【藥事知多D】止痛藥知多D:Tramadol
常用止痛藥一般主要可以分為撲熱息痛(Paracetamol / Acetaminophen)、非類固醇消炎止痛藥(Non-steroidal Anti-inflammatory Drugs, NSAIDs)兩類。
不過除此之外,其實還有鴉片類藥物(Opioid)。
其中較常用的鴉片類藥物主要是Tramadol。
Tramadol主要透過作用於μ-鴉片類受體(μ-opioid Receptor),同時抑制去甲腎上腺素(Norepinephrine / Noradrenaline)、血清素(Serotonin)的再回收,從而直接切斷痛感的傳遞,截斷疼痛的感覺,在相當程度上,干擾大腦,麻痺神經,讓大腦感受不到疼痛的感覺,簡單說,便是讓用藥者「不知痛」。
所以相較非類固醇消炎止痛藥而言,Tramadol只能止痛,消炎的效果一般不大,所以只是一種治標不治本的緩兵之計而已。
不過當用藥者真的痛到爆表,「無Feel」總比「有Feel」好。
至於Tramadol一般較適用於紓緩中度至中度嚴重的痛症(Moderate To Moderately Severe Pain)。[1]
實際上,Tramadol一般可以用來KO慢性疼痛(Chronic Pain),例如神經痛(Neuropathic Pain)。[2]
至於常見的副作用主要是眩暈、噁心、便秘。[1]
還有嗜睡。[1]
不過說到嗜睡,痛固然未必會讓人痛不欲生,不過偶爾卻可能會讓人痛不能眠,Tramadol反而可能會幫助用藥者入睡。
所以這到底算不算是副作用,便真的見仁見智。
(如欲了解更多用藥資訊,歡迎看看「小小藥罐子」網誌。)
💊💊💊💊💊💊💊
BLOG➡️http://pegashadraymak.blogspot.com/
IG➡️https://www.instagram.com/pegashadraymak/
YT➡️https://www.youtube.com/channel/UCQOMojMd6q7XnESMWwldPhQ
📕📕📕📕📕📕📕
著作➡️藥事知多D、用藥知多D、藥房事件簿、家居用藥攻略(各大書店有售)
Reference:
1. McCarberg B. Tramadol extended-release in the management of chronic pain. Ther Clin Risk Manag. 2007;3(3):401-410.
2. Grond S, Sablotzki A. Clinical pharmacology of tramadol. Clin Pharmacokinet. 2004;43(13):879-923.
opioid receptor 在 Dr 文科生 Facebook 的最讚貼文
【偽科學】厲害了AQ水
Point form 鞭屍
1. 人體免疫力充電器?
-》一個「消毒」產品到底點樣幫免疫力充電?if anything,經常消毒係會令免疫系統停止發展,免疫系統要發展一係就靠疫苗,一係就靠自身感染再建立免疫蛋白,一係就靠外來供應如母乳或血液產品(IVIG)
2. 舒緩鼻敏感?
-》其實任何清潔用品做好個人衛生都可以減輕鼻敏感的徵狀,經常清洗枕頭、床單、被鋪、房間環境和衣服去除致敏源都可以做到呢個效果。而AQ水到底點樣舒緩鼻敏感,又係無解釋過。
3. 舒緩痛楚?
-》舒緩邊度嘅痛楚?點樣舒緩?咩原理咩pathway?局部性定系統性止痛?block prostaglandin定係Cyclooxygenase?opioid receptor定係electrolyte?止痛效果有幾耐?又係無解釋過。
4. 防止交叉感染?
