบ..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-มิเชลล์ ควินน์, เมื่อซิลิคอนแวลลีย์เติบใหญ่ นิตยสารเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2562
-https://www.parc.com/about-parc/parc-history/
-https://www.internetsociety.org/wp-content/uploads/2017/09/ISOC-History-of-the-Internet_1997.pdf
-https://searchnetworking.techtarget.com/definition/TCP-IP
-https://www.lifewire.com/transmission-control-protocol-and-internet-protocol-816255
-https://tradingeconomics.com/united-states/personal-computers-per-100-people-wb-data.html
-https://www.businessinsider.com.au/highest-valued-public-companies-apple-aramco-biggest-market-cap-2020-1
-https://www.forbes.com/profile/reid-hoffman/#5f276ca61849
-http://startitup.in.th/the-rags-to-rich-jan-koum-whatsapp-co-founder-startup-story/
-https://www.set.or.th/set/enterprise/html.do?name=vc
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「jack dorsey linkedin」的推薦目錄:
- 關於jack dorsey linkedin 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於jack dorsey linkedin 在 Scholarship for Vietnamese students Facebook 的最讚貼文
- 關於jack dorsey linkedin 在 麥克風的市場求生手冊 Facebook 的最佳解答
- 關於jack dorsey linkedin 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於jack dorsey linkedin 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於jack dorsey linkedin 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
jack dorsey linkedin 在 Scholarship for Vietnamese students Facebook 的最讚貼文
QUY TẮC 5 GIỜ BIẾN MỘT NGƯỜI BÌNH THƯỜNG THÀNH NGƯỜI "ĐÁNG GỜM"
Làm việc chăm chỉ từ ngày này qua ngày khác mà không thấy có sự phát triển gì cả. Chưa kể đến chuyện luôn cảm thấy bị mắc kẹt ở thời điểm hiện tại và không thể tiến xa hơn. Bạn bè, đồng nghiệp thì đi lên, trong khi bản thân mình cứ ở lại phía sau.
Nếu bạn cảm thấy mình cũng đang giống như vậy, có lẽ đã đến lúc bạn cần áp dụng nguyên tắc 5 giờ dưới đây. Theo Bill Gates, Oprah Winfrey và Mark Zuckerberg, nguyên tắc đơn giản này có thể giúp bạn biến từ một người bình thường thành một người thành công.
Dành 5 giờ mỗi tuần để học
Nguyên tắc 5 giờ nghĩa là dành 5 giờ mỗi tuần, một giờ mỗi ngày để tập trung học. Điều này đồng nghĩa với chuyện Schofans cần phải tập trung hết sức trong một tiếng đồng hồ đó để đạt được kết quả tốt nhất - chứ đừng lướt mạng xã hội hết 30 phút.
À riêng với lớp học bổng HannahEd thì cũng là 5 nhưng là học 5 tuần, 10 buổi, mỗi buổi từ 1-2 giờ cả nhà ha :D. Học xong từ không biết gì, hoặc biết chưa hệ thống về học bổng thành "đáng gờm" trong lớp apply học bổng nha. Tuần sau lớp C41 khai giảng vẫn mở đăng ký cho ca nhà nhé: http://tiny.cc/HannahEdClass
Trở lại câu chuyện ở trên, vậy thì: Học như thế nào trong 1 giờ học mỗi ngày đó?
1. Đọc
Không phải tự nhiên mà đọc sách luôn là một trong những thói quen hàng đầu giúp các đàn ông thành công hơn. Đọc sách là việc đơn giản nhất để học.
Bạn nên có một cuốn sách trong túi xách hoặc một cuốn sách để đầu giường. Khi đọc sách, đừngi ép buộc bản thân ngấu nghiến hết cuốn sách trong vài ngày, thay vào đó cứ thong thả chia nhỏ từng chương một trong mỗi ngày. Và đừng quên đặt mục tiêu đọc sách theo tháng, theo quý hay theo năm để hoàn thành.
Nếu bạn ngại sách giấy, thử chọn đọc sách điện tử - có thể sử dụng ở mọi lúc mọi nơi.
Nhà đầu tư Warren Buffett ước tính rằng 80% thời gian ngày làm việc của ông được dành để đọc và suy ngẫm. Ông nổi tiếng với câu nói: "Tôi thường ngồi trong văn phòng của mình và đọc hầu như tất cả mọi ngày". Buffett dành từ 5 đến 6 tiếng mỗi ngày để đọc 5 tờ báo và 500 trang báo cáo doanh nghiệp.
Nữ hoàng truyền thông Oprah Winfrey bắt đầu đọc từ khi còn là một đứa trẻ và cho đến tận bây giờ bà vẫn giữ thói quen đó. "Tôi đã bắt đầu làm quen với sách khi mới ba tuổi, và sớm phát hiện ra cả một thế giới thú vị từ sách để chinh phục, vượt xa phạm vi trang trại của gia đình chúng tôi ở Mississippi", bà nói.
