เข้าใจ Linked List ในวิชา Data structure ด้วยภาพเดียว!
Linked List คือโครงสร้างข้อมูลประเภทหนึ่ง ลักษณะโครงสร้างชนิดนี้ จะมี node เก็บข้อมูล แถมมันยังมีตัวชี้ หรือ pointer ชี้ไปยัง node ถัดไป
โดย node ตัวสุดท้ายจะถือว่าไม่มีค่า เรียกว่า null ...ดังนั้น ถ้าลอกข้อสอบต่อๆ กันแบบ Linked List ในรูปนี้ ได้ศูนย์คะแนน นะครัช
โดยจุดเด่นของ Linked List สามารถเพิ่มหรือลดข้อมูลได้ง่าย
ส่วนข้อเสียคือ เวลาลอกข้อสอบ ..เฮยไม่ช่าย เวลาเข้าถึงข้อมูลจะช้า เพราะต้องไล่จาก Node ตัวแรก กว่าจะไปหา Node ที่ต้องการเจอ
ดังนั้น Linked List จึงเหมาะกับงานที่จำนวนข้อมูลไม่แน่นอน สามารถเพิ่ม-ลบ ข้อมูลได้บ่อยๆ แต่ไม่จำเป็นต้องเข้าถึงข้อมูลบ่อยๆ
นอกจากนี้แล้ว Linked List ยังถูกนำมาดัดแปลงเป็นโครงสร้างประเภทอื่นๆ เช่น Queue , Stack เป็นต้น นับว่าเป็นโครงสร้างที่พบบ่อยเวลาเขียนโปรแกรม (ปกติแต่ละภาษาก็จะมีไลบรารี่ หรือวิธีการใช้งาน Linked List อยู่แล้ว ไม่ยาก)
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅奮game王紫楓,也在其Youtube影片中提到,#軟體工程師 👍歡迎訂閱!! 🔔🔔按下小鈴鐺,就可以一有新影片就搶先看! [軟體工程師雜談] 輕鬆搞懂資料結構: 樹(tree) |IT鐵人賽: 從零開始搞懂寫程式,資工系4年最重要的學科,資料結構,演算法,物件導向 IT鐵人賽網址:https://ithelp.ithome.com.tw/u...
node data structure 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳解答
เข้าใจ Linked List ในวิชา Data structure ด้วยภาพเดียว!
Linked List คือโครงสร้างข้อมูลประเภทหนึ่ง ลักษณะโครงสร้างชนิดนี้ จะมี node เก็บข้อมูล แถมมันยังมีตัวชี้ หรือ pointer ชี้ไปยัง node ถัดไป
โดย node ตัวสุดท้ายจะถือว่าไม่มีค่า เรียกว่า null ...ดังนั้น ถ้าลอกข้อสอบต่อๆ กันแบบ Linked List ในรูปนี้ ได้ศูนย์คะแนน นะครัช
โดยจุดเด่นของ Linked List สามารถเพิ่มหรือลดข้อมูลได้ง่าย
ส่วนข้อเสียคือ เวลาลอกข้อสอบ ..เฮยไม่ช่าย เวลาเข้าถึงข้อมูลจะช้า เพราะต้องไล่จาก Node ตัวแรก กว่าจะไปหา Node ที่ต้องการเจอ
ดังนั้น Linked List จึงเหมาะกับงานที่จำนวนข้อมูลไม่แน่นอน สามารถเพิ่ม-ลบ ข้อมูลได้บ่อยๆ แต่ไม่จำเป็นต้องเข้าถึงข้อมูลบ่อยๆ
นอกจากนี้แล้ว Linked List ยังถูกนำมาดัดแปลงเป็นโครงสร้างประเภทอื่นๆ เช่น Queue , Stack เป็นต้น นับว่าเป็นโครงสร้างที่พบบ่อยเวลาเขียนโปรแกรม (ปกติแต่ละภาษาก็จะมีไลบรารี่ หรือวิธีการใช้งาน Linked List อยู่แล้ว ไม่ยาก)
node data structure 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的精選貼文
เข้าใจ Linked List ในวิชา Data structure ด้วยภาพเดียว!
Linked List คือโครงสร้างข้อมูลประเภทหนึ่ง ลักษณะโครงสร้างชนิดนี้ จะมี node เก็บข้อมูล แถมมันยังมีตัวชี้ หรือ pointer ชี้ไปยัง node ถัดไป
โดย node ตัวสุดท้ายจะถือว่าไม่มีค่า เรียกว่า null ...ดังนั้น ถ้าลอกข้อสอบต่อๆ กันแบบ Linked List ในรูปนี้ ได้ศูนย์คะแนน นะครัช
โดยจุดเด่นของ Linked List สามารถเพิ่มหรือลดข้อมูลได้ง่าย
ส่วนข้อเสียคือ เวลาลอกข้อสอบ ..เฮยไม่ช่าย เวลาเข้าถึงข้อมูลจะช้า เพราะต้องไล่จาก Node ตัวแรก กว่าจะไปหา Node ที่ต้องการเจอ
ดังนั้น Linked List จึงเหมาะกับงานที่จำนวนข้อมูลไม่แน่นอน สามารถเพิ่ม-ลบ ข้อมูลได้บ่อยๆ แต่ไม่จำเป็นต้องเข้าถึงข้อมูลบ่อยๆ
นอกจากนี้แล้ว Linked List ยังถูกนำมาดัดแปลงเป็นโครงสร้างประเภทอื่นๆ เช่น Queue , Stack เป็นต้น นับว่าเป็นโครงสร้างที่พบบ่อยเวลาเขียนโปรแกรม (ปกติแต่ละภาษาก็จะมีไลบรารี่ หรือวิธีการใช้งาน Linked List อยู่แล้ว ไม่ยาก)
Understand linked list in data structure with one picture!
Linked list is a type of data structure. This type of structure will have node storage, plus it has a pointer or pointer pointer to the next node.
By Node, the last one will be worthless. It's called null... so if you peel the exam, link list in this photo, you will get zero points for cuddle hours.
The highlight of linked list can easily add or reduce data.
The disadvantage is that when I peel the exam.. Hey, it's not the time to access the information, it will be slow because I have to chase the first node until I find
Therefore, linked list is suitable for jobs where uncertain data can be added - delete data often, but it doesn't need to access the information often.
Also, linked list has been modified into other types of structures such as queue, stack, etc. It is a common structure. Programming Time (usually has a library or how to use linked list. It's not difficult)Translated
node data structure 在 奮game王紫楓 Youtube 的最佳貼文
#軟體工程師
👍歡迎訂閱!! 🔔🔔按下小鈴鐺,就可以一有新影片就搶先看!
[軟體工程師雜談] 輕鬆搞懂資料結構: 樹(tree) |IT鐵人賽: 從零開始搞懂寫程式,資工系4年最重要的學科,資料結構,演算法,物件導向
IT鐵人賽網址:https://ithelp.ithome.com.tw/users/20128489/ironman/3093
程式新手學習發問區,問都給問!!: https://www.facebook.com/groups/914880435669061
紫楓FB專頁: https://www.facebook.com/tbpfs2/
紫楓blog: https://tbpfs1.blogspot.com/
斗內專線: https://pse.is/KUYMP
部分圖片來源: http://l.ovoy.click/vc97y