สิงคโปร์ ประเทศแห่ง ความเท่าเทียม ทางเชื้อชาติ / โดย ลงทุนแมน
สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความหลากหลายด้านเชื้อชาติมากที่สุดแห่งหนึ่ง
โดยจำนวนประชากรกว่า 5.6 ล้านคน แบ่งเป็น
เชื้อสายจีน สัดส่วน 75.9%
เชื้อสายมาเลย์ สัดส่วน 15%
เชื้อสายอินเดีย สัดส่วน 7.5%
และอื่น ๆ สัดส่วน 1.6%
ถึงแม้สิงคโปร์จะเป็นประเทศเดียวในอาเซียน ที่ชาวจีนเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ
แต่ครั้งหนึ่งในอดีต สิงคโปร์ก็เคยมีปัญหาทางด้านเชื้อชาติ
จนทำให้เกิดการปะทะกันระหว่างชาวจีนและมาเลย์
แต่ปัจจุบันปัญหาดังกล่าวได้ถูกแก้ไขจนทำให้ทุกเชื้อชาติในประเทศมีความกลมกลืนกัน
เรื่องราวนี้มีที่มาอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เดิมทีดินแดนแห่งนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ “เทมาเส็ก” ซึ่งมีความหมายว่าเมืองแห่งทะเล
ต่อมาในช่วงปลายศตวรรษที่ 13 เจ้าชายจากอาณาจักรศรีวิชัย
ได้เดินทางมาล่าสัตว์ แล้วพบเห็นสัตว์ชนิดหนึ่ง เกิดเข้าใจผิดว่าเป็นสิงโต
จึงตั้งชื่อเกาะแห่งนี้ว่า “สิงหปุระ” ซึ่งมีความหมายในภาษาสันสกฤตว่า เมืองแห่งสิงโต
ด้วยความที่เป็นเมืองที่มีทำเลดี เป็นทางผ่านของเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ
เกาะสิงหปุระ จึงเป็นที่หมายตาของหลายอาณาจักร มีการเปลี่ยนมือของผู้ปกครองดินแดนเรื่อยมา
ทั้งอาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรมะละกา มาถึงยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก
ก็มีทั้งโปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ และจักรวรรดิอังกฤษ
ที่ได้เข้ามาเป็นเจ้าอาณานิคมในดินแดนแห่งนี้
ท้ายที่สุดจักรวรรดิอังกฤษก็ได้มีการเจรจากับเนเธอร์แลนด์เพื่อที่จะตกลงเขตการปกครองในภูมิภาคนี้ และได้ครอบครองอาณานิคมช่องแคบ ซึ่งประกอบไปด้วย สิงคโปร์ รัฐปีนัง และรัฐมะละกา
โดยสิงคโปร์ได้รับเลือกให้เป็นเมืองหลวงของอาณานิคมแห่งนี้ จึงมีการวางรากฐานทั้งการเมือง การศึกษา และเศรษฐกิจจากอังกฤษ ด้วยทำเลที่ดี สิงคโปร์ก็ได้เติบโตจนกลายเป็นเมืองท่าที่สำคัญของภูมิภาค ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีการอพยพของชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่จำนวนมากมายังเมืองท่าแห่งนี้
หลังจากที่สิงคโปร์ได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์มีนายกรัฐมนตรีคนแรกชื่อว่าคุณ Lee Kuan Yew
เป็นผู้ร่วมก่อตั้งและหัวหน้าพรรคการเมือง People's Action Party หรือ PAP
ซึ่งได้มีการเจรจากับทางการสหพันธรัฐมาลายา (มาเลเซียในปัจจุบัน) เพื่อที่จะนำสิงคโปร์เข้าไปรวมกับสหพันธรัฐมาลายา ในปี 1963
