「跑完課表後,發現沒有什麼進步嗎?」: 談「個體差異」以及「訓練無效者」(下)
💡跑「別人」的課表,可是一點用處都沒有?乾脆不要練好了?
你曾經嘗試跑「別人」的課表,然後發現自己並沒有跟她/他一樣進步嗎?如果你這時讀到「訓練無效者」的研究,是否會開始懷疑自己就是那種「練了也沒用」的人呢?
「訓練無效者」(non-responder) 相關的研究,在探討的是:世界上會不會有些人,對於運動訓練「沒有反應」。思考看看:有沒有可能,雖然有人想要變得更健康、體能更好,運動訓練卻可能根本沒有效,無法為他們帶來甚麼改變?
💡怎麼看待結論是「運動無用」的研究?
運動有可能「沒有用」嗎?看到這些研究時,有幾個思考的切入點。
首先,做任何量測時,都要記得,每個人的表現本來就有「正常」的差異(每天狀況本來就有可能不同),而儀器本身也有內建的量測誤差。許多聲稱有氧訓練無法為受試者帶來身體改變的研究,並沒有考量這些「內建」的差異(註1),所以在計算數據時,沒有試著加入統計工具來處理這些誤差。再來就是,選擇的評估方式,可能無法良好地量測一個人在接受訓練後的改變(例如:最大攝氧量的量測會為身體帶來極大的不適,所以一個人有可能接受訓練後生理方面有很多進展,但因為非生理性的原因,例如意志力,而在接受測驗時,表現不如預期)。最後,在只使用一項量測指標時,比較容易把受試者歸類為「訓練無效者」。如果在訓練計劃的前後,使用兩個以上的指標,會發現受試者至少ㄉ有一樣指標有進步。
💡課表真的對我沒有用啊!我可以怎麼做?
如果某個訓練計畫無法為你帶來成效,以下是幾個被證實可以消滅「訓練無效者」的方式:
👉最簡單的是:增加訓練計劃長度。本來是12周的話,增加到16周;本來16周的話,增加到24周。
👉增加訓練量:這裡的訓練量是用有氧訓練消耗的總卡路里來衡量。(註2~註4)
👉基本上,增加訓練的「劑量」(不管是每次訓練的時間長度,或是增加訓練強度,或是兩者皆調整),都能讓「訓練不了」的人,帶來訓練成效。(註5)
👉改變訓練種類:本來接受有氧訓練但沒有進展的受試者,在接受肌力訓練後,有氧能力進步了。
👉考量造成個體本身差異的因素,包括:營養、日常生活壓力、睡眠、訓練資歷、原先的體能狀態等等。
💡結語:「訓練無效者」並不存在!
就目前的研究看起來,訓練無效者並不存在。換句話說,每個人都能經訓練改善自己的運動能力。
至於要如何更快速地地找出有效的個人訓練計劃?其實基因檢測是目前最有潛力的領域,因為每個人對於訓練的成效,有一大部分是基因決定的!只是不知道甚麼時候會發展到可以廣泛應用的程度了!
註1
Williamson, Philip J., Greg Atkinson, and Alan M. Batterham. "Inter-individual responses of maximal oxygen uptake to exercise training: a critical review." Sports Medicine 47.8 (2017): 1501-1513.
註2
Sisson, Susan B., et al. "Volume of exercise and fitness non-response in sedentary, post-menopausal women." Medicine and science in sports and exercise 41.3 (2009): 539.
註3
Ross, Robert, Louise de Lannoy, and Paula J. Stotz. "Separate effects of intensity and amount of exercise on interindividual cardiorespiratory fitness response." Mayo Clinic Proceedings. Vol. 90. No. 11. Elsevier, 2015.
註4
Astorino, Todd A., and Matthew M. Schubert. "Individual responses to completion of short-term and chronic interval training: a retrospective study." PLoS One 9.5 (2014): e97638.
註5
Astorino, Todd A., and Matthew M. Schubert. "Individual responses to completion of short-term and chronic interval training: a retrospective study." PLoS One 9.5 (2014): e97638.