Đồng sáng lập Microsoft, Bill Gates, cũng là một tín đồ của sách, ông đọc 50 cuốn sách mỗi năm, thậm chí ông còn có thư viện lớn hàng ngàn mét vuông để lưu giữ những quyển sách và các tác phẩm nghệ thuật có giá trị. "Tôi thực sự đã có rất nhiều ước mơ khi tôi còn là một đứa trẻ, và không ít trong số đó đã trở thành hiện thực chính là nhờ tôi đã có cơ hội đọc rất nhiều", ông cho biết.
Ngoài ra, những tỷ phú, doanh nhân khác cũng dành rất nhiều thời gian cho việc đọc: Mark Cuban đọc sách nhiều hơn 3 tiếng mỗi ngày; Arthur Blank, đồng sáng lập Home Depot đọc 2 tiếng mỗi ngày; Doanh nhân tỷ phú David Rubenstein đọc 6 cuốn sách mỗi tuần; Dan Gilbert, tỷ phú tự lập và chủ của Cleveland Cavaliers đọc từ 1 đến 2 tiếng mỗi ngày; Mark Zuckerberg đọc ít nhất một cuốn sách mỗi hai tuần.
2. Suy nghĩ
Có bạn sẽ trả lời rằng: Lúc nào chẳng suy nghĩ, cần gì phải dành ra một khoảng thời gian để làm việc này? Nhưng có bao giờ bạn dành ra một khoảng thời gian thật yên tĩnh, chỉ có một mình và suy nghĩ về những chuyện đã xảy ra trong ngày, cũng như rút ra bài học từ nó chưa. Đó cũng là một trong những thói quen nên làm trong hành trình tự học của chính mình.
Giám đốc điều hành AOL, Tim Armstrong yêu cầu đội ngũ quản lý cấp cao của ông dành 4 tiếng mỗi tuần chỉ để suy ngẫm.
Giám đốc điều hành Twitter, Jack Dorsey là một người thường xuyên chiêm nghiệm.
Jeff Weiner, giám đốc điều hành LinkedIn, dành 2 tiếng mỗi ngày để suy ngẫm.
Brian Scudamore, nhà sáng lập O2E Brands trị giá 250 triệu USD, dành 10 tiếng mỗi tuần cũng chỉ để suy ngẫm.
Tỷ phú Sara Blakely là một nhà báo lâu năm. Trong một cuộc phỏng vấn, cô chia sẻ rằng mình có hơn 20 cuốn sổ tay để ghi lại những vấn đề tồi tệ đã xảy ra và những bài học mà cô đã chiêm nghiệm được.
Đó chỉ là những ví dụ điển hình về tầm quan trọng của suy ngẫm và chiêm nghiệm của những người nổi tiếng. Các bạn cứ thử đi, và tôi tin là chỉ ngày mai thôi, bạn sẽ có những cách cư xử tử tế hơn, cách suy nghĩ chín chắn hơn và có những sự lựa chọn đúng đắn hơn.
3. Thử nghiệm
Thử nghiệm là một bước quan trọng để bạn áp dụng những kiến thức, những điều đã rút ra trong sách vở cũng như trong khoảng thời gian tự suy nghĩ ở trên.
Nhớ tới câu chuyện về thiên tài Thomas Edison, người thường tiếp cận những phát minh mới một cách rất khiêm tốn. Ông đưa ra mọi giải pháp có thể và sau đó thử nghiệm từng giải pháp một cách có hệ thống. Ông áp dụng phương pháp này cực đoan đến nỗi đối thủ của ông là Nikola Tesla, đã nói về phương pháp thử nghiệm và sửa sai này như sau: "Nếu Edison phải tìm một cây kim trong một bãi cỏ, ông ấy sẽ không dừng lại để nghĩ xem cây kim đó có khả năng nằm ở đâu. Thay vào đó, ông ấy sẽ vạch từng ngọn cỏ một cho đến khi tìm được nó".
Thử nghiệm vào cuộc sống để bạn biết rằng:
Không phải tất cả những điều đã học khi áp vào cuộc sống đều dễ dàng, và không phải tất cả những điều đó đều đúng với bản thân.
Nếu không thử, nếu không thực hành, chuyện học ở 2 bước trên trở nên vô nghĩa.
(C): Nhịp sống kinh tế
P.S: Ảnh chụp chị founder HannahEd Hoa Dinh, cô giáo của lớp học bổng HannahEd trước cửa văn phòng chị đang làm việc ở Dublin châu Âu nhé ^^
<3 Like page, tag và chia sẻ bạn bè nhé <3
#HannahEd #sanhocbong #scholarshipforVietnamesestudents #duhoc #HannahEdScholarshipOnlineClass
jack dorsey linkedin 在 麥克風的市場求生手冊 Facebook 的最佳解答
「我們現在的情況和當時相似嗎?是的!1933年時政府是怎麼處理的?政府印了很多錢,推出了與我們現在使用的相同類型的程序。是的,同樣的。零利率達到了零,同樣的事情,同樣的過程。然後是貨幣從那個點開始導致擴張。股市要多久才能超過最高點?經濟需要多長時間才能超過以往的高點?很長時間!」
「我認為這就是我們現在的處境。我們在歷史上多次看到這種情況,這次危機也不例外。所以,是的,這不是經濟衰退,這是一種崩潰,拋錨。」
「市場怎麼樣取決於你所在的市場和國家,而且大約25%到45%甚至50%取決於你管理的是哪種貨幣。如果你談論的是新興市場,他們的情況是會更糟,因為它們不會拿到足夠的(資金和信貸)等等。」
「現在的狀況比那時(2008年)更復雜,因為除了銀行,還有那些銀行之外的行業(在這場危機之中),這些分佈在各個地方的小企業。這是一場更大的危機,我們的貨幣政策也沒有那麼有效,因為利率下降已經達到了極限。」
「投資者必須明白他們可能無法玩好這個遊戲。他們可能無法正確的擇時買入或者賣出。要在市場上獲得成功比在奧運會上獲得金牌更困難。」
「我的建議是——多樣化和分散投資——對市場抱有敬畏——不要去做擇時投資,同時要意識到現金的危險!」
【Ray Dalio TED對話全文】
Corey Hajim:好的,所以現在的情況有多糟糕?我們應該多擔心?
