以色列地面部隊正在用化學武器攻擊加沙巴人。是的,是化學武器。連在戰爭中都被認為殘忍冷血不人道的化學武器。回想奧巴馬曾經說過,如果敘利亞政府軍使用化學武器,就是過了「red line」,美國會出手懲罰。那麼,現在為何又資助用化武殺人的那一方?為何不「人道」地出兵?如果美國那麼正義,為何不將內塔尼亞胡拉去海牙,為所有反人類罪行付出代價?
重推舊文。這就是我對所謂「人道干預」永遠抱持懷疑態度的原因。
《國際視野﹕一無所有的生命——戰火之際說人權》
刊於明報星期日生活 E04 01.09.2013
(按:昨晚在沙漠裡看著滿天星塵,不禁想到不遠處敘利亞的人們,不知他們看著這一片銀河與星海,有甚麼感想?我們永遠都不能觸及那樣的,關乎生死與流離的苦痛。流星劃過,我還是許願世界和平,但願有日成真。)
【明報專訊】在土耳其東南部,敘利亞難民要是聚在一起的話,是可以輕易分辨出來的。阿拉伯人相對黝黑的膚色,孩子那張分不清是髒還是日曬不均勻的臉,流離生活的艱困在女人頭巾下的臉刻鑄的憔悴與苦澀,他們每每見人就急於掏出來說明身分的暗紅色敘利亞護照。現今世界上再沒有哪個族群,能如此徹底而完整地呈現阿甘本的裸命(bare life)概念。不管左翼右翼,沒有人能否認眾生皆有基本人權,有生存及獲得溫飽的權利;然而沒有了國家的羽翼保護,這些本應為先驗的權利,竟然蕩然無存。而這些裸命卻又無法脫離法律與社會的脈絡存在,於是成為了國界與國界之間,一條又一條一無所有的,被剝淨剝光的生命。
一場於大馬士革郊區的化學武器攻擊,終於將敘利亞曠日持久的內戰帶返國際頭條;雖然執筆之時,英國國會下議院已否決軍事介入敘利亞,但奧巴馬政府表示將自行懲罰阿薩德政府。美國的人道軍事干預現時當然因為伊拉克「不存在的WMD(Weapons of Mass Destruction)」而惡名昭著,然而上世紀末,克林頓政府聯同北約轟炸南盟,將科索沃的阿爾巴尼亞人從一場種族清洗中解救出來,並且得以脫離塞爾維亞獨立成國,卻是他任內最叫人稱頌的功績之一。親眼目睹過敘利亞難民的生活條件,或看過化武攻擊後屍橫遍野的新聞圖片後,似乎難否定外國介入的必要性。然而把洋蔥的皮剝開,思考所謂人道干預背後的哲學或法理支持,到底對二十一世紀的戰爭與和平極為重要。
幾乎沒有人能夠否定人權是具有原初性的,認為人類應有自然權利的哲學家隨手捻來,洛克(John Locke)和盧梭(Jean Jacques Rousseau)就是例子。然而主權的概念只不過能夠追溯至四百年前。十六世紀早期,馬丁路德推行宗教改革,銳意推翻羅馬天主教教廷,歐洲自始成為天主教徒與新教徒的戰場達三十年。戰爭結束的和約稱為《威斯特伐利亞和約》(The Peace Treaty of Westphalia),確立了國際社會以主權國家為單位的模式,隨神權衰落,世俗化的所謂民族國家由此興起。及後十八世紀,由狄德羅(Denis Diderot)和盧梭等領頭的百科全書學派出現,歐洲進入了啟蒙時期,對於國家體制開始批評,削弱了君權且逐漸肯定了個人和公民權利。今時今日,「外國勢力不得干預我國內政」與「必須尊重國家主權」等,已經成為了不少獨裁政權的慣用套語;然而追本溯源,主權本無神聖意義,只是歷史的偶然產物而已。
人道語言永遠攙雜政治利益
人道干預的議題,本來就是人權與主權概念的衝突。早前讀前聯合國秘書長安南自傳《Interventions: a life in war and peace》,他提及上任之初首個挑戰,就是處理北約未曾獲得安理會同意出兵參與科索沃戰事。其時從未有秘書長對未經安理會同意的「非法軍事行動」表示認同,然而安南掙扎良久,依然決定公開表示「there are times when the use of force is legitimate in the pursuit of peace」(當目的是追求和平的時候,使用武力有時可以是合法的)。美國的軍事介入的確解救了科索沃,然而同時打開了一道關不上的權力大門,加強了所謂美國例外論(American Exceptionalism)的合理性。美國在1999年聯同北約繞過安理會出兵,在2003年的伊拉克戰事照辦煮碗重做,然而當時出兵證據卻薄弱如紙,而且伊戰十年,美國至今仍未回復該國秩序。以人道干預為藉口合理化單邊軍事行動和對外侵略,似乎是許多反戰團體懷疑人道干預原則的原因。如果說對於人權的侵害有所謂程度之分,如奧巴馬為敘利亞設下化武的「red line」,那麼九十年代國際社會對盧旺達的大屠殺的長期冷漠,仍是難以說得過去。當時聯合國為了避免國際社會的壓力,遲遲不肯將胡圖族人對圖西族人的暴行定性為「種族清洗」。在現實世界,人道語言永遠攙雜了國家與地緣政治利益,而當中有不能否認的雙重標準與虛偽;然而想及當年的盧旺達大屠殺,當圖西族人面對種族清洗的無垠黑暗之時,國際社會難道還要在巨大的人道危機下等待安理會首肯,才得以履行道德責任?否定了人道干預的合法性,卻無法否定它的作用,大抵就是現代國際社會的一個大難題。
國際法學家亨金(Louis Henkin)在《權利的時代》裏說過﹕「在我們的時代,一個權利的時代,權利的觀念已實現了從社會到社會的超越,它不考慮國界,在一些有意義的方面破壞了國家的分離和獨立。人權已『國際化』並成為國際化和國際政治的一個主題。」然而如文首提及的難民困境,人權在哲理上或許是天賦的,但沒有了某種法律與權力的大傘保護,每個人或許都是一條裸命而已。人權至今仍只能在紙上超越國界,在如此一個不完美的,非烏托邦的世界,要是堅持人道干預動機的純粹,會否是過於迷信理想世界的左派,脫離了眼前的血腥與現實?
