บราซิล ประเทศที่เคยเติบโตสูง แต่ตอนนี้คนอยากย้ายออก /โดย ลงทุนแมน
หลายทศวรรษที่ผ่านมา บราซิล เคยได้รับการจับตามองว่า จะกลายเป็นดาวรุ่งพุ่งแรงประเทศหนึ่งของโลก เพราะเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างโดดเด่น
อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่าในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปีมานี้ ความหวังนั้นค่อย ๆ ริบหรี่ลงไปเรื่อย ๆ
เศรษฐกิจของบราซิลกลับเติบโตช้าลง จำนวนคนตกงานพุ่งสูงขึ้น
เรื่องนี้ทำให้ชาวบราซิลจำนวนมาก เริ่มสิ้นหวังและตัดสินใจอพยพออกนอกประเทศ จนเกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “สมองไหล”
เรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
รู้ไหมว่า ในช่วงระหว่างปี 2000-2011 บราซิลมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ เร็วที่สุดประเทศหนึ่งในโลก โดยมีอัตราการเติบโตของ GDP เฉลี่ยต่อปีในช่วงเวลาดังกล่าว มากกว่า 5% ต่อปี
ข้อมูลจาก World Bank ระบุว่า ในปี 2012 GDP ของบราซิลสูงถึง 86.2 ล้านล้านบาท ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า GDP ของสหราชอาณาจักร
และเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 6 ของโลก ณ เวลานั้น
รายได้เฉลี่ยต่อหัวของคนบราซิล เพิ่มขึ้นจากราว 123,600 บาท ในปี 2000 มาอยู่ที่ราว 426,700 บาท ในปี 2011
จุดเริ่มต้นของทศวรรษแห่งการเติบโตของบราซิลนั้นเกิดมา ตั้งแต่ในช่วงทศวรรษที่ 1990 บราซิลหันมาใช้นโยบายเปิดเศรษฐกิจ รับการค้า การลงทุนจากต่างประเทศ
ขณะที่ในปี 1995 บราซิลได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO)
ทั้ง 2 ปัจจัย ทำให้มีการค้าและการลงทุนจากต่างประเทศของบราซิลนั้นเพิ่มสูงขึ้น มูลค่าการค้าของประเทศที่เพิ่มขึ้นทำให้มีการจ้างงานและการลงทุนต่าง ๆ ภายในประเทศเกิดขึ้นตามไปด้วย
การเปิดประเทศยังช่วยให้มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตในประเทศ
นอกจากนั้นแล้ว รัฐบาลบราซิลในตอนนั้น
ยังได้แสดงเจตจำนงในการชำระหนี้ที่กู้จากต่างประเทศ
ทำให้ภาระหนี้สินที่บราซิลกู้ยืมจากต่างประเทศ จากเดิมที่ประมาณ 59% ต่อ GDP ในปี 2003 ลดลงจนเหลือ 12% ต่อ GDP ในปี 2009
ภาระหนี้สินที่กู้จากต่างประเทศที่ลดลงจนเหลือสัดส่วนต่ำ ช่วยสร้างความเชื่อถือให้กับนักลงทุนมากยิ่งขึ้น และส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจของบราซิลให้โดดเด่นมากในเวลานั้น
จนบราซิลเคยถูกจับตามองว่า เป็นดาวรุ่งพุ่งแรงทางด้านเศรษฐกิจ
บราซิล ถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีชื่อว่า “BRIC” ซึ่งประกอบไปด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน ก่อนที่จะเพิ่มประเทศแอฟริกาใต้เข้ามาอีกในปี 2010 และใช้ชื่อว่า “BRICS” ในปัจจุบัน
แต่ใครจะรู้ว่า นับจากนั้นเศรษฐกิจของบราซิลก็เริ่มประสบปัญหา
GDP ของบราซิล ในปี 2020 ลดลงมาเหลือ 47.6 ล้านล้านบาท จากที่เคยสูงกว่า 86 ล้านล้านบาท ในช่วงพีกคือปี 2011
ถ้าถามว่าอะไรที่ทำให้อดีตประเทศดาวรุ่งอย่างบราซิล กลับต้องเข้าสู่ยุคแห่งความตกต่ำทางเศรษฐกิจ ปัจจัยก็มีอยู่หลายอย่าง เช่น
- ประสิทธิภาพในการผลิตที่ต่ำ สวนทางกับค่าจ้างแรงงานที่พุ่งสูงขึ้น