Ray Dalio:我認為你可以把這(社會隔離中的疫情)看作是一場海嘯。那麼當你看到這些殘骸的時候,後果將會是什麼呢?從收入和資產負債的角度來看,這對收入的打擊巨大,資產負債表也損失嚴重。
如何處理呢?為了理解這一點,你必須意識到這些漏洞——收入上的漏洞和資產負債表的漏洞,然後思考到貨幣和信貸的生產——誰生產這些貨幣和信貸?貨幣和信貸有不同的方式——有美元貨幣和信貸,也有歐洲的歐元貨幣和信貸。
所以當你看世界的時候,你看到的情況和1930年到1945年的情況是一樣的。現在我們看到政府產生了大量的債務,大量的借貸。我們看到的是零利率,不是傳統意義上的貨幣政策,而是產生大量貨幣和信貸。
美聯儲正在購買美國國債,而財政部正以一種雖不完美但規模相當大的方式,將這筆錢分交給大多數美國人。
歐洲人也在以自己的方式做着同樣的事情。歐洲央行相對較小,因為世界上有大約70%是美元,歐元的比例較小。(歐洲央行和政府)會為那裏的人們生產(貨幣和信貸)。
而世界上其他地方將會有缺口,這些缺口是無法填補的。美國印鈔和借貸會給我們留下很多債務和貨幣。這是一個有趣的話題,我們需要討論這個話題。誰來支付這些賬單,誰來分攤這些賬單呢?
但是你知道你會得到錢(指美國的貨幣和財政刺激政策),歐洲人將會得到他們的那筆錢(指歐洲的刺激政策),我們現在的世界類似於1930–45的時候,同時世界上還有很多其他地方不會得到信貸和資金。
因此,哪些實體受益,哪些實體不會受益,這將會有很大的區別。我們必須通過大規模的合作(a big collaboration)來處理,以及決定誰將最終得到什麼——一個關於財富分配的大問題。這將會發生!
Corey Hajim:你有多相信合作現在可以發生?
Ray Dalio:我們現在正處在一個決定性時刻(defining moments),就像1930年到45年那段時間。如果你回顧歷史,這並不是什麼新鮮事。人們如何共同解決現在這個問題是很重要的。我認為這將是一個決定性的時刻。
我想給你描述一個樣版。讓我們回顧一下過去的一千年,那些一遍又一遍發生的事情。我想傳達一個模式。
有四樣東西是我們的經濟、生活方式和財富的驅動力:
第一個也是最強大的是生產力,它來自於人們的學習、發明和實踐。它增長緩慢——每年1%、2%或3%。它成長緩慢,不易變,因為知識是複雜的。但它在一段時間內增長,提高了我們的生活水平。
第二個是短期債務週期。短期債務週期是指衰退、擴張和繁榮,一般持續8到10年。
第三個是一個長期的債務週期。這種長期的債務週期大約每50到75年進行一次,從一種新的貨幣和一種新的信貸開始。這(現在的長期債務週期)始於1945年,(二戰和佈雷頓森林貨幣體系結束後)世界創造了一個新的貨幣體系和一種新的貨幣,替代了舊的貨幣體系和貨幣。這就是新的世界秩序,也就是美國的世界秩序。我們已經看到經濟中仍然有70%的貨幣和信貸是由通過美元運行的。
第四個影響因素是政治。政治在很大程度上就是我們如何處理彼此之間的關係。這裏有內部政治,也有外部政治。
內部政治就是如何處理貧富差距,如何處理價值觀差距。人們一個共同的使命嗎?人們是否有一個可以達成共識的美國夢?人們有共同的追求或者人們為財富而鬥爭等等。
所以當你回顧歷史的時候,你會發現這就是革命的不同形式。這其中總有一場革命。有時是和平革命,有時是破壞性的革命。這本質上是一種財富再分配。
羅斯福通過政策變化和税收完成了(財富再分配)。在其他國家,民主被推翻,希特勒上台正是因為這個差距。(內部政治)是人們如何在內部處理彼此的關係。
還有外部政治,即國家之間的政治。你會遇到這樣的情況,一個正在崛起的大國正在挑戰現有的大國。有競爭,也有戰爭的危險。所以他們如何處理彼此,他們是否互相爭鬥,會是決定性的。
總有壓力測試,這些大的壓力測試大約每75年進行一次。現在就是這樣一個壓力測試,看我們如何處理彼此的關係。我們有足夠的財富來分配。
但是當你處於支持圈之外(指不直接受益於刺激政策)時你會怎麼做呢,對於這些實體會發生什麼?或者,如果你在支持的範圍內,如何分配,如何彼此相處?我認為我們將不得不重新考慮誰擁有什麼等等。我想這就是我們的處境。
Corey Hajim:因為你已經寫了大量關於資本主義需要如何改變以及我們應該思考和做的一些事情。稍後我肯定會講到這一點。但我現在很好奇,從一個實際的層面來看,你認為我們正在走向全球蕭條嗎(global depression)?