離家避難 就此流放兩年
在收容敘利亞難民的鄰國,隨便問一個難民,大概都能夠告訴你他們從老家逃出來的故事。我在土東庫爾德工人黨大本營城市Hakkari,聽從阿勒坡逃出來的男子用手示範炸彈如何從天上掉下來,分不清那支屬於政府軍,那支屬於反對派系。原本以為只是暫時離家避難,誰知就此流放兩年,每個角都起了褶的暗紅色護照成為國族身分的唯一佐證。不知他們知悉美軍將轟炸大馬士革,會作何感想?
文 陳婉容
編輯 劉逸芝
fb﹕www.facebook.com/SundayMingpao
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「locke and rousseau」的推薦目錄:
- 關於locke and rousseau 在 陳婉容 Sherry Facebook 的最佳解答
- 關於locke and rousseau 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
- 關於locke and rousseau 在 林輝:旅遊寫作人 Facebook 的精選貼文
- 關於locke and rousseau 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於locke and rousseau 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於locke and rousseau 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於locke and rousseau 在 Rick Steves - Rousseau vs. Locke, Europe vs. USA, and the ... 的評價
locke and rousseau 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
ทฤษฎีความยุติธรรมของจอห์น รอลว์ส
(John Rawls’ A Theory of Justice)
รองศาสตราจารย์ ดร.กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์
จอห์น บอร์ดเล่ย์ รอลว์ส (John Bordley Rawls) เกิดที่เมืองบัลติมอร์ เป็นลูกชายคนที่สองในบรรดาลูกห้าคนของนายวิลเลียม ลี รอลว์ส (William Lee Rawls) ซึ่งบิดาของรอลว์สไม่ได้จบโรงเรียนกฎหมาย แต่เป็นเพียงเสมียนทำงานในสำนักงานกฎหมาย ได้เรียนรู้งานอย่างเพียงพอจนกลายมาเป็นนักกฎหมายที่สามารถถกเถียงข้อกฎหมายได้ในศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกา มารดาของเขาเป็นนักพิทักษ์สิทธิในหลายๆ เรื่อง รวมทั้งต่อสู้เรื่องสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งของสตรี จอห์น รอลว์สได้รับอิทธิพลในด้านพัฒนาการทางจริยธรรมและความคิดทางการเมืองอย่างสำคัญจากทั้งบิดาและมารดาของเขา
จอห์น รอลว์สเป็นนักปรัชญาการเมืองชาวอเมริกันที่มีความสำคัญมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผลงานของเขาเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในสังคมโลกร่วมสมัย จอห์น รอลว์สเกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 รอลว์สเป็นศาสตราจารย์ด้านปรัชญาการเมืองของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เขาเป็นนักปรัชญาการเมืองแนวเสรีนิยม งานเขียนที่สำคัญ ได้แก่ A Theory of Justice (1971), Political Liberalism (1993), The Law of Peoples (1999), Justice as Fairness: A Restatement (2001).