เหตุผลที่สิงคโปร์ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย ก็เพราะว่าสิงคโปร์เป็นเกาะขนาดเล็ก
ที่ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติ จึงต้องพึ่งพาทรัพยากรแทบทั้งหมดจากมาเลเซีย
อีกเหตุผลหนึ่งคือเพื่อที่จะขยายตลาดอุตสาหกรรมของสิงคโปร์ไปยังมาเลเซียด้วย
แต่ด้วยความที่ประชากรส่วนใหญ่ของสิงคโปร์เป็นชาวจีน
ทำให้สิงคโปร์กับรัฐอื่น ๆ ในมาเลเซียที่ส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลย์มีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติอย่างชัดเจน
ในขณะนั้นพรรคการเมือง United Malays National Organisation หรือ UMNO
ซึ่งเป็นพรรคการเมืองใหญ่ของมาเลเซีย ต้องการที่จะชิงที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรข้างมากในรัฐสิงคโปร์เพื่อที่จะควบคุมอำนาจในรัฐสิงคโปร์
แต่อุดมการณ์ทางการเมืองของพรรค UMNO ของมาเลเซีย กับพรรค PAP ของสิงคโปร์ มีความแตกต่างกัน
โดยพรรค UMNO มีจุดมุ่งหมายที่จะสนับสนุนความเป็นมาเลย์และศาสนาอิสลามในประเทศ
ส่วนพรรค PAP มีจุดมุ่งหมายที่จะเพิ่มความเท่าเทียมกันทางเชื้อชาติและศาสนา
จึงทำให้สองพรรคการเมืองเริ่มมีความขัดแย้งกัน
โดยพรรค UMNO ร่วมมือกับพรรคพันธมิตรในรัฐสิงคโปร์เพื่อที่จะโค่นพรรค PAP
แต่สำหรับในสิงคโปร์แล้ว พรรค PAP ที่นำโดยคุณ Lee Kuan Yew สามารถคว้าชัยชนะการเลือกตั้งอย่างท่วมท้น ในขณะที่พรรค UMNO และพันธมิตรคว้าที่นั่งได้เพียงหยิบมือ
ทั้งสองพรรคจึงกลายเป็นพรรคขั้วตรงข้ามกันอย่างชัดเจน มีการโจมตีกันไปมาอย่างกว้างขวาง โดยมีสื่อยักษ์ใหญ่ในมาเลเซียอย่าง Utusan Melayu
ที่ถูกควบคุมโดยพรรค UMNO ทำข่าวให้ร้ายพรรค PAP อย่างต่อเนื่อง
แต่นั่นกลับเป็นการสร้างความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติขึ้นมา
ในวันที่ 21 กรกฎาคม 1964 ซึ่งตรงกับวันสำคัญทางศาสนาอิสลาม ที่ทำให้ชาวมาเลย์กว่า 20,000 คน ออกมาแสดงจุดยืนทางการเมือง สุดท้ายเหตุการณ์ก็บานปลายไปถึงขั้นมีการปะทะกันระหว่างสองเชื้อชาติ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 23 คน บาดเจ็บกว่า 400 คน จนสุดท้ายทางการรัฐสิงคโปร์ต้องออกมาตรการเคอร์ฟิวเพื่อที่จะระงับสถานการณ์ดังกล่าว
สถานการณ์เหมือนจะสงบขึ้น แต่ก็มีเหตุการณ์ไม่คาดฝัน..
นั่นคือการเสียชีวิตของชาวมาเลย์อย่างเป็นปริศนา จนทำให้ชาวมาเลย์คิดว่าเป็นฝีมือของชาวจีน ความโกรธแค้นดังกล่าวทำให้มีการปะทะกันอีกครั้ง ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 13 คน บาดเจ็บ 100 คน และมีคนถูกจับกุมกว่า 1,000 คน
ด้วยความขัดแย้งทางการเมืองและเชื้อชาติ ท้ายที่สุดสิงคโปร์ก็ได้ทำการแยกตัวออกจากมาเลเซีย ในวันที่ 9 สิงหาคม 1965