-》 點樣防止交叉感染?AQ知唔知咩係交叉感染?你噴面噴口到底點樣防止交叉感染?你噴喉嚨噴眼噴口噴鼻噴到黏膜全爛,病人嘅分泌物都一樣係會繼續帶有病毒,一樣係口水噴到你眼口鼻就足以感染。如果你話用黎消毒抹枱所以減少交叉感染,就唔該乾脆話枝水係抹枱用,而唔係講到「人體免疫充電器」
5. 這種偽科學通常都有個pattern,就係永遠都係唔解釋,例如
「枝水可以消炎」
「枝水可以紓緩痛楚」
「枝水可以救命」
「枝水可以預防感染」
嗯,訂閱文科生可以身體健康,長命百歲,預防武漢肺炎,胃口大增,早日出pool,重拾青春,生活美滿,連生貴子,下刪100個好處🤡
opioid receptor 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
"เจ็บคอ ตกลงควรกินของเย็นหรือของร้อน ดีกว่ากัน ? "
เวลาไม่สบาย ถ้าแค่เป็นหวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล ก็ยังพอสู้ไหว กินยาลดน้ำมูก แป้บเดียวก็ดีขึ้น แต่ที่ทรมานกว่านั้นคือ ถ้ามีอาการ "เจ็บคอ" ด้วย จะลำบากกับชีวิตของคนที่มีอาชีพต้องใช้เสียงพูดอยู่ทุกวัน ... ปัญหาคือ เวลาเจ็บคอ เริ่มสับสนในคำแนะนำสมัยนี้ ทั้งมีทั้งคนสั่งห้ามกินน้ำเย็น-ให้กินแต่น้ำอุ่น ไปจนถึงให้กินน้ำเย็นได้ หรือกินไอศกรีมยิ่งดี ... ตกลงว่าอย่างไหนดีกว่ากัน กันแน่ ?
คำตอบคือ ให้ดูก่อนว่าเจ็บคอด้วยสาเหตุอะไร แล้วค่อยหาทางลดอาการเจ็บคอนั้น ให้เหมาะสมกับสาเหตุ
คุณหมอ ธเนศ แก่นสาร จากภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้อธิบายไว้ในรายการ RAMA CHANNEL (https://youtu.be/6_QQTNUHSKM) ว่า
กรณีแรก ถ้าเจ็บคอเพราะเป็นหวัด ต้องดูก่อนว่าเป็นหวัดตามฤดูกาล ธรรมดาๆ ที่เกิดจากเชื้อไวรัส หรือว่าเป็นหวัดแล้วมีการติดเชื้อแบคทีเรียด้วย
ถ้าเป็นหวัดเนื่องจากเชื้อไวรัส ทำให้มีน้ำมูกไหล ไอจาม เสมหะเยอะ แบบนี้ควรเลือกจิบน้ำอุ่นจะดีกว่า เพราะน้ำอุ่นช่วยละลายเสมหะได้ การดื่มน้ำมากๆ ยังช่วยลดการระคายเคืองของคอ และบรรเทาอาการไอได้ .. โดยไม่ต้องกินยาปฏิชีวนะ ยาฆ่าเชื้อโรคอะไร เพราะยาไม่สามารถจะไปฆ่าเชื้อไวรัสได้
แต่ถ้าเป็นหวัดเนื่องจากเชื้อแบคทีเรีย ทำให้อาการเจ็บคอเพราะคออักเสบ (สังเกตว่ามีน้ำมูก มีเสมหะสีเขียว) ก็ควรจะไปพบแพทย์ และกินยาฆ่าเชื้อตามที่หมอสั่ง กินยาให้ตรงเวลาและให้กินจนหมด แม้ว่าจะอาการดีขึ้นแล้ว เพื่อลดความเสี่ยงของการดื้อยา
กรณีที่สอง ถ้าการเจ็บคอนั้น เกิดจากการ "ทอนซิลอักเสบ (tonsillitis)" ซึ่งต่อมทอนซิลในคอ มีการติดเชื้อโรค จนทำให้อักเสบ บวมแดง หรือเป็นหนอง นอกจากจะต้องกินยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อตามที่หมอสั่งให้แล้ว ควรดื่มน้ำเย็น หรือกินไอศกรีม เพื่อรีบลดอาการบวม อักเสบของต่อมทอนซิลที่เกิดขึ้น
นอกจากนี้ ไม่ว่าจะกรณีใดก็ตาม เราควรจะงดกินของมันและของทอดเมื่อมีอาการเจ็บคออีกด้วย เพราะอาหารที่มันและอาหารทอด อาจทำให้อาการบวมอักเสบนั้น แย่ลงได้
แล้วงานวิจัยในปัจจุบันนี้ พอจะตอบได้มั้ยว่า กินของเย็นหรือกินของร้อน อย่างไหนจะช่วยลดการเจ็บคอได้ดีกว่ากัน ? .. เพื่อตอบคำถามนี้ เราควรเริ่มด้วยการดูกลไกของการเจ็บคอก่อน ว่าเกิดขึ้นอย่างไร