ทฤษฎีความยุติธรรม (A Theory of Justice)
ก่อนยุคสมัยของจอห์น รอลว์ส ความยุติธรรมได้รับอิทธิพลจากแนวคิดอรรถประโยชน์นิยม (Utilitarianism) ซึ่งมองว่า สังคมควรจะยังประโยชน์ที่ดีงามที่สุดให้กับกลุ่มคนส่วนมากที่สุดในสังคม จึงจะเรียกได้ว่าสังคมนั้นมีความเป็นธรรมทางสังคม จอห์น รอลว์สไม่เห็นด้วย เพราะว่าการใช้แนวคิดดังกล่าวทำให้คนส่วนน้อยถูกลิดรอนสิทธิ ยิ่งไปกว่านั้น แนวคิดอรรถประโยชน์นิยมยังมีผลให้เสรีภาพของปัจเจกบุคคลมีความสำคัญเป็นอันดับสอง เมื่อเปรียบเทียบกับผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่
ในทฤษฎีความยุติธรรม จอห์น รอลว์ส พยายามแสดงการประนีประนอมอย่างมีหลักการระหว่างเสรีภาพ (liberty) กับความเสมอภาค (equality) โดยนำเสนอให้เห็นชุดของแนวคิดที่มองความยุติธรรมเสมือนการปฏิบัติต่อกันอย่างเป็นธรรม (justice as fairness) รอลว์สใช้แนวคิดดังกล่าวเป็นชุดแนวคิดหลักในการถ่ายทอดเนื้อหาของความยุติธรรมในฐานะที่เป็นการปฏิบัติต่อกันอย่างเป็นธรรม เขาพยายามที่จะแสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งคือ “การกระจายความยุติธรรม” (Distributive Justice)
รอลว์สตั้งคำถามถึงหลักการสัญญาประชาคม (Social Contract) เราควรจะยอมรับหลักการความยุติธรรมใดบ้าง เมื่อเราตกลงใจที่จะทำงานร่วมกันกับผู้อื่น แต่เรายังคงอยากที่จะรักษาผลประโยชน์ของเรามากๆ และลดภาระต่างๆ ลงให้เหลือน้อยที่สุด โดยที่ยังต้องประสานงานกับผู้อื่น ความยุติธรรมในฐานะความเป็นธรรม หรือ Justice as fairness เป็นทางออกของผู้คนธรรมดา ที่ไม่ได้เป็นทั้ง “นักบุญที่แสนจะเสียสละ” และไม่ได้เป็น “คนละโมภที่สุดจะเห็นแก่ตัว” เขาเห็นว่า มนุษย์เราโดยทั่วไปเป็นผู้มีเหตุผล รู้ความเหมาะความสมควรและเข้าใจในเหตุผลได้ (rational and reasonable) เราทุกคนมีจุดมุ่งหมายปลายทาง เราทุกคนอยากที่จะบรรลุความสำเร็จ เราจะมีความสุขมากที่เราบรรลุความสำเร็จพร้อมๆ กับคนอื่นๆ ถ้ามันเป็นไปได้ เรายังอยากให้การบรรลุความสำเร็จของเราเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับซึ่งกันและกัน อย่างไรก็ตาม ความต้องการและความปรารถนาของเราแต่ละคนมักมีความแตกต่างกัน ปัญหาก็คือ เราจะหาหลักการอะไร? ที่จะเป็นที่ยอมรับของเราแต่ละคนได้
หลักการข้อแรก รอลว์สเสนอแบบจำลอง (model) ของสถานการณ์ที่มีความเป็นธรรมเท่าเทียมกัน (fair situation) เพื่อช่วยให้เราสามารถตัดสินใจได้ เขาเสนอว่า เราควรยืนยันถึงหลักการพื้นฐานในเสรีภาพที่เสมอภาคเท่าเทียมกัน (A principle of equal basic liberties) เพื่อปกป้องคุ้มครองเสรีภาพในด้านต่างๆ ที่เราคุ้นเคยเป็นอันดี อาทิ เสรีภาพในด้านวิชาการ เสรีภาพในด้านการสมาคม และเสรีภาพในการแสดงออก และอื่นๆ ทุกคนในสังคมต้องได้รับสิทธิเสรีภาพพื้นฐานอย่างเข้มข้นและอย่างเท่าเทียมกับคนอื่นๆ