หลังจากที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซียเพียงแค่ 2 ปีเท่านั้น
หลังจากนั้นสิงคโปร์ก็ได้ปกครองประเทศโดยอิสระ ซึ่งนำโดยคุณ Lee Kuan Yew ที่ได้วางรากฐานด้านต่าง ๆ ให้กับสิงคโปร์
ด้วยความทรงจำที่โหดร้ายในการปะทะกันระหว่างสองเชื้อชาติ ทำให้ทางการสิงคโปร์ได้ก่อตั้งวัน Racial Harmony Day หรือ วันแห่งการปรองดองทางเชื้อชาติ
เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ความวุ่นวายในปี 1964 ที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บมากมาย
โดยวันดังกล่าวจะตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับเหตุการณ์การปะทะกันระหว่างเชื้อชาติครั้งแรก
ทางการสิงคโปร์เดินหน้าให้ความสำคัญกับทุกเชื้อชาติในสิงคโปร์อย่างต่อเนื่อง
ไม่ว่าจะเป็นทางด้านภาษา สิงคโปร์จะมีภาษาราชการมากถึง 4 ภาษา
ได้แก่ ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน, ภาษามาเลย์ และภาษาทมิฬ
ถึงแม้ว่าประชากรหลักจะเป็นชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีน แต่ทางการสิงคโปร์ก็ยังคงให้ความสำคัญกับทุกภาษา ตามเอกสารราชการสิงคโปร์หรือป้ายเตือนต่าง ๆ ก็จะมีการใช้ทั้ง 4 ภาษา
ส่งผลให้ชาวสิงคโปร์เองที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างดีอยู่แล้ว ยังคงใช้ภาษาแม่ของเชื้อชาติตัวเองได้อีกด้วย
นอกเหนือจากภาษาแล้ว ทางการสิงคโปร์ยังให้ความสำคัญกับวันสำคัญของเชื้อชาติต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็น วันตรุษจีนของชาวจีน, วันฮารีรายอของชาวมุสลิม, วันวิสาขบูชาของชาวพุทธ,
วันทีปาวลีของชาวฮินดูและชาวซิกข์ และวันคริสต์มาสของคนที่นับถือศาสนาคริสต์
โดยที่ทุกวันจะถือเป็นวันหยุดราชการของสิงคโปร์
ยิ่งไปกว่านั้น ด้วยความที่สิงคโปร์มีขนาดประเทศที่ค่อนข้างเล็ก จึงทำให้ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ในประเทศเป็นตึกสูง ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ภายใต้การดูแลของ Housing and Development Board หรือ HDB ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐของสิงคโปร์ที่ดูแลจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยในสิงคโปร์
โดย HDB จะมีการจัดสรรการอยู่อาศัยของแต่ละตึก โดยจะกำหนดว่าในแต่ละตึกอยู่อาศัยหรือชุมชนจะต้องมีการคละเชื้อชาติกันเพื่อที่จะให้คนแต่ละเชื้อชาติสามารถอยู่ด้วยกันและเป็นเพื่อนกันได้
โดยจะไม่มีการแบ่งแยกว่าตึกนั้นจะเป็นที่อยู่อาศัยของชาวจีน หรืออีกตึกจะเป็นที่อยู่อาศัยของชาวมาเลย์
ซึ่งนี่ถือเป็นนโยบายที่คาดไม่ถึงเพื่อเพิ่มความสามัคคีภายในชาติ
นี่ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ความเป็นชาติของสิงคโปร์สามารถหลอมรวมเป็นหนึ่งได้อย่างลงตัว