เวลาที่เราเป็นไม่สบาย ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายเราจะตอบสนองต่อเชื้อโรคที่เข้ามา โดยแมคโครฟาจ (Macrophage) ซึ่งเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดที่คอยลาดตระเวนตรวจจับสิ่งแปลกปลอมอย่างเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรีย จะปล่อยสารที่ส่งสัญญาณด้านภูมิคุ้มกัน ออกมากระตุ้นการรับมือกับเชื้อโรค สารดังกล่าวมีชื่อว่า แบรดดี้ไคนิน (bradykinin) และ พรอสตาแกลนดิน อีทู (prostaglandin E2) ซึ่งมันไปกระตุ้นปลายเส้นประสาทที่คอหอยของเรา และทำให้เกิดอาการเจ็บคอขึ้น
ศาสตราจารย์ รอน เอ็คเคิ้ลส์ จากศูนย์โรคหวัดทั่วไป (Common Cold Centre) ในสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (School of Biosciences) แห่งมหาวิทยาลัยคาร์ดิฟฟ์ ได้อธิบายไว้ว่า การกินของเย็นๆ อย่างไอติมหวานเย็น (ice pops) นั้น ช่วยแก้อาการเจ็บคอได้ดี เพราะมันจะทำให้เนื้อเยื่อตรงที่อักเสบในคอนั้น เย็นขึ้น และน่าจะช่วยยับยั้งเส้นประสาทที่รับความเจ็บปวดในลำคอ
ศาสตรจารย์เอ็คเคิลส์ เคยตีพิมพ์บทความเรื่อง A review on the mechanism of sore throat in tonsillitis ในวารสาร The Journal of Laryngology & Otology เมื่อปี 2013 ว่า ไอติมหวานเย็น ช่วยลดอุณหภูมิของปลายเส้นประสาทในคอหอย จึงลดสัญญาณความเจ็บปวดลงได้ แถมยังช่วยกระตุ้นตัวรับสัญญาณ (receptor) ที่ชื่อว่า transient receptor potential melastin 8 ซึ่งสามารถลดความเจ็บปวดลงได้ด้วย
แต่ศาสตรจารย์เอ็คเคิลส์ ก็บอกด้วยว่า การดื่มเครื่องดื่มร้อนๆ นั้น กลับให้ผลดีที่สุด !! เค้าบอกว่า เวลาที่เราเจ็บคอนั้น เมื่อดื่มเครื่องดื่มชนิดต่างๆ เข้าไป รสชาติของเครื่องดื่มนั้นจะช่วยกระตุ้นให้น้ำลายไหลมากขึ้น และน้ำลายจะเข้าไปช่วยหล่อลื่นภายในลำคอ
จากงานวิจัยของเขา เรื่อง The effects of a hot drink on nasal airflow and symptoms of common cold and flu ตีพิมพ์ในวารสาร Rhinology เมื่อปี 2008 ซึ่งศึกษาผู้ป่วยเจ็บคอ จากไข้หวัดธรรมดา (ไม่ใช่ทอนซิลอักเสบ) จำนวน 30 ราย พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่ร้อน เช่น น้ำผลไม้ร้อน (ไม่ได้เขียนชัดว่า ผลไม้อะไร) ช่วยให้ผู้ป่วยลดอาการเจ็บคอได้เร็วกว่า และเป็นระยะเวลาที่นานกว่า
ที่เป็นเช่นนี้ น่าจะเป็นเพราะว่า เครื่องดื่มร้อนๆ นั้นจะมีรสชาติที่น่ากินมากกว่าเครื่องดื่มเย็น เลยยิ่งทำให้การหลั่งของน้ำลายเกิดมากขึ้น และน่าจะไปเพิ่มระดับของสารระงับอาการเจ็บปวด เช่น พวกโอพิออยด์ (opioid) ในศูนย์ความเจ็บปวดของสมองได้ ซึ่งจะส่งผลมากขึ้นตามมา ในการลดอาการเจ็บคอ
(ข้อมูลจาก https://www.medicalnewstoday.com/articles/319896.php#3)
opioid receptor 在 Opioid receptors and brain function - YouTube 的推薦與評價
Opioid receptors and brain function Air date: Wednesday, May 29, 2019, 3:00:00 PMCategory: WALS - Wednesday Afternoon Lectures Runtime: ... ... <看更多>