ยิ่งไปกว่านั้น เราต้องการที่จะมีหลักประกันว่า ไม่ว่าเราจะอยู่ในตำแหน่งใดในสังคม เสรีภาพจะเสมือนเป็นตัวแทนทางเลือกที่มีความหมายต่อเรา ตัวอย่างเช่น การมีหลักประกันที่เป็นทางการในด้านเสรีภาพทางการเมืองและเสรีภาพในการรวมตัว ถือว่ามีคุณค่าน้อยมากต่อคนยากจนและคนที่อยู่ชายขอบสังคม จำเป็นต้องเริ่มต้นจากการเรียกร้องให้คนทุกคนในสังคมมีโอกาสที่มีผลเป็นจริงในชีวิต อย่างน้อยที่สุด เราต้องการให้เสรีภาพของเราทุกคนมีคุณค่าเท่ากัน ไม่ว่า บุคคลนั้นจะอยู่ส่วนใดในสังคม บุคคลนั้นย่อมต้องการให้ชีวิตของเขามีคุณค่า ที่มีเสรีภาพอันมีผลจริงที่จะทำให้ชีวิตของเขาหรือเธอได้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
หลักการข้อที่สอง ได้แก่ หลักการเรื่องความแตกต่าง หลักการข้อนี้เป็นหลักประกันว่า เมื่อบุคคลที่มีสภาพและแรงจูงใจคล้ายๆ กันก็พึงได้รับโอกาสในชีวิตที่คล้ายคลึงกัน ดังนั้น คนที่ด้อยโอกาสที่สุดในสังคมก็ควรจะได้รับโอกาสอย่างทัดเทียม ความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคมจะถือว่าเป็นความยุติธรรมก็ต่อเมื่อ ความไม่เท่าเทียมนั้นได้ช่วยส่งเสริมให้คนที่ด้อยโอกาสที่สุด-คนที่ยากจนที่สุดได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี
แนวคิดของจอห์น รอลว์สคือการมองว่า สังคมที่มีความยุติธรรมนั้น กฎหมายและสถาบันต่างๆ ไม่ควรให้ประโยชน์กับคนกลุ่มหนึ่งบนต้นทุนของคนกลุ่มอื่นๆ บนฐานธรรมชาติและฐานสังคมที่มีความแตกต่างกัน ในการพัฒนาแนวคิดที่ว่าความยุติธรรมในฐานะความเป็นธรรม “Justice as fairness” รอลว์สบอกให้เราลองใช้จินตนาการตัวเรา ที่ตัดสินใจเลือกหลักความยุติธรรมจากจุดกำเนิดของความเป็นธรรม อย่างที่เราไม่ต้องคำนึงถึงฐานะทางสังคม เศรษฐกิจของเรา ไม่คำนึงถึงชาติพันธุ์ของเรา เพศ หรือความสามารถที่ติดตัวเรามา ตลอดจนข้อเท็จจริงทางสังคมอื่นๆ รอลว์สเสนอว่า ประการแรก เราต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกๆ กับเสรีภาพที่เท่าเทียมกัน และโอกาสที่เป็นธรรมสำหรับทุกคนในสังคม และประการที่สอง ต้องพยายามแบ่งสรรปันส่วนรายได้และความมั่งคั่งไปยังกลุ่มคนที่ยากจนให้ได้อย่างทั่วถึงที่สุด
กระนั้นก็ตาม ปัญหาใหญ่ที่ตามมาก็คือ เราจะทำให้ประชาชนในสังคมเห็นพ้องด้วยกับการมีโครงสร้างสังคมที่สอดรับกับหลักการทั้งสองประการของจอห์น รอลว์ส ได้อย่างไร?