ข้อมูลจาก World Bank ระบุว่า ในช่วงปี 2003-2014 ค่าจ้างขั้นต่ำของประเทศเพิ่มขึ้นกว่า 68% ในขณะที่อัตราการผลิตต่อคนงานเพิ่มขึ้นเพียง 21%
พูดง่าย ๆ คือ ต้นทุนค่าแรงของธุรกิจเพิ่มขึ้น แต่ประสิทธิภาพและผลผลิตนั้นเพิ่มขึ้นน้อยกว่ามาก ซึ่งการขาดผลิตภาพในการผลิตส่วนสำคัญเกิดมาจากการลงทุนในนวัตกรรมของประเทศที่ต่ำ
- ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
โดยเฉพาะท่าเรือ ถนน หนทาง ทำให้เกิดปัญหาในการขนส่งสินค้าภายในประเทศ ข้อมูลของ World Bank ระบุว่า ความพร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐานของบราซิลนั้น ถูกจัดอันดับอยู่ที่ 56 จาก 160 ประเทศทั่วโลก
ขณะที่ข้อมูลจาก International Trade Administration ของสหรัฐอเมริการะบุว่า การขนส่งสินค้าส่วนใหญ่ภายในบราซิลนั้นใช้รถบรรทุก ซึ่งเมื่อโครงสร้างพื้นฐานอย่างถนนหนทางไม่ค่อยมีความพร้อม ก็ทำให้เกิดต้นทุนค่าขนส่งที่สูง
- ปัญหาคอร์รัปชันในบราซิล ถือว่ารุนแรงไม่แพ้หลายประเทศในแถบอเมริกาใต้
ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน (Corruption Perceptions Index) ของประเทศนั้นได้คะแนนน้อยลงเรื่อย ๆ (ยิ่งน้อยลงคือยิ่งภาพลักษณ์ไม่ดีในเรื่องคอร์รัปชัน)
ปี 2012 บราซิลได้ 43 คะแนน และลดลงเหลือเพียง 38 คะแนนในปี 2020
ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ปัญหาการคอร์รัปชันในบราซิลไม่เพียงแต่ยังคงอยู่ แต่กลับเลวร้ายลงเรื่อย ๆ
ปัญหาคอร์รัปชัน มีผู้ที่เกี่ยวข้องหลายระดับ ไม่เว้นแม้แต่ผู้นำสูงสุดของประเทศอย่างประธานาธิบดี อย่างเช่น ในปี 2015 อดีตประธานาธิบดีลูอิซ อินาซิโอ ลูลา ดา ซิลวา ที่ถูกกล่าวหาว่ารับสินบนจากบริษัทรับเหมาก่อสร้าง
โดยเป็นการรับสินบนเพื่อแลกกับ การอนุมัติให้บริษัทรับเหมาก่อสร้าง เข้าไปรับงานก่อสร้างจากบริษัทน้ำมันแห่งชาติที่รัฐบาลถือหุ้นใหญ่อย่างปิโตรบาส รัฐวิสาหกิจน้ำมันรายใหญ่ของประเทศ
ปัญหาคอร์รัปชันที่อื้อฉาวของนักการเมือง นักธุรกิจ สร้างความไม่พอใจให้แก่ชาวบราซิลจำนวนมาก
เรื่องนี้ถึงขนาดทำให้ครั้งหนึ่งชาวบราซิลใน 3 รัฐทางใต้ ที่ไม่พอใจการบริหารและเรื่องคอร์รัปชันของรัฐบาล ร่วมลงคะแนนประชามติเพื่อแสดงความต้องการแยกประเทศ ภายใต้แคมเปน “The South is My Country”
การประท้วง การก่อจลาจล และความไม่สงบเรียบร้อยทางการเมือง เกิดขึ้นบ่อยครั้งในบราซิล
ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ ทำให้บราซิลที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว กลับสะดุด จนเหมือนกลายเป็นคนป่วยแห่งทวีปอเมริกาใต้ไปแล้วในตอนนี้
ความเปราะบางทางเศรษฐกิจแบบนี้ ยิ่งมาเจอผลจากการระบาดของโควิด 19 ก็ยิ่งทำให้จำนวนผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นอย่างน่าใจหาย
ปี 2014 จำนวนผู้ว่างงานในบราซิลเท่ากับ 6.0 ล้านคน
ปี 2021 จำนวนผู้ว่างงานในบราซิลเท่ากับ 14.7 ล้านคน
จำนวนผู้ว่างงานสูง เศรษฐกิจที่ตกต่ำ
ทำให้คนรุ่นใหม่จำนวนมากรู้สึกว่า ตนเองต้องการแสวงหาชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม
ข้อมูลจาก Migration Policy Institute (MPI) ระบุว่า นับตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา มีชาวบราซิลอพยพออกนอกประเทศเฉลี่ยปีละกว่า 100,000 คน และมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้น จากภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย และปัญหาความขัดแย้งมากมายในประเทศที่ดูไร้ทางออก
ประเด็นคือ ผู้ที่อพยพออกไป ได้รวมแรงงานที่มีความรู้ ความสามารถ โดยเฉพาะกลุ่มนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ จนทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “Brain Drain” หรือสมองไหล
ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศหนึ่งกำลังสูญเสียคนเก่งไปจากประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นต้องการออกไปทำงานและอาศัยในประเทศที่ทำให้พวกเขามีรายได้สูงกว่า สภาพการทำงานที่ดีกว่า
ดังนั้น อนาคตของบราซิลหลังจากนี้ จึงเกิดเครื่องหมายคำถามตัวใหญ่ของคนในประเทศตามมาว่า แล้วประเทศจะพัฒนาและก้าวหน้าจากวันนี้ไปได้อย่างไร ?
คนเก่ง ๆ ที่หมดหวังกับประเทศและอพยพออกไป
ทำให้บราซิลกำลังมีบุคลากรแรงงานที่มีความรู้ ความสามารถ ยิ่งทำให้มีการสร้างสรรค์ความรู้ นวัตกรรมใหม่ ๆ ในการพัฒนาประเทศ ลดน้อยลงเรื่อย ๆ
รู้ไหมว่า วันนี้ สัดส่วนนักวิจัยต่อประชากร 1 ล้านคนของบราซิล มีอยู่เพียง 700 คนเท่านั้น
ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศมหาอำนาจอื่น
- จีน 1,071 คน
- รัสเซีย 3,191 คน
- สหราชอาณาจักร 4,269 คน
- สหรัฐอเมริกา 4,663 คน
ตอนนี้ ยังไม่มีใครรู้ว่า ปัญหาสมองไหลที่บราซิลกำลังเจออยู่นั้น จะรุนแรงมากกว่านี้ในอนาคตหรือไม่
และรัฐบาลจะหาทางหยุดปัญหานี้ พร้อมทั้งแก้ไขปัญหาโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่ฝังลึกอยู่ในประเทศได้อย่างไร
แต่เรื่องนี้ ก็ถือเป็นกรณีศึกษา ที่หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยควรต้องจับตามอง
ว่าประเทศที่เคยรุ่งเรือง เปี่ยมไปด้วยความหวัง
ทุกอย่างก็พังทลายลงได้ หากการบริหารจัดการไม่มีประสิทธิภาพ และเต็มไปด้วยปัญหาคอร์รัปชัน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://data.worldbank.org/country/BR
-https://en.wikipedia.org/wiki/BRIC
-https://ditp.go.th/contents_attach/81555/81555.pdf
-https://en.wikipedia.org/wiki/Brazil
-https://www.migrationpolicy.org/article/migration-brazil-making-multicultural-society
-https://en.wikipedia.org/wiki/Brazilian_diaspora
-https://www.worldbank.org/en/country/brazil/publication/brazil-how-resume-growth-keep-social-progress
-https://www.trade.gov/knowledge-product/brazil-infrastructure
-https://tradingeconomics.com/brazil/unemployed-persons
-https://www.if.org.uk/2020/07/06/politics-covid-brain-drain-in-brazil/
-https://www.transparency.org/en/cpi/2020/table/bra
-https://www.bbc.com/thai/international-41544397
-http://chartsbin.com/view/1124
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過46萬的網紅เจาะข่าวตื้น Shallow News in Depth,也在其Youtube影片中提到,ร่วมเป็นผู้สนับสนุนให้เรามีกำลังผลิตงานต่อไปได้ทาง บัญชีกสิกรไทย 0193426433 บริษัท สโป๊คดาร์ค จำกัด นะครับ ขอบพระคุณมากครับ หรือจะร่วมเป็นผู้สนับสนุน...
