#toynews #onTOYSREVIL: https://bit.ly/34mMY7a
Introducing #SpongeBoyTrashpants by fellow Singapore-based Dale Lam @lamwenjie (of #QuitQuitting) for June 1st Launch on #Kickstarter!
LIKE PIX ON INSTAGRAM: https://www.instagram.com/p/CPUznDIAJRV/
Links, images & more info in blogpost-linked, cheers! Stay connected to IG @quitquitting.store for updates!
"SpongeBoy is inspired by the unfortunate marine life that’s drowning in an ocean of plastic. It may look like the typical anatomy toy, but it shows the commonly ingested ocean trash - fishnets, plastic bags, and straws, etc. Unaware of the danger he’s facing, our carefree SpongeBoy continues to contribute to the pollution..."
I Do Not Sell This
#toyblog #toysblog #toysrevil
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過5,140的網紅Ghost Island Media 鬼島之音,也在其Youtube影片中提到,From bio-bags that survive landfills for years to bio-plastics that are actually just polyester, we are awash in confusing disposal messaging. The wor...
plastic bags ocean 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
เลิกใช้หลอดพลาสติก ช่วยโลกได้มากแค่ไหน ? /โดย ลงทุนแมน
ช่วงไม่กี่ปีมานี้ คนทั่วโลกต่างกระตือรือร้น ที่จะช่วยกันลดการใช้พลาสติก
โดยเฉพาะประเภทที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง อย่างเช่นหลอดพลาสติก
เพื่อลดปริมาณขยะที่ถูกทิ้งลงทะเล เพราะนอกจากพลาสติกเหล่านี้จะทำลายสิ่งแวดล้อมแล้ว
มันยังทำร้ายสัตว์ทะเลอีกด้วย
แล้วเราเคยสงสัยไหมว่า หลอดพลาสติกที่เราช่วยกันใช้ให้น้อยลงนี้
จะส่งผลกระทบมากน้อยแค่ไหน เมื่อเทียบกับปริมาณขยะพลาสติกทั้งหมดบนโลก ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปในปี 2015 หรือ 6 ปีก่อน มีคลิปวิดีโอหนึ่งที่ถูกแชร์และพูดถึงกันไปทั่วโลก
เป็นคลิปวิดีโอที่นักชีววิทยาทางทะเล ได้ช่วยเหลือเต่าที่หายใจติดขัด
เพราะมีหลอดพลาสติกเข้าไปติดในจมูก
ซึ่งนี่ก็ไม่ใช่ครั้งแรก ที่ขยะจากฝีมือมนุษย์ได้ไปทำร้ายสัตว์ทะเล
เพราะจริง ๆ แล้ว ยังมีกรณีร้ายแรงถึงขั้นทำให้สัตว์เสียชีวิต
อย่างเช่น เต่าทะเลที่เห็นถุงพลาสติกลอยน้ำอยู่
จึงเข้าใจว่าเป็นแมงกะพรุน เลยกินเข้าไป
จนถุงพลาสติกไปอุดหลอดลมจนเสียชีวิต
จากคลิปวิดีโอนั้นเอง ก็ได้เป็นเหมือนแรงกระเพื่อมทางสังคม
ที่กลายมาเป็นต้นกำเนิดของการร่วมกันรณรงค์ให้เลิกใช้หลอดพลาสติกทั่วโลก
เพื่อช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเล
โดยนำเสนอให้เราหันมาใช้หลอดที่สามารถล้างและใช้ซ้ำได้ หรือหากเป็นหลอดใช้แล้วทิ้ง
ก็เลือกใช้หลอดที่ทำจากวัสดุที่ย่อยสลายได้ง่ายกว่า
เช่น หลอดกระดาษ ที่ใช้เวลาย่อยสลาย 2 ถึง 6 สัปดาห์
ในขณะที่หลอดพลาสติกใช้เวลาย่อยสลายถึง 200 ปี หรือนานกว่าหลอดกระดาษ 1,740 เท่า
โดยแรงกระเพื่อมในครั้งนี้ ยังสั่นสะเทือนไปถึงผู้ประกอบการรวมถึงภาครัฐ
ที่ต่างก็ร่วมกันออกนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดปริมาณการใช้พลาสติกลง
เช่นในประเทศสหรัฐอเมริกาที่เริ่มแบนการใช้หลอดพลาสติกในปี 2018 อย่างเป็นทางการในหลายรัฐ
หรืออย่าง Starbucks และ McDonald’s ก็ประกาศว่าจะทยอยเลิกใช้หลอดพลาสติกไปจนครบทุกสาขา
ซึ่งข้อมูลจากการประเมินโดยนักวิทยาศาสตร์ทางทะเล
ระบุว่าหลอดพลาสติกที่กลายเป็นขยะลงสู่ทะเลต่อปี มีจำนวน 8,300 ล้านชิ้น
หรือคิดเป็นน้ำหนักที่รวมกันกว่า 2,000 ตัน
แล้วปริมาณที่ว่านี้ ถือว่าเยอะขนาดไหน ?