จอห์น รอลว์สตอบว่า เราจำเป็นต้องรื้อฟื้นแนวคิดสัญญาประชาคมของนักคิดยุคก่อนๆ อาทิ โทมัส ฮอบบ์ส (Thomas Hobbs) จอห์น ล็อค (John Locke) และฌอง ฌาค รูซโซ (Jean Jacques Rousseau) ทั้งนี้ สำหรับคนที่จำเป็นต้องตัดสินใจในส่วนที่เป็นสัญญาประชาคม รอลว์สเสนอแนะให้ใช้แนวความคิดที่เรียกว่า “ปกปิดความไม่รู้” (veil of ignorance) ซึ่งหมายถึงว่าบุคคลแต่ละคนจะต้องเลือกกฎกติกาที่จะดำรงชีวิตอยู่ โดยปราศจากความรู้ว่า ตนเป็นคนร่ำรวยหรือเป็นคนยากไร้ในสังคมนั้น สถานะตรงนี้ รอลว์สเรียกมันว่า “ตำแหน่งจุดกำเนิด” (Original Position)
ปัจเจกชนผู้หนึ่งผู้ใดที่อยู่ในตำแหน่งจุดกำเนิด จะเลือกสังคมในตำแหน่งที่อาจจะเลวร้ายที่สุด ซึ่งเท่าที่เขาหรือเธอพอจะล่วงรู้ได้คือ สถานการณ์ที่เขาหรือเธอเผชิญอยู่อาจจะยังดีกว่าสถานการณ์เลวร้ายในระบบของผู้อื่น รอลว์สเห็นว่า ผลที่เกิดขึ้นก็คือ คนที่มีความยากลำบากที่สุดจะได้รับการคุ้มครองดูแลอย่างดีที่สุด คนที่ยากไร้ที่สุดในสังคมจะได้รับการยกระดับความเป็นอยู่ให้สูงขึ้นกว่าเดิม ความไม่เสมอภาคเท่าเทียมไม่ได้ถูกขจัดออกไป ทว่านำมาให้แก่ผู้ที่มีความยากไร้ขาดแคลนและมีความต้องการอย่างที่สุด กระนั้นก็ตาม ความไม่เท่าเทียม-ที่เราต้องให้คนยากไร้มากกว่าคนอื่นนั้น ก็จะต้องอยู่ในระดับน้อยที่สุดเท่าที่จะกระทำได้
ผลงานระยะหลังของจอห์น รอลว์ส เป็นการเสนอแนะว่าสังคมที่มีความเป็นพหุลักษณ์ (Pluralistic society) สามารถที่จะเป็นสังคมที่มีความยุติธรรมสำหรับสมาชิกทุกคนในสังคม เขาเสนอความเห็นว่า สาธารณชนควรจะค้นหาคำตอบอย่างมีเหตุผล โดยหลีกเลี่ยงเหตุผลในเชิงศาสนาเข้มข้นหรือเหตุผลตามลัทธิปรัชญาต่างๆ รอลว์สนับถือแนวคิดของคานท์ (Kant) เป็นอย่างยิ่ง เขายกความคิดของคานท์มากล่าวว่า ตามหลักการของประชาธิปไตยเสรีที่มีเหตุผลอันรับรู้กันแพร่หลาย เราพึงหลีกเลี่ยง “สงคราม” อย่างที่สุด
จอห์น รอลว์สได้รับการวิจารณ์ว่า แนวความคิดของเขาเป็นแนวคิดเฟ้อฝันแบบยูโธเปียที่ไม่อาจจะคาดหวังผลได้แท้จริง – เป็นความฝันลมๆ แล้งๆ เหมือนการมองโลกด้วยสายตาของเด็กไร้เดียงสา (Damon Linker, 2000, National Review) บางท่าน อาทิ นักปรัชญาแนวอนุรักษ์นิยมที่ชื่อ โรเบอร์ต โนซิก (Robert Nozick) มองว่าข้อคิดเห็นของรอลว์สมีลักษณะของนักปรัชญาความเท่าเทียมที่ไร้สาระ ทว่ามีผลสะเทือนไปยังหนังสือหรือบทความมากกว่า 5,000 เล่ม หนังสือของรอลว์สขายได้มากกว่า 200,000 เล่ม นับเป็นหนังสือวิชาการที่ขายดีที่สุดเล่มหนึ่ง