ถึงแม้สิงคโปร์จะเป็นประเทศที่รวมไปด้วยคนหลากหลายเชื้อชาติ ซึ่งยังไม่รวมถึงชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานในสิงคโปร์
แต่ด้วยการเอาใจใส่ของทางการสิงคโปร์ ที่ให้ความสำคัญกับคนทุกเชื้อชาติ ไม่ได้มีการแบ่งแยกหรือแบ่งชนชั้นกัน จึงทำให้ทุก ๆ คนเท่าเทียมกัน ไม่มีใครที่เป็นแกะดำในประเทศ
นี่อาจจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้สิงคโปร์สามารถสร้างความเจริญทางการเมืองและเศรษฐกิจได้
โดยที่มีคนเป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ และไม่เกี่ยงว่าจะเป็นเชื้อชาติอะไร ทุกคนจะได้รับโอกาสเท่ากันหมด
ที่น่าสนใจก็คือตำแหน่งประธานาธิบดีของสิงคโปร์ล้วนเคยเป็นคนสิงคโปร์เชื้อสายจีน มาเลย์ และอินเดียกันมาแล้ว
สุดท้ายแล้วนี่จึงเปรียบเสมือนเป็นจิกซอว์หลากสี ที่ก่อนนำมาประกอบเข้าด้วยกันจะมีความแตกต่างกัน
แต่เมื่อนำมาต่อเรียงกัน จึงทำให้เกิดภาพที่สวยงามจากการต่อจิกซอว์ที่ถูกต้องของทางการสิงคโปร์
เพราะถึงแม้เชื้อชาติจะแตกต่าง แต่ก็ไม่แตกแยกกัน ทุกคนก็คือคนสิงคโปร์ด้วยกันทั้งสิ้น
นี่ถือเป็นกรณีที่น่าสนใจ จากประเทศที่เริ่มต้นจากความขัดแย้งทางด้านเชื้อชาติมากมาย
แต่สามารถสร้างความสามัคคีของคนในชาติได้
ถ้าเราสังเกตดูลึก ๆ แล้วจะพบว่า จริง ๆ แล้วทุกคนต่างต้องการเป็นคนที่สำคัญกันทั้งสิ้น ซึ่งถ้าเราได้รับความสำคัญจากใครคนไหน เราก็จะยินดีให้ความสำคัญกับเขาคนนั้นด้วยเช่นกัน
อย่างที่รัฐบาลสิงคโปร์ให้ความสำคัญกับคนทุกเชื้อชาติ สุดท้ายแล้วประเทศสิงคโปร์ก็จะได้รับความสำคัญกลับมาเช่นกัน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.singstat.gov.sg/modules/infographics/population
-https://www.population.gov.sg/files/media-centre/publications/pib-2020-final.pdf
-https://www.gov.sg/article/what-are-the-racial-proportions-among-singapore-citizens
-https://www.guidemesingapore.com/business-guides/immigration/get-to-know-singapore/a-brief-history-of-singapore
-https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/singapore.pdf
-http://kruasean.kru.ac.th/ewtadmin/ewt/kru_asean/ewt_dl_link.php?nid=385&filename=index
-https://eresources.nlb.gov.sg/history/events/1dab53ea-788c-461c-acfb-ca625b974c9c#:~:text=Politically%2C%20the%20ruling%20People's%20Action,to%20secure%20its%20political%20legitimacy.&text=As%20the%20proposed%20Malaysia%20would,in%20Singapore%20would%20be%20neutralised.
-https://eresources.nlb.gov.sg/infopedia/articles/SIP_45_2005-01-06.html
-https://mothership.sg/2017/07/see-the-realities-of-spores-1964-racial-riots-from-these-stories-perspectives/