Ray Dalio:是的,但是我想要小心的使用「大蕭條」的這個詞。儘管這個詞可以引起共鳴。但它也是很可怕的。你説的蕭條是什麼意思,像1930年那樣?我們回顧一下1929年到1932年的情況,經濟出現了下滑,失業率達到了兩位數,經濟下滑幅度達到了10%左右。我們現在的情況和當時相似嗎?
是的!1933年時政府是怎麼處理的?政府印了很多錢,推出了與我們現在使用的相同類型的程序。是的,同樣的。零利率達到了零,同樣的事情,同樣的過程。然後是貨幣從那個點開始導致擴張。股市要多久才能超過最高點?經濟需要多長時間才能超過以往的高點?很長時間!
我認為這就是我們現在的處境。我們在歷史上多次看到這種情況,這次危機也不例外。所以,是的,這不是經濟衰退,這是一種崩潰,拋錨(this is not a recession,this is a breakdown)。我剛剛描述了政府如何製造貨幣和信貸的等等。這就是我們的處境。
Corey Hajim:你剛才談到了在大蕭條之後,有四個槓桿可以幫助你恢復。削減開支也被稱為緊縮,債務重組或減免,通過税收重新分配財富,印鈔票,你提到過的一些事情。這些東西能幫我們擺脱困境嗎?你覺得以前發生過。但是你現在怎麼考慮平衡這些工具呢?
Ray Dalio:這些是長盛不衰的工具,基本上是自有記錄的歷史以來就在用的工具。我想你將會看到一個組合——你已經看到了——印鈔票和再分配(redistribution),事情發生得很快。這個過程可能會持續幾年。
然後是重塑(rebuilding),這個過程與創造力有關。歷史上最偉大的力量是創造性,人類的創造性、人類的適應性。所以你一定會看到這些重塑的發生,你會看到一種類似Marco那裏看到的創新。適應的力量才是最大的力量。
如果有人感興趣的話,我在LinkedIn上貼出了一項學習研究——它追溯到500年前,研究了當時的實際GDP情況。研究報告中有一條線,你不會看到我們所説的這些蕭條。即使在這條線上,他們也幾乎沒有波動,當你深入細看某一個時間點的時候,你看到了GDP下降10%,失業率上升的情況,但它過去了。因為最大的力量是適應和創新的力量,如果人們能很好地合作。
這就是我認為的這段時間內的情況。它會過去的——世界將會變得非常不同,會產生一個新的世界秩序。但它會過去,會被創造出來,因為我們現在面對的只是貨幣和信貸。貨幣和信貸是數字化的——我是説,確實有很好的服務行業,這些是真的。但其他一切都只是會計數字而已。
所以,最多就是幾年,當你做出改變,解決問題,努力堅持下來,你就會來到這個新的改良重組後的環境之中(restructured environment)——可以説,它(指前文提到的restructured environment)在很多方面都是更健康的。因為它(通過了)一種壓力測試。
歷史上,人們(經濟上)變得更虛弱,或者説他們在很多方面都沒有準備好,是因為人們沒有建立足夠的儲蓄,或者他們強調奢侈品而不是必需品。(我們所經歷的)這是一種重新定位的體驗,在很多方面讓我們變得健康,甚至讓我們更欣賞生活中的基本要素。
Chris Anderson:好的,我來問一些我們在線觀眾的問題。早些時候的觀眾的主要問題集中在:你認為未來的經濟會有多困難?你剛剛已經非常正面積極地回答了這個問題,比如用了「蕭條」(depression)這個詞。這是一個非常有力的詞。不知道我的理解是否正確:你剛剛所説的(經濟不景氣的程度)比市場上大多數人認為的更嚴重。市場表現就好像是聽到了壞消息,很多人似乎認為,也許在一年之內,等到經濟復甦,我們就會回到原地。而你説,不對!這需要更長的時間。
這是否意味着,存在某種市場尚未完全看到的系統性衝擊(systemic shocks)?或許這與一些市場玩家無力應對的,堆積如山的鉅額債務有關。而現在情形下,人們不能工作。
Ray Dalio:我不能代表所有人的想法。市場怎麼樣取決於你所在的市場和國家,而且大約25%到45%甚至50%取決於你管理的是哪種貨幣。如果你談論的是新興市場,他們的情況是會更糟,因為它們不會拿到足夠的(資金和信貸)等等。
我可以描述我所看到的情況。我們看到大約20萬億美元的損失;我們看到,在沒有資金支持,沒有信貸支持的情形下,人們的生意(可能)會失敗。你知道的,我們周圍到處都是這樣事情發生。所以當無錢支付時,就會出現失敗。
問題是,人們要從哪裏得到怎麼樣的支票來支付這些款項,來渡過難關?我們將經歷巨大變革重組(giant restructuring),我們最終會解決這些問題。(例如)醫院可能會破產,因為(目前的境況)對醫院來説有非常昂貴的支出成本,他們無法完全覆蓋掉損失。即使我們知道人們需要醫院,它們也會破產。
所以你必須一個實體一個實體地來看,然後來思考到底最終由誰來付賬。有些人錯誤的認為這一切是(由於)病毒,病毒可能來了又走,也許我們再也見不到它了,這是可能的,誰知道呢。但如果它(病毒)再也沒有回來,(也)會有那些人破產,會有那些人失去一些收入。
我們將改變我們的運作方式,在某種程度上,供應線也將改變。換句話説,自給自足(self-sufficiency),自給自足現在意味着什麼?我們在這方面做的足夠好麼?我們將重組我們的經濟和金融體系。我們不會回到過去的樣子了(we are not going to go back to the way it was)。
Chris Anderson:那麼,你認為金融行業面臨的系統性威脅會比2008年更大嗎?