ผู้อ่านหนังสือของเขาพากันประทับใจกันอย่างสุดๆ กับความฉลาดแหลมคมและความชัดเจนในเชิงจริยธรรมของเขา เบน โรเจอร์ส (Ben Rogers, 1999, The New Statesman) กล่าวยกย่องว่า จอห์น รอลว์สเป็นนักปรัชญาที่พูดภาษาอังกฤษที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักปรัชญารุ่นเดียวกันกับเขา เขาแสดงการผสมผสานการทดลองทางความคิดอย่างหาญกล้า มีความแกร่งแข็งของแนวความคิด และจินตนาการเชิงประวัติศาสตร์ที่เยี่ยมยอด งานของเขาถือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นความคิดวิเคราะห์ทางการเมืองที่สำคัญ
locke and rousseau 在 林輝:旅遊寫作人 Facebook 的精選貼文
人道干預的議題,本來就是人權與主權概念的衝突。早前讀前聯合國秘書長安南自傳《Interventions: a life in war and peace》,他提及上任之初首個挑戰,就是處理北約未曾獲得安理會同意出兵參與科索沃戰事。其時從未有秘書長對未經安理會同意的「非法軍事行動」表示認同,然而安南掙扎良久,依然決定公開表示「there are times when the use of force is legitimate in the pursuit of peace」(當目的是追求和平的時候,使用武力有時可以是合法的)。美國的軍事介入的確解救了科索沃,然而同時打開了一道關不上的權力大門,加強了所謂美國例外論(American Exceptionalism)的合理性。
《國際視野﹕一無所有的生命——戰火之際說人權》
刊於明報星期日生活 E04 01.09.2013
(按:昨晚在沙漠裡看著滿天星塵,不禁想到不遠處敘利亞的人們,不知他們看著這一片銀河與星海,有甚麼感想?我們永遠都不能觸及那樣的,關乎生死與流離的苦痛。流星劃過,我還是許願世界和平,但願有日成真。)
【明報專訊】在土耳其東南部,敘利亞難民要是聚在一起的話,是可以輕易分辨出來的。阿拉伯人相對黝黑的膚色,孩子那張分不清是髒還是日曬不均勻的臉,流離生活的艱困在女人頭巾下的臉刻鑄的憔悴與苦澀,他們每每見人就急於掏出來說明身分的暗紅色敘利亞護照。現今世界上再沒有哪個族群,能如此徹底而完整地呈現阿甘本的裸命(bare life)概念。不管左翼右翼,沒有人能否認眾生皆有基本人權,有生存及獲得溫飽的權利;然而沒有了國家的羽翼保護,這些本應為先驗的權利,竟然蕩然無存。而這些裸命卻又無法脫離法律與社會的脈絡存在,於是成為了國界與國界之間,一條又一條一無所有的,被剝淨剝光的生命。
一場於大馬士革郊區的化學武器攻擊,終於將敘利亞曠日持久的內戰帶返國際頭條;雖然執筆之時,英國國會下議院已否決軍事介入敘利亞,但奧巴馬政府表示將自行懲罰阿薩德政府。美國的人道軍事干預現時當然因為伊拉克「不存在的WMD(Weapons of Mass Destruction)」而惡名昭著,然而上世紀末,克林頓政府聯同北約轟炸南盟,將科索沃的阿爾巴尼亞人從一場種族清洗中解救出來,並且得以脫離塞爾維亞獨立成國,卻是他任內最叫人稱頌的功績之一。親眼目睹過敘利亞難民的生活條件,或看過化武攻擊後屍橫遍野的新聞圖片後,似乎難否定外國介入的必要性。然而把洋蔥的皮剝開,思考所謂人道干預背後的哲學或法理支持,到底對二十一世紀的戰爭與和平極為重要。