-https://core.ac.uk/download/pdf/48682558.pdf
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「perspectives 1 pdf」的推薦目錄:
perspectives 1 pdf 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳解答
【mRNA疫苗臨床試驗95%有效! mRNA疫苗會是COVID-19的救世主嗎?】:發表在新英格蘭醫學期刊(NEJM)上的兩篇論文提到【註1】,兩個mRNA疫苗臨床研究分別收案3萬多人與4萬多人,在打完疫苗之後的兩個月追蹤當中,施打疫苗讓COVID-19感染率減少了95%!【註3】
在本文開始前,在此先簡述說明一下「分子生物學的中心法則」,建立對DNA、RNA、mRNA的基礎認識。
■分子生物學的中心法則 (central dogma)(圖1)
用最簡單最直接的方式來描述的話,生物體的遺傳訊息是儲存在細胞核的DNA中,每次細胞分裂時,DNA可以複製自己 (replication),因而確保每一代的細胞都帶有同樣數量的DNA。
而當細胞需要表現某個基因時,會將DNA的訊息轉錄 (transcribe) 到RNA上頭,再由RNA轉譯 (translate) 到蛋白質,而由蛋白質執行身體所需要的功能。這也就是所謂的分子生物學的中心法則 (central dogma)。
對於最終會製造成蛋白質的基因來說,RNA是扮演了中繼的角色,也就是說遺傳訊息本來儲存在 DNA 上頭,然後經過信使 RNA (messenger RNA, mRNA) 的接棒,最後在把這個訊息傳下去,製造出蛋白質。【註4】
■冠狀病毒的基因組由RNA構成
RNA不如DNA穩定,複製過程容易出錯,因此一般RNA病毒的基因組都不大。但冠狀病毒鶴立雞群,基因組幾乎是其他RNA病毒的三倍長,是所有RNA病毒中最大、最複雜的種類。
冠狀病毒還能以重組RNA的方式,相當頻繁地產生變異,但是基因組中位在最前端的RNA序列相對穩定,因為其中有掌控病毒蛋白酶與RNA聚合酶的基因,一旦發生變異,冠狀病毒很可能無法繼續繁衍。
目前抗病毒藥物的研發策略之一,正是設法抑制病毒RNA複製酶(RdRp)。而最前端的RNA序列也是現階段以反轉錄聚合酶連鎖反應(RT-PCR)檢驗新冠病毒時鎖定的目標。中央研究院院士賴明詔表示,不同病毒的核酸序列當中還是有各自的獨特變異,正好用來區分是哪一種冠狀病毒。【註5】
■SARS-CoV-2是具有3萬個鹼基的RNA病毒
中國科學院的《國家科學評論》(National Science Review)期刊【註2】,2020年3月發表《關於SARS-CoV-2的起源和持續進化》論文指出,現已發生149個突變點,並演化出L、S亞型。
病毒會變異的原因可略分成兩種:
▶一是「自然演變」
冠狀病毒是RNA病毒,複製精準度不如DNA病毒精準度高,只要出現複製誤差,就是變異。
▶二是「演化壓力」
當病毒遇到抗體攻擊,就會想辦法朝有抗藥性的方向演變,找出生存之道。【註6】
■mRNA 疫苗是一種新型預防傳染病的疫苗
近期,美國莫德納生物技術公司(Moderna)與輝瑞公司(Pfizer),皆相繼宣布其COVID-19 mRNA疫苗的研究成果。
莫德納公司在2020年11月30日宣布他們的mRNA-1273疫苗在三期臨床試驗達到94.1%(p<0.0001)的超高保護力,受試者中約四成為高風險族群(患糖尿病或心臟病等),7000人為高齡族群(65歲以上),另也包含拉丁裔與非裔族群(報告中未提到亞洲裔)。
傳統大藥廠輝瑞公司,亦在美國時間11月18日發佈令人振奮的新聞稿:他們的RNA疫苗(BNT162b2)三期臨床試驗已達設定終點,保護力高達95%(p<0.0001)。該試驗包含了4萬名受試者,其中約有四成受試者為中高齡族群(56~85歲),而亞洲裔受試者約占5%。
■mRNA疫苗為什麼可以對抗病毒?
為什麼mRNA疫苗會有用?就讓我們先從疫苗的原理「讓白血球以為有外來入侵者談起」。
在過往,疫苗策略大致上可分為兩種:
● 將病毒的屍體直接送入人體,如最早的天花疫苗(牛痘,cowpox)、小兒麻痺疫苗(沙克疫苗,polio vaccines)、肺結核疫苗(卡介苗,Bacillus Calmette-Guérin, BCG)以及流感疫苗等。
✎補正
卡介苗 BCG(Bacillus Calmette-Guerin vaccine) :卡介苗是一種牛的分枝桿菌所製成的活性疫苗,經減毒後注入人體,可產生對結核病的抵抗力,一般對初期症候的預防效果約85%,主要可避免造成結核性腦膜炎等嚴重併發症。
▶以流感疫苗為例,科學家通常先讓病毒在雞胚胎大量繁殖後,再將其殺死,也有部分藥廠會再去除病毒屍體上的外套膜(envelope),進一步降低疫苗對人體可能產生的副作用後,再製成疫苗。
● 將病毒的蛋白質面具,裝在另一隻無害的病毒上再送入人體,如伊波拉病毒(Ebola virus disease, EVD)疫苗等。
▶以伊波拉病毒疫苗為例,科學家會剪下伊波拉病毒特定的醣蛋白(glycoproteins)基因,置換入砲彈病毒(Rhabdoviridae)的基因組中,使砲彈病毒長出伊波拉病毒的醣蛋白面具。