เราลองมาดูข้อมูลเหล่านี้ ที่ถูกประมาณการไว้ เป็นจำนวนตันต่อปี
หลอดพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเล 2,000 ตัน
พลาสติกทั้งหมดที่ถูกทิ้งลงทะเล 8,000,000 ตัน
ในขณะที่ขยะพลาสติกทั้งหมดมี 275,000,000 ตัน
จะเห็นได้ว่า ขยะจากหลอดพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเลนั้น คิดเป็น 0.025% ของขยะพลาสติกทั้งหมด
ที่ถูกทิ้งลงทะเล และเป็น 0.0007% ของขยะพลาสติกทั้งหมด
ตัวเลขเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าหลอดพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเล
แท้จริงแล้วคิดเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเลทั้งหมด
โดยข้อมูลระบุว่า กว่า 46% ของขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเลทั้งหมดนั้น
ส่วนใหญ่ก็คือแหตกปลา และที่เหลือ ส่วนใหญ่ก็มาจากอุปกรณ์ประมง
ที่ทำจากพลาสติก สอดคล้องกับข้อมูลที่ว่าในการจับปลาทูนาน้ำหนัก 1 หน่วย
จะมีอุปกรณ์ประมงที่กลายเป็นขยะพลาสติกในทะเลถึง 2 หน่วย
ซึ่งแหและอุปกรณ์ประมงเหล่านี้ ก็ส่งผลร้ายไม่ต่างจากขยะพลาสติกชนิดอื่น ๆ
เพราะมีหลายกรณีเช่นกัน ที่สัตว์ทะเลเข้าไปติดอยู่กับแหที่จมอยู่
แล้วได้รับบาดเจ็บ หรือหนีไปไหนไม่ได้ จนกระทั่งเสียชีวิต
หากเป็นแบบนี้แล้ว วิธีการแก้ปัญหาขยะพลาสติกในมหาสมุทร
ที่สามารถส่งผลอย่างมีนัยสำคัญได้ ควรเป็นอย่างไร ?
ในประเด็นของการปล่อยอุปกรณ์ประมงลงทะเล หลายฝ่ายต่างเสนอให้ออกบทลงโทษที่ชัดเจน และให้ทุกฝ่ายปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
แต่ที่สำคัญไม่แพ้กัน คือขั้นตอนในการป้องกัน “ไม่ให้ขยะจากฝั่งลงสู่ทะเล” ซึ่งข้อเสนอต่างก็เป็นไปในทางเดียวกัน ก็คือเรื่องของ “กระบวนการจัดการและกำจัดขยะ”
ประเทศที่ทำให้เกิดขยะพลาสติกในทะเลมากที่สุดในโลก หรือกว่า 1 ใน 3 ของปริมาณทั้งหมด
ก็คือประเทศจีน รองลงมาคืออินโดนีเซีย ตามมาด้วยฟิลิปปินส์ เวียดนาม และศรีลังกา
โดย 19 อันดับแรกของประเทศที่ปล่อยขยะพลาสติกลงสู่ทะเลมากที่สุด เป็นประเทศกำลังพัฒนา ที่โครงสร้างพื้นฐานด้านระบบจัดการและกำจัดขยะยังคงขาดประสิทธิภาพและไม่เพียงพอ
หากประเทศเหล่านี้ หันมาให้ความสำคัญในการพัฒนาระบบจัดการและกำจัดขยะ
ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้ 50% จะช่วยลดปริมาณขยะพลาสติก
ที่ถูกทิ้งลงทะเลทั่วโลกได้ถึง 1 ใน 4 เลยทีเดียว
ในด้านของประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่
แม้ประเทศเหล่านี้จะมีระบบจัดการขยะที่ลงสู่ทะเลมีประสิทธิภาพเพียงพอ
แต่ปริมาณขยะพลาสติกต่อคน ยังถือว่าสูงมาก มากกว่าประเทศกำลังพัฒนา
ที่ปล่อยขยะลงสู่ทะเลในปริมาณมากเหล่านั้นเสียอีก
สำหรับการแก้ปัญหานี้ นอกจากการลดการใช้พลาสติกแล้ว ยังรวมไปถึงกระบวนการแยกขยะ และการนำกลับมาใช้ใหม่ ทั้งการรียูสและรีไซเคิล เพราะทุกวันนี้ ขยะพลาสติกที่ถูกนำไปรีไซเคิลมีเพียงแค่ 9% เท่านั้น
นั่นหมายความว่า นอกจากเราจะช่วยกันลดปริมาณขยะพลาสติกจากการใช้งานแล้ว
สิ่งที่สำคัญไม่แพ้กันก็คือ กระบวนการแยกขยะ และกระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่
พร้อมทั้งการวางรากฐานและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบจัดการขยะไม่ให้ลงสู่ทะเล
แต่ทั้งหมดนี้ก็เป็นมุมมองจากด้านมลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากพลาสติกเท่านั้น
เพราะหากพิจารณาถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมในด้านอื่น ๆ