politics pdf 在 小胖子的陽春麵 Facebook 的最佳解答
#神秘的台灣疫苗策略
我們公開說話是有所本的
.
根據世衛疫苗平台COVAX官網最新版本購買名單顯示[1], 全世界契約預定購買COVAX平台疫苗的經濟體名單中, 並沒有台灣或中華民國或中華台北, 但有中國(China)
.
如果民進黨政府宣稱可以取得COVAX疫苗, 敢問我們是依附在中國的名義下, 跟對岸中共政府一起買嗎?
.
但台灣島上是有一個疫苗代理公司, 2020年初成立的, 叫做COVAXX, 是老藥廠聯亞集團的子公司[2], 我們究竟是跟COVAX購買疫苗, 還是跟COVAXX (台灣公司)購買疫苗 (且不論是白手套代理還是自行研發)? 如果是跟COVAX平台購買, 為何沒有列入購買名單呢?
.
此外, 2020年八月, 美國川普政府的衛生部長Azar來台灣訪問, 當時中央社報導我國可能要與美國川普政府聯合組織新團體取代WHO [3], 這不禁讓人想問問, 解禁萊豬是跟川普政府組團的輸誠條件嗎? 畢竟川普的支持者有一部分也是美國農民, Azar也跟製造萊劑的禮來公司保持友好
.
但如果我們打算跟美國一起組新團體, 那現在跟WHO購買疫苗又是? 之前如果有協議, 是否已不存在呢? 每次翻翻新聞就覺得很有趣, 記得民進黨最愛說資訊要公開透明, 看了新聞與公開資訊有疑問, 求教大眾, 這不算造謠吧?
=============
[1] COVAX購買名單 https://www.gavi.org/sites/default/files/covid/pr/COVAX_CA_COIP_List_COVAX_PR_15-12.pdf
[2] 2020年3月聯亞集團成立COVAXX公司 https://money.udn.com/money/story/10161/5071712
[3] 美國衛生部長2020年8月訪台 可能與台灣組新團體取代WHO https://news.ebc.net.tw/news/politics/221738
https://www.cna.com.tw/news/aipl/202008100026.aspx
politics pdf 在 王定宇 Facebook 的最讚貼文
分享媒體人曾韋禎紀錄下「潛艦國造」的一段國會折衝歷史,值得大家讀一讀!
註:相片為示意圖,非上述協商場景。
#值得閱讀分享
#潛艦預算會守住_不用擔心_過程也是要詳實記住
——以下分享自曾韋禎 ——
馬文君確實就是在惡意阻擋潛艦國造
老實說,馬文君絕對是國民黨在外交及國防委員會最醜陋、惡劣的立委。她最近因為浮濫提案杯葛潛艦國造預算,還被挖出過去出席祕密會議拒絕簽署切結書,引發爭議。
她自認是因為海軍信口開河,問心無愧,還罵這是空白支票。
我在這邊告訴大家,馬文君不是今天才在惡搞潛艦國造,而是兩三年前都在惡搞了。
這裡是2019年1月7日朝野協商的會議紀錄。當時已經是晚上了,進行到潛艦國造的部分。
我印象中是柯建銘總召當時身體微恙,又多日操勞,所以先回辦公室休息,開啟直播,遠端監看。
2019年度的潛艦國造預算是75.1億元。
馬文君就提案刪減75.1億元。也就是馬文君要全數刪減潛艦國造預算。全數刪減,全數刪減,全數刪減。
海軍參謀長海軍李宗孝解釋,2019年度的預算很重要,攸關廠商信心、國家信譽,目前執行進度很順利。
馬文君就大罵,因為台灣想要潛艦已經十幾二十年了,也不差這一兩年。預計2020年才會設計好,為什麼2019年就要75.1億元?