Ray Dalio:是的,這比2008年發生的事情更嚴重,我解釋一下區別。2008年,一樣的,我們有銀行,意味着你有一定的槓桿。當經濟下跌時,過多的槓桿意味着你在會計上破產了。然後環顧四周,誰是具有系統重要性的機構?你當然不想在這個時候讓銀行倒閉,然後你就可以借錢,借貸。所以人們可以通過某種方式讓銀行繼續維持下去。企業和銀行一起,通過銀行,產生更多的抵押貸款….這就是那時的情況。
現在的狀況比那時更復雜,因為除了銀行,還有那些銀行之外的行業(在這場危機之中),這些分佈在各個地方的小企業。這是一場更大的危機,我們的貨幣政策也沒有那麼有效,因為利率下降已經達到了極限。僅僅通過央行購買金融資產和購買普通金融資產是行不通的,他們必須購買政府債。政府,許多國家的政府必須有效地將購買力和生產能力提供給世界各地需要的人。
Chris Anderson:人們在問,在現在情況下,什麼樣的行業、組織、公司最有發展前景?
Ray Dalio:這就是它的美妙之處。基本上有兩種類型:
有一些是穩定的日常必需品,不是槓桿類的公司,你知道(比如)Campbell soup company(一家食品公司)之類的公司,每個人都會一直使用它們。
然後是創新者,那些創新,那些適應能力強,創新能力強,沒有資產負債表問題的公司。換句話説,他們有漂亮的資產負債表,所以有資本玩這個遊戲。他們將是偉大的贏家。
所以總是有新的發明,新的創造力,新的順勢而生,最後成為一個公司,成就一個企業家。他們會做得很好,加上那些製造我們總是需要的東西企業。這些事情會做得很好。
Corey Hajim:我想在繼續聊一下市場,顯然這是個很多人感興趣的話題,而市場好壞並不總是與經濟狀況相關。在過去70年左右的時間裏,市場參與者發生了很大的變化,出現了更多的算法和量化的投資(公司)以及被動管理型投資。你認為這對現在的市場有什麼影響?對接下來幾年有什麼影響?
Ray Dalio:這些關於貨幣、信貸、和危機的原理,比如誰有什麼收入,誰有多少支出,誰有什麼樣資產負債表,我們如何處理貨幣和信貸。
這些(原理)人們常常忽略的,因為它們可能一生只會發生一次。比如上次發生(現在類似)的事情,要追溯到20世紀30年代。但是這些基本原理一直都存在。
同時科技一直在進化和改變,比如把一個人的思想和想法通過算法來實現。我們已經這樣做了25年了,我們的運作方式是把一個原則——我該如何處理這種情況並把它寫下來——放進一個算法裏。因為人類的思考和計算能力是有限制的,(技術)使得思考和計算的能力得到了極大的提高,這是了不起的發明。
因此,當與計算機結合時,計算機有能力進行槓桿式的思考和複製。這就是我們這個時代的進步。
所以當你考慮算法時,你必須理解它的本質,即(算法)正在處理的是否是合理的因果關係。這一切都歸結於:你是否理解(算法的)本質?你是否成功地將賭注押在了因果關係上?因為這是你賺錢的唯一途徑。
電腦可以用一種更先進的方式來處理它。一些人或錯誤的直接將機器學習應用到市場上,這一般行不通。我來解釋一下原因。
在算法決策方面,有兩種方法。一種是你給電腦指令,讓它遵循指令,這樣就能讓你想法得以實現;另外一種是你可以把大量數據輸入電腦,然後讓電腦自己決定怎麼做。
兩者的關鍵區別在於你是否理解因果關係?你必須瞭解因果關係,才能知道你應該相信什麼。因為你(給機器學習)的樣本可能不夠完整。
比如現在的情況就很難在你(訓練機器)的樣本中出現,因為你必須回到20世紀30年代才能有一個類似的時期。
但是學習的能力和創造的能力比以往任何時候都要大——這就是我們時代的力量。有些人會做得很好,有些人會做得很差,但歸根結底你是否理解這些因果關係?這樣你就知道什麼是正確的了。
Corey Hajim:這與被動投資市場非常不同,被動投資市場(passive investment)現在佔了很大一部分,大多數人都把錢放在被動管理(基金)上。我知道每件事每天都在變化,但我也知道每個人都會有這個問題。我不會問你具體的投資建議,但每個人都在想他們的401k計劃,你對人們應該如何處理這些錢有什麼大體的想法嗎?