จะพบว่าในกระบวนการผลิตพลาสติก
ถุงกระดาษจะใช้ทรัพยากรและปล่อยมลพิษมากกว่าถุงพลาสติก 43 เท่า
และถ้าเราพูดถึงกระบวนการผลิตถุงผ้านั้น
ถุงผ้าก็จะใช้ทรัพยากรและปล่อยมลพิษมากกว่าถุงพลาสติก 20,000 เท่า
หรือก็คือ เมื่อไม่ใช้ถุงพลาสติก 1 ถุง แล้วใช้ถุงกระดาษแทน
ถุงกระดาษนั้นต้องถูกนำมาใช้ซ้ำ 43 ครั้ง หรือถ้าเป็นถุงผ้า ต้องถูกนำมาใช้ซ้ำราว 55 ปี
ถึงจะเท่าเทียมกัน ในมุมของมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิต
นอกจากนี้ การผลิตพลาสติกยังก่อมลพิษทางอากาศ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้อยกว่ากระบวนการผลิตกระดาษและผ้าคอตตอนอีกด้วย
สุดท้ายแล้ว นี่ก็คงเป็นเหมือนกับหลาย ๆ สิ่ง
ที่เรายังไม่สามารถตัดสินแบบชี้ชัดได้ว่าอะไรดีกว่ากัน
เพราะทุกอย่างต่างก็มีทั้งปัจจัยที่ดีและไม่ดีปะปนกันไป
และมุมมองเหล่านั้น ก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา
ย้อนกลับไปในปี 1888 หรือเมื่อ 133 ปีก่อน
มนุษย์มีหลอดใช้ครั้งแรก ซึ่งเป็นหลอดทำจากกระดาษ
จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มนุษย์ได้รู้จักพลาสติกเป็นครั้งแรก
จึงทำให้ในปี 1969 ต่างก็หันมาผลิตหลอดจากพลาสติกแทน
เพราะดีกว่าหลอดกระดาษในด้านความคงทน ความสะดวกในการใช้งาน และมีราคาถูกกว่า
แต่ 50 ปีหลังจากนั้น หรือในวันนี้ คุณสมบัติของความคงทนที่ทุกคนชื่นชอบ
ก็ได้กลายมาเป็นประเด็นต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทั้งจากการย่อยสลายยากและได้กลายเป็นขยะลอยอยู่ในทะเล
จนเราต้องหวนกลับไปใช้หลอดกระดาษ
ที่แม้จะด้อยกว่าในเรื่องการใช้งาน แต่ก็ดีต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า
ท้ายที่สุดแล้ว แม้ว่าปริมาณหลอดพลาสติกที่เราช่วยกันลด
อาจไม่ได้คิดเป็นสัดส่วนที่มากเท่าไร เมื่อเทียบกับขยะพลาสติกบนโลก
แต่อย่างน้อย มันก็เป็นเรื่องใกล้ตัวที่สุด
ที่เราสามารถช่วยให้โลกของเราดีขึ้นได้บ้าง แม้มันจะเป็นส่วนเล็ก ๆ ก็ตาม..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bloomberg.com/opinion/articles/2018-06-07/plastic-straws-aren-t-the-problem
-https://www.nationalgeographic.com/environment/article/news-plastic-drinking-straw-history-ban
-https://www.wri.org/blog/2018/08/banning-straws-and-bags-wont-solve-our-plastic-problem
-https://earth.stanford.edu/news/do-plastic-straws-really-make-difference#gs.ytna1y
-https://theconversation.com/eight-million-tonnes-of-plastic-are-going-into-the-ocean-each-year-37521
-https://www.nbcnews.com/news/us-news/banning-plastic-straws-will-not-be-enough-fight-clean-oceans-n951141
-https://www.rubicon.com/blog/paper-straws-better-environment/
-https://science.sciencemag.org/content/347/6223/768
plastic bags ocean 在 Rosanne Wong Facebook 的最讚貼文
#rosannewong BEACH CLEAN UP - SAI WAN 🧹 🧤 🧤
The last hiking trip to Sai Wan beach was two weeks ago and we were distressed and disgusted by the amount of rubbish, mainly plastic items along the coast. We have made a promise (as a family) to organise a beach clean up at Sai Wan beach and we did it yesterday. We couldn’t thank our friends and like minded buddies enough who have showed up for this beach clean up day.