上述例子都是將致命病毒的部分殘肢送入人體,當病毒被樹突細胞(dendritic cells)或巨噬細胞(macrophages)等抗原呈現細胞(antigen-presenting cell, APC)吃掉後,再由細胞將病毒殘肢吐出給其他白血球,進而活化整個免疫系統,然而,mRNA疫苗採取了更奇詭的路數 - 「讓人體細胞自己生產病毒殘肢!」
■mRNA 疫苗設計原理(圖2)
將人工設計好可轉譯出病毒蛋白質片段的mRNA,包裹於奈米脂質顆粒中,送入淋巴結組織內,奈米脂質顆粒會在細胞中釋出RNA,使人體細胞能自行產出病毒蛋白質片段,呈現給其他白血球,活化整個免疫系統。
■mRNA疫苗設計流程(圖3)
1「科學家獲得病毒的全基因序列」
因社群媒體的發達、公衛專家、病毒研究者以及期刊編輯的努力,這次的COVID-19病毒序列很快的被發表;中國北京疾病管制局的研究團隊,挑選了九位患者,其中有八位,都有前往華南海鮮市場的病史,並從這些患者採取了呼吸道分泌物的檢體,運用次世代定序 (NGS,Next Generation Sequencing) 的方式,拼湊出新型冠狀病毒全部與部分的基因序列。並陸續將這些序列資料,提供給全世界的病毒研究者交互確認,修正序列的錯誤。
2「解析病毒基因群裡所有的功能,選定目標蛋白質(Covid-19病毒棘蛋白質)」
以冠狀病毒為例,通常會選病毒表面的棘狀蛋白(spike protein)。因為棘蛋白分布於病毒表面,可作為白血球的辨識目標,同時病毒需透過棘蛋白和人體細胞受體(receptor)結合,進而撬開人體細胞,因此以病毒繁殖的策略而言,此處的蛋白質結構較穩定。
3「製造要送入人體的mRNA,挑選出會製造棘蛋白的mRNA進行修飾」
挑選會轉譯(translation)出目標蛋白質的mRNA,並進行各項修飾,以提高該人工mRNA在細胞裡被轉譯成蛋白質的效率。如:輝瑞的mRNA疫苗(BNT162b1)選用甲基化(methylation)後的偽尿嘧啶(1-methyl-pseudouridine)取代mRNA裡的原始尿嘧啶(uracil, U),有助於提升mRNA的穩定性,並提高mRNA被轉譯成病毒棘蛋白的效率。
4「將人工mRNA裹入特殊載體,將mRNA包裹入特殊載體顆粒中」
因為mRNA相當脆弱且容易被分解,因此需要對載體進行包裹和保護。然而,有了載體後,接踵而來的問題是「該怎麼送到正確的位置(淋巴結)?」。而輝瑞和莫德納不約而同地都選用了奈米脂質顆粒(lipid nanoparticles)包裹mRNA載體,奈米脂質顆粒通常由帶電荷的脂質(lipid)、膽固醇(cholesterol)或聚乙二醇(polyethylene glycol, PEG)修飾過的脂質等組成,可以保護RNA,並將mRNA送到抗原呈現細胞豐富的淋巴結組織。
5「包覆mRNA的奈米脂質顆粒,注射在肌肉組織」
使其能循環到淋巴結,被淋巴結中的細胞吃掉。奈米脂質顆粒釋放出mRNA,使細胞產出病毒蛋白質片段,進而呈現給其他白血球並活化整個免疫系統。【註7】
mRNA可將特定蛋白質的製造指示送至細胞核糖體(ribosomes)進行生產。mRNA 疫苗會將能製造新冠病毒棘狀蛋白的 mRNA 送至人體內,並不斷製造棘狀蛋白,藉此驅動免疫系統攻擊與記憶此類病毒蛋白,增加人體對新冠病毒的免疫力,最終 mRNA 將被細胞捨棄。
值得注意的是,由於 mRNA 疫苗並無攜帶所有能製造新冠病毒的核酸(nucleic acid),且不會進入人體細胞核,所以施打疫苗無法使人感染新冠病毒。
Pfizer、BioNTech 研發的 BNT162b2 是美國第 1 個取得 EUA 的 mRNA 疫苗,施打對象除成年人,還包含 16 歲以上非成年人。且相比 Moderna 製造的 mRNA-1273 疫苗,患者施打第 2 劑 BNT162b2 的副作用較輕微。
Moderna 也不遑多讓,mRNA-1273 於 2020 年 12 月中取得 EUA,且具備在 -20°C 儲存超過 30 天的優勢。在臨床試驗中,使用 mRNA-1273 的 196 位受試者皆無演變成重度 COVID-19,相較安慰劑組中卻有 30 人最終被標為重度 COVID-19 患者。【註8】
為了觸發免疫反應,許多疫苗會將一種減弱或滅活的細菌注入我們體內。mRNA疫苗並非如此。相反,該疫苗教會我們的細胞如何製造出一種蛋白質,甚至一種蛋白質片段,從而觸發我們體內的免疫反應。如果真正的病毒進入我們的身體,這種產生抗體的免疫反應可以保護我們免受感染。【註9】
【Reference】
▶DNA的英文全名是Deoxyribonucleic acid,中文翻譯為【去氧核糖核酸】
▶RNA 的英文全名是 Ribonucleic acid,中文翻譯為【核糖核酸】。
1.來源
➤➤資料
∎【註1】
Baden LR, El Sahly HM, Essink B, et al. Efficacy and Safety of the mRNA-1273 SARS-CoV-2 Vaccine. N Engl J Med. 2020 Dec 30:NEJMoa2035389. doi: 10.1056/NEJMoa2035389. Epub ahead of print. PMID: 33378609; PMCID: PMC7787219.