Ray Dalio:是的,首先,投資者必須明白他們可能無法玩好這個遊戲。他們可能無法正確的擇時買入或者賣出。要在市場上獲得成功比在奧運會上獲得金牌更困難。你不會想到在奧運會上競爭,但每個人都認為他們可以在市場上一試身手,跑贏市場。
市場就像一個零和遊戲,現在有更多的錢在參與競爭。我認為最糟糕的事情就是——你自認為能夠正確的擇時。市場的競爭激烈,我們每年投入數億美元,這真的是一件很棘手的事情。所以個人投資者需要做的就是知道如何分散投資風險,知道如何以一種平衡的方式分散投資。所有投資者最大的錯誤是認為最近表現好的是更好的投資,而不是認為這個投資價格更高;而最近表現差的投資是最糟糕的投資,應該賣掉,而不是認為它更便宜了。
除非你知道如何處理這些差異,(雖然大多數人都不知道),否則就會有麻煩。世界上財富的總量,本質上不會改變太多。一個上升,另一個下降。知道如何分散投資很重要——在資產類別中分散投資;在不同國家分散投資;在外匯資產中分散投資。分散和多樣化投資你的財富很重要。
不要認為現金是安全的投資。大多數人認為,我只是想要安全的資產,即使那些債券收益率很低。現金是一種誘人的投資,因為它沒有那麼大的波動性,但它會讓你的購買力每年損失2%。因此,現金幾乎總是最糟糕的投資。
所以你必須考慮換個思路考慮一下——你有投資一點黃金嗎?如果貨幣系統崩潰,貨幣被重新定義,你有一點其他資產嗎?多樣化和分散投資的方法很多,我一時也講不完。我試着在我的書裏和LinkedIn上傳達這些理念。我的建議是——多樣化和分散投資——對市場抱有敬畏——不要去做擇時投資,同時要意識到現金的危險!
Corey Hajim:好的,這是一個很好的建議。在我們討論如何修正資本體制之前,我想再問一個大框的問題。我在Linkedln上讀了你的系列文章《the changing world order》,這篇文章真的很吸引人。我很好奇的你對「去全球化」的看法。如果想要實現復甦,似乎是需要(各個國家)協調和一起努力。如果我們現在從全球化中撤退,在經濟上和精神上有發生很多變化。這會讓未來變得更困難嗎?
Ray Dalio:如果我們退出全球化,這肯定會使事情變得非常困難。將理想主義與現實進行比較,説到全球化,誰會給那些在他們本國領土之外的人們開支票呢?有很多這樣的(需要幫助的)人。你知道的,我和我的妻子正努力幫助康涅狄格州的人們,(關於這個)我可以一口氣説出很多東西,比如這個工作是什麼樣子的,關於什麼等等。
國會和總統,他們開始討論我們將幫助誰,如何幫助?這將意味着什麼?這將涉及到真正的實際問題,而現實是——很多人將得不到幫助。
然後你就要處理他們(國家之間)會如何對待彼此——一個國家的漏洞和弱點是另一個國家的機遇。格雷漢姆·艾利森(Graham Allison)寫了一本書提醒我們,在過去的500年裏有16個國家曾經經歷過一個帝國對另一個帝國的挑戰。在這些案例中,有12個已經發生了戰爭,因為到最後,甚至都還沒有一個全球性的法律體系。權力是它的貨幣。所以當你陷入這些,如何解決爭端——誰得到了什麼——這就變成了一個非常複雜的問題。
所以我是一個全球主義者。我有一個夢想和一個願望,那就最好的人可以一起,一起為共同的美好而奮鬥等等。現在是時候了,因為我們處在一個相互聯繫卻支離破碎的世界(an interconnected fragmented world)。這種分裂——我可以依賴別人給我我需要的東西嗎?或者我可以依賴他們不利用我嗎?——不,你沒辦法建立那些依賴關係了。這不僅存在於國家內部,也存在於國家之間。
Corey Hajim:聽起來你在談論生產力和生產力對我們的重要性。所有人都想過上更好的生活,這似乎在全球範圍內都是如此。如果我們都集中精力在一起提高生產力,以這種相互關聯的方式,我們都會做得更好,而不只是囤積一項資產或一套資源。
Ray Dalio:你説的對極了。這一直是正確的,在今天尤其正確。同時,(一定要)閲讀歷史,理解其中的機制、問題和挑戰。在美國相對於世界其他國家被孤立之前,這種分離就已經開始了。
這種去全球化在我們有這個(病毒)之前就開始了,這種力量還有更多。它的發生是有原因的,所以不要忽視這些原因,也不要忽視對歷史的閲讀和學習。
所有事情都取決於那些手握權力槓桿的人的行為。我想要説,比如,我去過中國很長時間,中國人在很多方面都在幫助我,幫助我們這危機中需要的東西。公開這麼説句話,甚至可以説這是一件具有政治挑戰性的事情。因為我們的世界是如此的支離破碎,甚至公開説謝謝你——謝謝很多人,很多公司,幾乎是危險的事情。因為我們現在的世界環境中,(誰是)敵人,誰是惡人,你是否在這(敵人、惡人)之列?