馬文君更不爽,蓋船塢總預算要80億元,難道一定是台船得標?
李宗孝解釋,世界各國的首艘潛艦,都是國家包到底。
馬文君接著就罵海軍,設計圖都還沒拿出來,憑什麼要預算。接著說,美國、日本川崎三菱那些蓋蒼龍的船廠,都不是政府出錢蓋的,所以政府要出錢蓋船塢很不合理,她不能接受。
這我上週已經解釋過了,日本的蒼龍號不只是蒼龍級首艘艦,而是日本戰後的第46艘自製潛艦,而且日本還有百年的潛艦製造史;美國的潛艦製造經驗,恐怕又是日本的十倍以上。
所以可以拿美國那些能造SSGN、航空母艦的船廠,日本的川崎、三菱來與台船比嗎?這是什麼居心?
李宗孝趕忙解釋,這個船塢是蓋在國有地上,是國家的財產,不是台船的;還強調,全世界各國首艘潛艦的那個船廠,都是政府出錢的;蒼龍是後續艦,不是首艘艦。
這時候已經很晚了。立法院長蘇嘉全受不了,請馬文君說個數字,留到院會去表決。
但馬文君還是要盧下去,堅決要杯葛到底。
柯建銘總召這時候趕過來罵人。他強調,我們就是這樣做,少在那邊東拉西扯。還直接問馬文君,不然希望那間船廠得標,乾脆說出來給大家聽。
馬文君被戳破後,馬上暴跳如雷,什麼給台船做就是圖利財團這種鬼話都說出來了。
柯總召大罵,這是國家的事,船塢蓋在國家的土地上有什麼問題?
馬文君接著心虛瞎扯,台船資本額才30億元,哪有資格做潛艦?還說,就開國際標,標給外國船廠做。
蘇嘉全眼看吵不完,直接決定,潛艦提案都送到院會處理,不要再討論了。
馬文君,她對潛艦國造的關心、介入、干預,是遠遠超過其他立委的總和,從杯葛預算、窺探機密,她都是國民黨的指標、主導人物。到底是為什麼,我不懂。只知道她是非常惡質的爛立委。
https://www.facebook.com/grant0516/posts/4088586701158691
白癡才拿蒼龍比潛艦國造
https://lci.ly.gov.tw/LyLCEW/communique1/final/pdf/108/15/LCIDC01_1081502.pdf
立法院公報第108卷第15期 頁145-頁149
https://news.ltn.com.tw/news/politics/breakingnews/2654687
決戰總預算藍營提12意見 凍促轉會預算
https://news.ltn.com.tw/news/politics/paper/1260472
潛艦國造75億 全額通過
https://tw.nextmgz.com/realtimenews/news/468802
拒簽保密切結書 藍立委質詢潛艦惹議
https://www.facebook.com/100000222035259/posts/4107580559259305/?d=n
politics pdf 在 เจาะข่าวตื้น Shallow News in Depth Youtube 的最讚貼文
ร่วมเป็นผู้สนับสนุนให้เรามีกำลังผลิตงานต่อไปได้ทาง บัญชีกสิกรไทย
0193426433
บริษัท สโป๊คดาร์ค จำกัด
นะครับ ขอบพระคุณมากครับ
หรือจะร่วมเป็นผู้สนับสนุนแบบรายเดือนให้พวกเราก็คลิกที่ลิงค์นี้ได้เลยครับ
https://www.youtube.com/c/ShallowNewsinDepth/join
แล้วเข้ามาดูของแปลกกันในกลุ่มนะ 555 ?