https://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa2035389
Polack FP, Thomas SJ, Kitchin N, et al. Safety and Efficacy of the BNT162b2 mRNA Covid-19 Vaccine. N Engl J Med. 2020 Dec 31;383(27):2603-2615. doi: 10.1056/NEJMoa2034577. Epub 2020 Dec 10. PMID: 33301246; PMCID: PMC7745181.
https://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa2034577
∎【註2】
Xiaoman Wei, Xiang Li, Jie Cui, Evolutionary perspectives on novel coronaviruses identified in pneumonia cases in China, National Science Review, Volume 7, Issue 2, February 2020, Pages 239–242, https://doi.org/10.1093/nsr/nwaa009
∎【註3】
▶蘇一峰 醫師:https://www.facebook.com/bsbipoke
▶中時新聞網 「mRNA疫苗臨床試驗95%有效 醫:哪國搶到就能結束比賽」:
https://www.chinatimes.com/realtimenews/20210104004141-260405?chdtv
∎【註4】
( 台大醫院 National Taiwan University Hospital-基因分子診斷實驗室)「DNA、RNA 以及蛋白質」:https://www.ntuh.gov.tw/gene-lab-mollab/Fpage.action?muid=4034&fid=3852
∎【註5】
《科學人》粉絲團 - 「新冠病毒知多少?」:https://sa.ylib.com/MagArticle.aspx?id=4665
∎【註6】
(報導者 The Reporter)【肺炎疫情關鍵問答】科學解惑 - 10個「為什麼」,看懂COVID-19病毒特性與防疫策略:https://www.twreporter.org/a/covid-19-ten-facts-ver-2
∎【註7】
科學月刊 Science Monthly - 「讓免疫系統再次偉大!mRNA疫苗會是COVID-19的救世主嗎?」:https://www.scimonth.com.tw/tw/article/show.aspx?num=4823&page=1
∎【註8】
GeneOnline 基因線上 「4 大 COVID-19 疫苗大解密!」 :https://geneonline.news/index.php/2021/01/04/4-covid-vaccine/
∎【註9】
(CDC)了解mRNA COVID-19疫苗
https://chinese.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/vaccines/different-vaccines/mrna.html
➤➤照片
∎【註4】:
圖1、分子生物學中心法則
∎【註7】:
圖2:mRNA 疫苗設計原理
圖3:mRNA 疫苗設計流程圖
2. 【國衛院論壇出版品 免費閱覽】
▶國家衛生研究院論壇出版品-電子書(PDF)-線上閱覽:
https://forum.nhri.org.tw/publications/
3. 【國衛院論壇學術活動】
▶https://forum.nhri.org.tw/events/
#國家衛生研究院 #國衛院 #國家衛生研究院論壇 #國衛院論壇 #衛生福利部 #疾病管制署 #COVID-19 #mRNA疫苗 #新英格蘭醫學醫學期刊 #NEJM
衛生福利部 / 疾病管制署 - 1922防疫達人 / 財團法人國家衛生研究院 / 國家衛生研究院-論壇
perspectives 1 pdf 在 方志恒 Brian Fong Facebook 的最讚貼文
民間外交,除了媒體動員,也需要政策簡報,持續給予國際社會最新的政策觀點。民間外交網絡與海外研聯合作,將每月出版電子簡報,請大家幫手廣傳予自由世界朋友。
Citizen diplomacy is far from just media advocacy. We also need to provide the international community with updated policy perspectives. Network DIPLO and AOPS jointly publish the “HongKongBrief”, aiming to provide a monthly update to the Free World. Please spread.
✍️Subscription: http://bit.ly/HKB_sub
【#HongKongBrief】Check out the latest Issue 1 (Jan 2020) of ”HongKongBrief”, a monthly update on the state of Hong Kong’s autonomy.
📘Issuu: http://bit.ly/HKB_Jan2020_I
📗PDF: http://bit.ly/HKB_Jan2020_G
✍️Subscription: http://bit.ly/HKB_sub
#HKAutonomy #HongKongAutonomy #StandWithHK #StandWithHongKong