歷史總是要去妖魔化(和我們)不同的人。環顧你的四周,(這種情形,指妖魔化假想敵的情況)是存在的,我們如何擺脱這種境況,取決於我們如何對待彼此。
Corey Hajim:是的,這一點很重要。我想我們在座的所有人都會對在這種情況下幫助我們的不同的人説聲謝謝。我們需要彼此。
然後,我想談談資本主義(capitalism)的問題,幾天前我們討論的時候你提到過,在這段時間裏我們如何變得比以前更強大和更好?大約一年前,你寫了一篇關於資本主義需要如何改革的文章,主要關注日益擴大的貧富差距以及由此產生的問題。那麼,現在我們的機會在哪裏?我們能做些什麼改變?
Ray Dalio:(這個問題)我理解的是——這個體系產生的結果,我們目前得到的結果是我們想要的嗎?我們的美國夢是什麼?是什麼呢,我們甚至不討論這個了。我1949年出生時,世界新秩序剛剛建立,世界新秩序在1945年建立。那時的體系崩潰,然後我們有了一個新的世界秩序——我們(那時)沒有那麼多的債務,剛從戰爭中恢復過來。
那時是一個機會均等的環境。那時我們有一個美國夢,有一個和諧的環境,有一個共同的經歷。順便説一下,這(指上文的環境狀態)不是一次性的,不是百年一遇的。如果你讀歷史,你會看這些時期是在經歷了那種崩潰、衝突和爭鬥之後而來的。然後,人們去構建資產負債表,重塑體系系統,開始一個新的系統,一起奮鬥。
然後當我看向我的四周,在教育系統中上學的孩子和貧窮的社區正在分享——他們沒有足夠的資源,別為此找藉口。因此,認為利潤制度可以完成一切的想法是不正確的,因為資源更多的分配給了那些擁有資源的人。
縱觀歷史——你可以追溯到幾百年前,你會發現任何制度都傾向於服務那些制度的操控者。我們有一個資本主義制度,我們有企業家,企業家獲得資金,然後與政府合作,他們有一種共生關係(a symbiotic relationship),這對他們很有效。
所以它(這個制度)是自我延續的(self-perpetuating)。這些人(指制度操控者)受到的教育要好於,那些不在這個人羣之內的人(指那些非制度受益者),例如,在我們的體制中,收入最高的40%的人在子女教育上的平均花費是收入最低的60%的人的五倍。這就變成了一種自我延續。
當我看到這種境況時,我想説——的確,我是一個資本家——我相信這個制度,我相信它可以通過增加蛋糕的大小,有效的分配(來解決這個問題)。如果我們要討論如何有效地做到這一點——我們的確需要這樣做——總有需要改革的時候,而這些改革必須創造生產力。
這並不意味着僅僅是把錢送出去(給需要的人),而是意味着如何讓他們更加多產,從而使這些需要幫助的人在精神上更加富有成效,在身體上也富有成效,產出更多成果(授人以魚不如授人以漁)。我們需要這樣一個系統,所以出於這些原因,我在LinkedIn上發表了相關文章,如果大家感興趣的話(可以去閲讀)。
現在我們就正在重組這個體系。不管人們是否意識到,財富的轉移是巨大的,通過所有這些借來的錢,印刷的錢。這是一股強大的力量。
在接下來的幾年裏,我們將一直會討論的一件事——可能是越早越好——那就是我們如何進行這種重組構造restructuring。我現在擔心的和我當時擔心的是一樣的——這是否會以兩黨合作的方式進行,既能擴大蛋糕的大小,又能很好地進行分配。而不是以損害經濟發展為代價,因為這樣會失去生產力。
有些事情是很好的投資。教育是一項偉大的投資。受過良好教育的人越多,受教育程度越平等,就有越多的人有機會互相競爭,並在一段時間內提高(整體競爭力)。如果做得好,這將產生比以往任何時候都多的生產力。
但實際情況是,各州和地方政府認為這是一項預算項目,所以他們關注開支,在教育上錙銖必較。如果你在一個富裕的城市,你讓你的孩子得到良好的教育,但如果你不是——而很大一部分人正在失去這種機會。
因此,教育這件事情必須好好規劃,這樣才有生產力,才能很好地分配蛋糕。每個人都相信這個系統是公平的,如果我們能做到這一點的話,我樂觀地認為我們會達到目標。這是我們的測試,這是我們的壓力測試。
Chris Anderson:人們對我們如何走出困境,是否真的有可能以一種公平的方式重建經濟這個問題非常感興趣。我的最後一個問題來自我的推特:你認為當前的危機是否表明,低薪和/或低技能工人是維繫國家團結的因素,甚至比銀行和對衝基金更重要?如果作為重建的一部分,我們能建立一個提高他們僱傭利益的經濟體系麼?