เจาะข่าวตื้น SpokeDark ShallowNewsInDepth : กลับมาเจอกับ พ่อหมอ และ จอห์น วิญญู อีกครั้ง ช่วงนี้เต็มไปด้วยเรื่องใหญ่มากมายเช่น ลอตเตอรี่หรือหวยที่ออก 999997 ปรีดี ดาวฉาย ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีคลังหลังทำงานได้ 20 วัน และม็อบที่มีรายวัน และกำลังขับเคลื่อนสังคมไปข้างหน้า ดังนั้นเราควรจะแสดงพลังกันให้มากๆ เช่นการเข้าชื่อแก้รัฐธรรมนูญให้ได้ 5 หมื่นรายชื่อ ย้อนดูประวัติศาสตร์ที่เกาหลีใต้ช่วงยุค 80 การเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยพีกสุดๆ มีการเข้าชื่อเพื่อขอแก้รัฐธรรมนูญถึง 10 ล้านชื่อ เผด็จการทหาเกาหลีใต้รมีหรือจะหน้าด้านอยู่ไหว! ทั้งหมดนี้ใน เฉลยสูตร คนต้องออกมาเท่าไหร่ ม็อบประชาธิปไตย ถึงจะชนะเผด็จการ : เจาะข่าวตื้น 256
ข้อมูลเพิ่มเติม : ลงชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับทางiLaw: https://50000con.ilaw.or.th/
เกาหลีใต้ เลิกเป็นเผด็จการได้อย่างไร? https://youtu.be/ZkRO8_sPyWA
Civil society and democratization in South Korea : https://core.ac.uk/download/pdf/76462899.pdf
#ประชาธิปไตย #แก้รัฐธรรมนูญ #saveทนายอานนท์
politics pdf 在 KAZUYA CHANNEL GX Youtube 的最佳解答
ニコ生とFRESH! でお馴染みの
「KAZUYAの(意味深)な話|KAZUYA CHANNEL GX」の生放送をYouTubeでも!
続きはこちら!→ http://bit.ly/2ZN3HvI
全編ご視聴はこちらから!
ニコ生→ http://ch.nicovideo.jp/kazuyagx2
FRESH!→https://freshlive.tv/kazuyagx
Facebookページもあるよ→https://www.facebook.com/kazuyachannelgx/
KAZUYA講演予定はこちら♪→http://kazuyahkd.com/event
日本エア野党の会はじめました→ https://www.tea-party.jp/
本日のお題は・・・
-------------------------------------
週刊ポスト「断韓」特集に抗議し連載降板 編集部は謝罪
朝日新聞 2019/9/2
https://digital.asahi.com/articles/ASM9255STM92UCVL018.html
青木理氏、韓国大統領側近チョ・グク氏の疑惑否定会見に「ほぼ完璧に答える。本当に頭のいい人」
スポーツ報知 2019/9/3
https://headlines.yahoo.co.jp/hl?a=20190903-00000072-sph-soci
国のキャッシュレスポイント還元PRサイト、「使えるお店一覧」から18万店を網羅した3608ページのPDFに飛ばす
ねとらぼ 2019/9/2
https://headlines.yahoo.co.jp/hl?a=20190902-00000059-it_nlab-sci
政府、全国共通の新ポイント発行 マイナンバーカードを活用
共同通信 2019/9/1
https://headlines.yahoo.co.jp/hl?a=20190901-00000100-kyodonews-bus_all
首相、11日に内閣改造 外相に茂木氏が浮上
産経新聞 2019/9/3
https://www.sankei.com/politics/news/190903/plt1909030006-n1.html
フェイスブックも「いいね!」表示終了を検討
AFPBB News 2019/9/4
https://news.livedoor.com/article/detail/17028325/
【コリア実況中継!】朝鮮日報、社説日本語版掲載取りやめ1カ月超 「嫌韓あおる」政府の名指し批判受け
産経新聞 2019/9/1
https://www.sankei.com/premium/news/190901/prm1909010008-n1.html
組織委 旭日旗“使用可” 韓国「歴史の直視必要」
FNN 2019/9/3
https://www.fnn.jp/posts/00423436CX/201909031947_CX_CX
安倍首相“日韓相互撤回案”受け入れられず
日テレNEWS24 2019/9/3
https://news.livedoor.com/article/detail/17026690/
韓国の日本批判を注意 APECで議長国チリ
産経新聞 2019/9/3
https://www.sankei.com/politics/news/190903/plt1909030004-n1.html
茨城の夫婦殺傷、ベトナム国籍の農業実習生逮捕
産経新聞 2019/9/2
https://headlines.yahoo.co.jp/hl?a=20190902-00000559-san-soci
香港行政長官、辞任を否定 「辞めたい」発言は認める
日本経済新聞 2019/9/3
https://www.nikkei.com/article/DGXMZO49335420T00C19A9MM0000/
図書館から「ハリー・ポッター」排除へ 悪魔払い師の助言受け 米
AFPBB 2019/9/3
https://www.afpbb.com/articles/-/3242831
自販機荒らしに新手口、硬貨は空っぽに 口コミで広まる
朝日新聞 2019/9/1
https://digital.asahi.com/articles/ASM826KKQM82UTNB016.html
N国の新宿区議、当選無効に 区選管「居住実態なし」
朝日新聞 2019/9/2
https://digital.asahi.com/articles/ASM925H81M92UTIL01T.html
なぜ? スーツ→ポロシャツ 特殊詐欺受け子がカジュアルに
毎日新聞 2019/8/31
https://headlines.yahoo.co.jp/hl?a=20190831-00000008-mai-soci
-------------------------------------
★オンザボード公式メルマガはじめました!全放送と動画等、各種ご案内!QRコードから!