幾乎沒有人能夠否定人權是具有原初性的,認為人類應有自然權利的哲學家隨手捻來,洛克(John Locke)和盧梭(Jean Jacques Rousseau)就是例子。然而主權的概念只不過能夠追溯至四百年前。十六世紀早期,馬丁路德推行宗教改革,銳意推翻羅馬天主教教廷,歐洲自始成為天主教徒與新教徒的戰場達三十年。戰爭結束的和約稱為《威斯特伐利亞和約》(The Peace Treaty of Westphalia),確立了國際社會以主權國家為單位的模式,隨神權衰落,世俗化的所謂民族國家由此興起。及後十八世紀,由狄德羅(Denis Diderot)和盧梭等領頭的百科全書學派出現,歐洲進入了啟蒙時期,對於國家體制開始批評,削弱了君權且逐漸肯定了個人和公民權利。今時今日,「外國勢力不得干預我國內政」與「必須尊重國家主權」等,已經成為了不少獨裁政權的慣用套語;然而追本溯源,主權本無神聖意義,只是歷史的偶然產物而已。
人道語言永遠攙雜政治利益
人道干預的議題,本來就是人權與主權概念的衝突。早前讀前聯合國秘書長安南自傳《Interventions: a life in war and peace》,他提及上任之初首個挑戰,就是處理北約未曾獲得安理會同意出兵參與科索沃戰事。其時從未有秘書長對未經安理會同意的「非法軍事行動」表示認同,然而安南掙扎良久,依然決定公開表示「there are times when the use of force is legitimate in the pursuit of peace」(當目的是追求和平的時候,使用武力有時可以是合法的)。美國的軍事介入的確解救了科索沃,然而同時打開了一道關不上的權力大門,加強了所謂美國例外論(American Exceptionalism)的合理性。美國在1999年聯同北約繞過安理會出兵,在2003年的伊拉克戰事照辦煮碗重做,然而當時出兵證據卻薄弱如紙,而且伊戰十年,美國至今仍未回復該國秩序。以人道干預為藉口合理化單邊軍事行動和對外侵略,似乎是許多反戰團體懷疑人道干預原則的原因。如果說對於人權的侵害有所謂程度之分,如奧巴馬為敘利亞設下化武的「red line」,那麼九十年代國際社會對盧旺達的大屠殺的長期冷漠,仍是難以說得過去。當時聯合國為了避免國際社會的壓力,遲遲不肯將胡圖族人對圖西族人的暴行定性為「種族清洗」。在現實世界,人道語言永遠攙雜了國家與地緣政治利益,而當中有不能否認的雙重標準與虛偽;然而想及當年的盧旺達大屠殺,當圖西族人面對種族清洗的無垠黑暗之時,國際社會難道還要在巨大的人道危機下等待安理會首肯,才得以履行道德責任?否定了人道干預的合法性,卻無法否定它的作用,大抵就是現代國際社會的一個大難題。
國際法學家亨金(Louis Henkin)在《權利的時代》裏說過﹕「在我們的時代,一個權利的時代,權利的觀念已實現了從社會到社會的超越,它不考慮國界,在一些有意義的方面破壞了國家的分離和獨立。人權已『國際化』並成為國際化和國際政治的一個主題。」然而如文首提及的難民困境,人權在哲理上或許是天賦的,但沒有了某種法律與權力的大傘保護,每個人或許都是一條裸命而已。人權至今仍只能在紙上超越國界,在如此一個不完美的,非烏托邦的世界,要是堅持人道干預動機的純粹,會否是過於迷信理想世界的左派,脫離了眼前的血腥與現實?
離家避難 就此流放兩年
在收容敘利亞難民的鄰國,隨便問一個難民,大概都能夠告訴你他們從老家逃出來的故事。我在土東庫爾德工人黨大本營城市Hakkari,聽從阿勒坡逃出來的男子用手示範炸彈如何從天上掉下來,分不清那支屬於政府軍,那支屬於反對派系。原本以為只是暫時離家避難,誰知就此流放兩年,每個角都起了褶的暗紅色護照成為國族身分的唯一佐證。不知他們知悉美軍將轟炸大馬士革,會作何感想?
文 陳婉容
編輯 劉逸芝
fb﹕www.facebook.com/SundayMingpao
locke and rousseau 在 Rick Steves - Rousseau vs. Locke, Europe vs. USA, and the ... 的推薦與評價
Rousseau vs. Locke, Europe vs. USA, and the Social Contract We all want liberty. The big question: How do we get it? ... <看更多>