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「mayo clinic proceedings」的推薦目錄:
- 關於mayo clinic proceedings 在 Mona's Running Lab Facebook 的精選貼文
- 關於mayo clinic proceedings 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於mayo clinic proceedings 在 食力foodnext Facebook 的最佳貼文
- 關於mayo clinic proceedings 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
- 關於mayo clinic proceedings 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於mayo clinic proceedings 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於mayo clinic proceedings 在 Mayo Clinic Proceedings - Home | Facebook 的評價
- 關於mayo clinic proceedings 在 Mayo Proceedings - YouTube 的評價
mayo clinic proceedings 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
"ดมตดแล้วได้กลิ่น ไม่ได้แปลว่า ยังไม่ติดโรคโควิด"
ตอนนี้เห็นหลายๆ คนเล่นมุกทำนองนี้กัน ว่า "ให้ลองดมกลิ่นของอะไรที่เหม็นๆ แล้วถ้าได้กลิ่น แสดงว่าคุณยังไม่ติดโควิด" !? .... ไม่ถูกนะครับ !! อาการไม่รับรู้กลิ่น (หรือไม่รับรู้รสอาหาร) เป็นลักษณะอาการหนึ่งที่ผู้ติดเชื้อไวรัสโรคโควิด-19 "บางคน" อาจจะเป็นได้ แต่ก็ไม่ใช่ว่าทุกคนจะเป็น / มีอาการของโรคทางเดินหายใจอื่นๆ ที่ทำให้เราไม่ได้กลิ่นเช่นกัน และแถมผู้ติดเชื้อไวรัสเกินครึ่งหนึ่ง จะไม่มีอาการป่วยใดๆ ของโรคเลย (แต่แพร่เชื้อโรคได้)
1. โรคโควิด-19 นั้นเป็นโรคทางเดินหายใจที่เกิดจากเชื้อโคโรน่าไวรัส โดยผู้ติดเชื้ออาจจะมีอาการแตกต่างกันหลากหลายกันไปในแต่ละคน เช่น นอกจากจะเป็นไข้ ไอจาม หายใจขัดแล้ว "บางคน" ยังอาจจะสูญเสียความสามารถในการดมกลิ่นและรับรู้รสไปชั่วคราวด้วย แม้ว่าจะหายใจไม่ตัดขัดหรือไม่มีน้ำมูกก็ตาม
2. แต่คนที่ป่วยเป็นโรคติดต่อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน เช่น หวัดทั่วไป หรือไข้หวัดใหญ่ นั้น ก็มีอาการผิดปรกติกับการได้กลิ่นหรือรับรสได้เช่นกัน คือ โดยเฉลี่ยแล้ว กว่า 60% ของคนที่เป็นหวัดและเป็นไซนัสอักเสบนั้น ก็มีอาการเช่นนี้ได้
3. แต่กระนั้น เราก็อาจจะเอาเรื่องการที่ไม่ได้กลิ่นไม่รับรู้รสนี้ มาเป็นสัญญาณเตือน ว่าเป็นโรคโควิด COVID-19 ได้ โดยจากการศึกษาวิเคราะห์เมื่อไม่นานมานี้ (https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/32762282/) ที่ประเมินผลการวิจัย 8 เรื่องกับคนไข้โรค 11,054 คน พบว่าอาการไม่ได้กลิ่นไม่รับรู้รสนั้น มักจะเกิดขึ้นก่อนอาการอื่นๆ ของโรค และยังมีงานวิจัยที่ระบุด้วยว่า คนที่มีอาการเช่นนี้ มักจะเป็นคนที่ป่วยไม่มาก ไม่ใช่กลุ่มที่ป่วยรุนแรงจนจะต้องเข้าโรงพยาบาล (https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/32329222/)
4. มีหลายสมมติฐานที่อธิบายว่า ทำไมผู้ที่ติดเชื้อโรคโควิด-19 ถึงได้สูญเสียความสามารถในการดมกลิ่นรับรส คือ
4.1 เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ที่ก่อให้เกิดโรคโควิด-19 นั้นไปจับกับโปรตีนที่เรียกว่า ACE2 ซึ่งอยู่บนพื้นผิวของเซลล์เจ้าบ้าน (เช่น เซลล์ในระบบทางเดินหายใจของคนเรา) โปรตีน ACE2 นี้พบมากบนเซลล์ที่อยู่ในจมูกและปากของเรา ดังนั้น จึงเป็นไปได้ ที่ไวรัสอาจจะสามารถโจมตีโดยตรงเข้าที่เซลล์ประสาทที่เชื่อมโยงกับสัมผัสด้านกลิ่นและรส