Ray Dalio:這些人就是英雄。真的!我們給貧困學生捐贈了六萬台電腦,用於他們的學業。你知道的,一個富裕的學生和一個貧窮的學生的區別就是一台電腦,以便於有學習的機會和能力。我要感謝——那些會感到尷尬甚至害怕聽到這麼説的人——我想感謝他們為這一進程所做的貢獻。
與此同時,還有那些每天都在以各種方式服務他人的人。所以這是好的品質。就像當人們從戰爭中歸來,來到最偉大的一代,正是這種特性與品質讓我們的國家走到了一起。但我們每個人都必須認識到每個人在這之中的角色和使命。一個首席執行官,一個在前線的英雄,他們都能很好地工作,一起前進——所以,是的,人們必須知道自己的作用,我們必須欣賞這樣的人。
我們必須認清現實——人們要有一定程度的基礎信仰,基礎教育,基本的醫療保健,基本的基礎——你不能低於這些。否則,當你低於這個水平時,就沒有機會了。而且這實際上是代價非常高昂的,(比如)以犯罪和監禁為代價。
所以,我們的一個使命是幫助那些從高中輟學去工作高中生,幫助他們重新進入高中然後在去工作。我們相信我們這樣做可以省下很多錢,因為監禁的平均費用每年要在4萬美元到每年12萬美元之間。而如果你讓這些輟學的高中生重新加入學習,讓他們正常的找到工作,會省下一大筆錢。
但是單單靠慈善家們做不了這件事情,這些支出是巨大的。所以,如果我們的國家做了這些事情,我認為那將是偉大的。
Chris Anderson:謝謝你,Ray。作為一個慈善家,你所採取的行動讓我深受鼓舞。還有你的一些同行,他們有是了不起的故事。昨天Jack Dorsey宣佈了他對人類的巨大貢獻,這讓我十分震驚——太棒了。這聽起來就像是你行走在權利走廊中的發聲,在那些財閥聚集的地方。無論是國家之間、公司之間、大財閥之間的合作,還是拳腳之爭。這都是如此重要。聽你談感恩,我們應該在某些方面有所感悟,比如中國(為我們)做了什麼等等。
你有沒有過這樣的對話經歷,當你試圖提出一個觀點(的時候),有多少人試圖推動這種類型的對話,而不是充滿敵意的恐懼對話?
Ray Dalio:我認為有一種普遍的錯誤觀念。我與很多你所説的掌權的人,或是政府工作的人溝通。我認為你必須意識到的是,很少有人是根據論點的質量來做決定的。大多數人,大多數人,就像類似於在戰爭中那樣,都有一個特定的目標(站隊),這些信息甚至來自媒體。你幾乎可以辨別出每個媒體或每個人是站在那邊的。
你真的相信有多少人是沒有立場的?幾乎每個人都有自己的站隊(side)。在這個時代,或從歷史來看,能夠從兩方面看待問題並團結一致的想法,幾乎被視為軟弱或威脅,因為你必須站在一邊或另一邊,等等。所以説出來並不容易。比如,我想對所有(應該被感謝的)人,比如中國,説:非常感謝!(感謝)那麼多的呼吸器和口罩以及所有這些東西。
但這在政治上幾乎是具有挑戰性的,因為會有人跳出來威脅,為什麼我要這樣做?人們會説,好吧,他是個親華派(China Lover)或者説,他是我們的敵人,他站在了另一邊。
所以我想對你説Chris,你有一個座談會,把(這些看法)帶給那些你認為最具攻擊性的政策掌權者,將這(兩方)放在一起。這樣你們就可以產生碰撞後的,深思熟慮後的分歧(thoughtful disagreement)。
我相信經過深思熟慮的不同意見,經過深思熟慮的不同意見是為了得到正確的答案,併產生融合,雖然這並不容易。
Chris Anderson:這對我們來説是個不錯的挑戰。我也相信深思熟慮後的分歧。Corey有工作是關於狂熱的質疑者(passionate disbelievers)對於不理性的仇恨的傳播,比如兩性之間的不理性的性仇恨,現在我覺得誤解如此之深。
Ray Dalio:但你會為此奮鬥嘛?換句話説,如果有人因為你説的是真實的和有爭議的事情而反擊的話,你會回擊過去麼?這很重要。這就是考驗。
Chris Anderson:我會反擊,我甚至想説我會打回去。絕對的。
此時此刻,每個人都在影響着其他人。我們有機會讓彼此成為更好的自己。讓我們來看看那些鼓舞人心的故事,那些人類向人類伸出援手的故事,那些公司做着令人難以置信的事蹟的故事,那些暫時放下利潤目的的故事,那些國家互相幫助的故事。我覺得我們需要進一步詳述其中的一些故事,我們肯定會這麼做。我們每天都在努力做到這一點。我非常欣賞你談論的一些感恩的故事。謝謝你的聲音。
Ray Dalio:總結一下,我相信這是一個決定性的時刻,但我們會順利度過。我們將以重要的方式進行重塑,這很好。謝謝你們分享這些值得考慮的想法。