Plastic bags, bottles, food containers (plastic and styrofoam) and food wrappers lying discarded along the streets and at the beach. Ultimately most of this waste ends up in the sea where it can choke fish, birds and sea creatures. This destroys the ocean’s ecosystem as sea creatures would eat bits of plastic and styrofoam mistakenly as their food and ends up back on our dining table via the seafood we eat.
Do you know PLASTIC takes about 450 YEARS or more to break down?? With this figure you could imagine how much plastic we have on earth now that is waiting at the recycling plants, which the volume can’t be handled hence overspill to landfill and ocean. Even after it does, it releases toxins into its surroundings, our earth (where we breathe, live and grow our food) and ocean (where all sea creatures live and where our seafood are derived from)
Earth is our home, she should be worthy of our dedicated care! Don’t wait until it’s too late to act, join us to save the planet that has given so much to us. We want children and future generations to be able to enjoy theWorld’s beautiful beaches, nature trails and country parks. EVERYONE CAN DO THEIR PART, yes EVERYONE and it starts from home:
1• Mindfully stop styrofoam usage
2• Mindfully reduce plastic usage
Solutions for 1 & 2 is to bring your own take away reusable containers, reusable straws (or don’t use straws at all) and reusable shopping bags.
3• Practice separation of plastic, paper and glass disposal and place it in the apartment’s recycling bins.
Lastly, if you don’t see a rubbish bin around, ALWAYS take your rubbish with you. IF ONLY we could all take care of our own rubbish, this world will be a very beautiful place for us all to live in and no one has to pick up other’s rubbish anymore.
#beachcleanup #lovenature #plasticfree #rozybaby #rosannewong #beautifulearth #lifeiscolorful #instagood #photooftheday #landscape #photography #iphonephotograph #haircolouring #hk #earthmood Derek Baram Central Smile Lalamallsg
plastic bags ocean 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最佳解答
From bio-bags that survive landfills for years to bio-plastics that are actually just polyester, we are awash in confusing disposal messaging. The world is rejecting plastics, but in the quest for an alternative are we actually making things worse? Join Nature N8 and Emily as they sift through “biodegradable” plastics.
This is a podcast about how NOT to save the environment. Hosted by Nature N8 (Nate Maynard), an environmental researcher working on energy, ocean, and waste issues.
HAVE A QUESTION?
Record your question and send it to us at ask@wastenotwhynot.com
VIEW THIS EPISODE'S SHOW NOTES
https://docs.google.com/document/d/e/2PACX-1vSdLQ1_8ph3EauDFk3jf8R5t9Cf7tkEF-djLinY5WgdjpeqD119-4aTPfAd-lL8YhexoPSGN-kF2K3M/pub
SUPPORT U$
https://www.patreon.com/wastenotwhynot
FOLLOW US
https://www.facebook.com/wastenotwhynot/
https://twitter.com/wastenotpod
SUBSCRIBE ON Apple Podcasts, Spotify, Google Podcasts, or find your player: https://ghostisland.media/#wnwn
SHOW CREDITS
Producer / Editing - Emily Y. Wu
Host - Nate Maynard
Brand Design - Thomas Lee
Theme Song - Chris Lo
This is a Ghost Island Media production.
plastic bags ocean 在 Corinne Vigniel Youtube 的最讚貼文
150th Scouts all take part in the annual beach clean up at Waterfall Bay.Every day, between 1,000 and 2,000 tonnes of plastic end up in the sea in Hong Kong -- most of it washed down from land.
This year, the 15 scouts collected 36 bags of rubbish. There was a large amount of polystyrene boxes, mainly used as thermal storage by fishermen, as well as for fresh fruit and vegetables. Also lots of plastic bottles and plastic cutlery.
150th Scouts are part of the English-speaking Silver Jubilee District (SJD) and are based at St Stephen's Church in Stanley, on Hong Kong's south side.
Location: Waterfall Bay, Wah Fu, Hong Kong
October 8, 2016
Camera: Corinne Vigniel
plastic bags ocean 在 10 Facts About Single-use Plastic Bags 的相關結果
Plastic bags start out as fossil fuels and end up as deadly waste in landfills and the ocean. Birds often mistake shredded plastic bags for food, ... ... <看更多>
plastic bags ocean 在 100+ Plastic in the Ocean Statistics & Facts (2020-2021) 的相關結果
More than 1 million plastic bags end up in the trash every minute. 100,000 marine animals are killed by plastic bags. Up to one trillion plastic bags ... ... <看更多>
plastic bags ocean 在 Plastic Bag Found at the Bottom of World's Deepest Ocean ... 的相關結果
A recent study revealed that a plastic bag, like the kind given away at grocery stores, is now the deepest known piece of plastic trash, found ... ... <看更多>