4.2 แต่งานวิจัยเมื่อไม่นานมานี้ (https://advances.sciencemag.org/content/6/31/eabc5801) ไม่ค่อยเห็นด้วยกับสมมติฐานดังกล่าว เพราะนักวิจัยไม่พบโปรตีน ACE2 บนเซลล์ประสาทที่ใช้รับรู้กลิ่น แต่พบโปรตีนบนเซลล์ที่อยู่โดยรอบและคอยสนับสนุนเซลล์ประสาท จึงเป็นไปได้ว่า เซลล์โดยรอบ เหล่านี้ต่างหากที่ติดเชื้อไวรัสและทำให้เกิดการอักเสบขึ้นในระดับที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการดมกลิ่น
4.3 ยังไม่ค่อยมีงานวิจัยที่ศึกษาว่าทำไมโรคโควิด-19 ถึงทำให้เกิดอาการไม่รับรู้รสชาติอาหาร แต่คาดว่า การที่ผู้ป่วยโรคโควิด-19 บางคนไม่สามารถรับรู้รสได้นั้น ก็เป็นผลต่อเนื่องตามมาจากการสูญเสียความสามารถในการดมกลิ่น ซึ่งเป็นสองสัมผัสที่เชื่อมโยงกัน (https://www.bmj.com/content/370/bmj.m2808)
5. แล้วอาการไม่ได้กลิ่นไม่รู้รสนี้ พบได้บ่อยแค่ไหนในผู้ติดเชื้อโรคโควิด-19 ? คำตอบคือ มีหลายรายงานที่ให้คำตอบนี้ ซึ่งเป็นคำตอบที่หลากหลายแตกต่างกันมาก
5.1 การศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Mayo Clinic Proceedings (https://www.mayoclinicproceedings.org/article/S0025-6196(20)30546-2/pdf) ซึ่งได้ทบทวนงานวิจัยที่ผ่านมากว่า 24 เรื่องจากผู้ที่ได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อโรคโควิด-19 กว่า 8 พันราย พบว่า
5.2 มีการรายงานถึงความถี่ในการพบอาการไม่ได้กลิ่น หลากหลายค่า ตั้งแต่ 3.2% จนถึง 98.3% โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 41%
5.3 มีการรายงานถึงความถี่ในการพบอาการไม่รับรู้รส หลากหลายค่า ตั้งแต่ 5.6% จนถึง 62.7% โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 38.2%
5.4 ผู้สูงอายุ จะพบอาการดังกล่าวน้อยกว่า คนหนุ่มสาว
5.5 ไม่มีความแตกต่างกันในเรื่องเพศชายหรือเพศหญิง (แต่ก็มีงานวิจัยอื่นๆ ที่บอกว่ามีแนวโน้มจะเกิดได้ในเพศหญิง มากกว่าเพศชาย https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7265845/)
ข้อมูลจาก https://www.healthline.com/health/coronavirus-loss-of-taste-loss-of-smell#how-common
mayo clinic proceedings 在 食力foodnext Facebook 的最佳貼文
【#先搞清楚什麼是無麩質再來決定吧!】
美國曾針對 #無麩質飲食 進行調查,結果發現5年間,沒有 #乳糜瀉 卻仍拒吃麩質食物的人幾乎攀升了3倍!當中更有78%的人以為無麩質飲食更健康,覺得吃了會變瘦...
#台灣是不是也有這樣的盲目跟風呢?
-
🍫為什麼情人節一定要送巧克力?
http://bit.ly/2wgGol6
mayo clinic proceedings 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
mayo clinic proceedings 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
mayo clinic proceedings 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
mayo clinic proceedings 在 Mayo Proceedings - YouTube 的推薦與評價
We invite viewers to subscribe to our channel.The flagship journal of Mayo Clinic and one of the premier peer-reviewed clinical journals in general medicine ... ... <看更多>
mayo clinic proceedings 在 Mayo Clinic Proceedings - Home | Facebook 的推薦與評價
Mayo Clinic Proceedings is a premier general medicine journal. Submissions are welcome from authors worldwide. · Mayo Clinic Proceedings is a peer-reviewed ... ... <看更多>