https://bit.ly/2E28VLi
★ご意見フォームはじめました!こちらをクリック!
https://bit.ly/2SNKmfi
※スーパーチャット下さった方もこちらから申告下さい。抽選でステッカーなど当たります
------------------------------------------------------
politics pdf 在 #ミニマリストライフ Youtube 的最讚貼文
ビジネスワイヤからの速報です。 アメリカの新聞大手『ニューヨーク・タイムズ』はスマートフォン、タブレットアプリの『Flipboard』と提携しました。 NYタイムズの新聞を有料でFlipboardの形式で配信します。
日本でも『日本経済新聞社』や『産経新聞』が電子新聞を発行しています。しかし、それらの新聞は伝統的な紙新聞のレイアウトを電子新聞上でも再現しています。
一方、NYタイムズはFlipboardの形式で読むことができます。 伝統的な紙新聞レイアウトだと、拡大縮小したり、色々な方向にスクロールしたりと不便ですが、Flipboard形式だと、素早く目的に記事を読むことができます。
これは非常に画期的です。 多くの人は新聞のレイアウトはこだわっていないと思います。 紙には紙の、電子端末には解像度に応じた表示方法があると思います。
以下は記事です。
The New York Times and FlipboardTM Launch New York Times on Flipboard for iPad and iPhone
Times Digital Subscribers to have Full Access to Times Content in Flipboard
NEW YORK--(BUSINESS WIRE)--The New York Times (www.NYTimes.com) and FlipboardTM (www.flipboard.com) have collaborated to deliver the latest news and award-winning journalism from The New York Times, designed and formatted for optimal reading on Flipboard for iPad and iPhone. The New York Times on Flipboard will be available starting Thursday, June 28.
"There are more and more people reading on mobile devices every day. And it's more important than ever that great content be discoverable, beautiful and sustainable on these devices"
Today's announcement marks firsts for both companies.
For The New York Times, it marks the launch of NYT Everywhere, a new strategy designed to expand its reach to users on third-party platforms. It is the first time that The Times has offered paid subscribers full access to its content off a Times platform.
For Flipboard, this is the first time readers can access premium content from a publisher within Flipboard's critically acclaimed user experience. Flipboard designed this authentication and navigation experience specifically for The New York Times.
Following authentication by Flipboard, Times subscribers will have full access to all content including full articles, videos, photo slideshows and blogs. By tapping on The New York Times logo, readers will be able to browse stories from various New York Times sections, everything from Politics to Business to Style. As with other New York Times news applications, the Top News section of the app is free to all.
"With the launch of NYT Everywhere, with Flipboard, we are continuing our effort to extend the user-experience across a variety of platforms to reach readers where they want to access our journalism," said Denise Warren, general manager, NYTimes.com and senior vice president and chief advertising officer, The New York Times Media Group. "We're excited to offer our subscribers the option of Flipboard's rich experience and also to bring our authoritative news, opinion and superior multimedia to a new audience of Flipboard users who may not yet be Times subscribers."