กรณีศึกษา รถไฟความเร็วสูงในจีน ที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว /โดย ลงทุนแมน
ประเทศจีนกลายเป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงของโลก
ทั้งความทันสมัย ขนาดโครงการ รวมถึงต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าประเทศอื่น
แต่รู้หรือไม่ว่าปัจจุบัน ประเทศจีนกำลังเผชิญกับดักหนี้มหาศาลจากการพัฒนารถไฟความเร็วสูงเช่นกัน
เทคโนโลยีรถไฟของจีนทันสมัยแค่ไหน
แล้วทำไมมันกลับสร้างภาระหนี้ให้กับประเทศ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ในช่วงศตวรรษที่ 21 ประเทศจีนกลายมาเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก
ด้วยการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดด โดย GDP ของจีนเติบโตเป็น 11 เท่าภายในเวลาเพียง 20 ปี
บวกกับจำนวนประชากรทั้งประเทศกว่า 1.4 พันล้านคน ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศจีนมีมากขึ้น ซึ่งก็ผลักดันให้ความต้องการเดินทางระหว่างเมืองสูงขึ้นด้วย
ตั้งแต่ช่วงปี 1990 เป็นต้นมา รถไฟรูปแบบเดิมที่เคยได้รับความนิยมอย่างมาก
มีจำนวนผู้ใช้บริการน้อยลงจากการพัฒนาทางหลวงและการบินภายในประเทศ
แต่ด้วยขนาดพื้นที่กว่า 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่กว่าประเทศไทยเกือบ 19 เท่า
ทำให้การเดินทางด้วยรถยนต์ระหว่างเมืองต้องใช้เวลานานหลายชั่วโมง
หากจะให้พึ่งพาเครื่องบิน ก็มีเฉพาะกลุ่มคนเพียงบางกลุ่มที่มีกำลังจ่ายบวกกับการเดินทางด้วยเครื่องบินส่วนใหญ่จะเหมาะสำหรับการเดินทางที่มีระยะทางไกล ซึ่งมันก็ยังไม่ตอบโจทย์กับการเดินทางระยะกลาง ที่มีระยะทางไม่เกิน 1,000 กิโลเมตร
ดังนั้น รัฐบาลจีนจึงตัดสินใจพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและมีนโยบายผลักดันการพัฒนารถไฟความเร็วสูงเพื่อนำมาแก้ปัญหาดังกล่าว
โดยรัฐบาลจีนได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2003 และสนับสนุนให้การเดินทางด้วยวิธีนี้เป็นตัวเลือกหลักในการเดินทางระหว่างเมือง
ในช่วงเริ่มแรก ประเทศจีนต้องพึ่งพาเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงจากยุโรปและญี่ปุ่น
แต่ต่อมา จีนก็ได้เริ่มมีการพัฒนาเทคโนโลยีและการผลิตโดยภาคเอกชนภายในประเทศ
ทำให้โครงข่ายรถไฟความเร็วสูงของจีนเติบโตแบบก้าวกระโดด
ปัจจุบัน โครงข่ายรถไฟความเร็วสูงของจีนมีระยะทางรวมกว่า 37,900 กิโลเมตร ซึ่งนับเป็นระยะทางรวมที่มากที่สุดในโลก ทิ้งห่างอันดับสองอย่างสเปนที่มีเพียง 3,200 กิโลเมตร และญี่ปุ่นที่มี 3,000 กิโลเมตร
นอกจากระยะทางแล้ว อีกเรื่องหนึ่งที่น่าสนใจ
ก็คือความเร็วในการสร้างรถไฟความเร็วสูงของประเทศจีน
รู้หรือไม่ว่ากว่าครึ่งหนึ่งของโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศจีน
ซึ่งครอบคลุมระยะทางราว 20,000 กิโลเมตร ใช้เวลาสร้างเพียง 5 ปี
ในขณะที่ส่วนต่อขยายเพิ่มเป็น 70,000 กิโลเมตร
ประเทศจีนวางแผนเอาไว้ว่าจะสร้างให้แล้วเสร็จในปี 2035
โดยที่ประเทศจีนสามารถสร้างรถไฟความเร็วสูงได้อย่างรวดเร็ว
นั่นก็เพราะว่าต้นทุนสร้าง ที่ถือว่าถูกมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น
จากรายงานของธนาคารโลกระบุว่าต้นทุนในการสร้างรถไฟความเร็วสูงของประเทศจีนอยู่ที่ 510 ถึง 630 ล้านบาทต่อกิโลเมตร
ในขณะที่ยุโรปมีต้นทุนประมาณ 750 ถึง 1,170 ล้านบาทต่อกิโลเมตร
และสหรัฐอเมริกาเจ้าแห่งเทคโนโลยีกลับมีต้นทุนสูงถึง 1,680 ล้านบาทต่อกิโลเมตร
สำหรับสาเหตุที่ทำให้ต้นทุนในการสร้างของจีนต่ำ
ก็เพราะว่าประเทศจีนมีโรงงานผลิตสินค้าที่เกี่ยวกับรถไฟความเร็วสูงในประเทศทำให้ต้นทุนค่าก่อสร้างและขนส่งถูกลง
นอกจากนี้ การออกแบบการก่อสร้างรวมถึงวัสดุที่ใช้มีมาตรฐานเดียวกันตลอดทั้งโครงการ
จึงทำให้ช่วยลดความยุ่งยากในการก่อสร้างลงและประหยัดค่าใช้จ่าย
อีกปัจจัยสำคัญที่ทำให้ต้นทุนมีราคาถูกคือค่าใช้จ่ายในการเวนคืนที่ดินที่ถูกมาก โดยคิดเป็นประมาณ 8% ของต้นทุนสร้าง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีค่าเวนคืนสูงถึง 17.6% ของต้นทุน
ส่วนหนึ่งเป็นเพราะที่ตั้งของสถานีที่จะอยู่แถบชานเมืองหรือนอกเมืองเป็นหลักเพื่อขยายความเจริญให้กระจายออกจากตัวเมือง ซึ่งที่ดินที่เวนคืนโซนนอกเมืองมีราคาถูกกว่าพื้นที่กลางเมือง
และแม้ว่าต้นทุนที่ใช้ในการก่อสร้างจะมีราคาถูก แต่ระบบของรถไฟความเร็วสูงของจีนก็เรียกได้ว่ามีความทันสมัยและดีไม่แพ้ประเทศอื่น
ยกตัวอย่างเช่น รถไฟหัวกระสุนในเส้นทาง ปักกิ่ง-จางเจียโข่วในมณฑลเหอเป่ย ที่เป็นสายหลักในการรองรับการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาวในปี 2022 เส้นทางดังกล่าวมีระยะทาง 174 กิโลเมตร ซึ่งปกติแล้วต้องใช้เวลาเดินทางถึง 3 ชั่วโมง
แต่ด้วยเทคโนโลยีในการพัฒนาของจีนทำให้ดันความเร็วสูงสุดที่ 350 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ส่งผลให้ระยะเวลาเดินทางลดลงเหลือเพียง 1 ชั่วโมงเท่านั้น และที่สำคัญรถไฟขบวนนี้เป็นระบบไร้คนขับอีกด้วย
นอกจากนี้ รถไฟความเร็วสูงจีนยังมีการนำเทคโนโลยีจดจำใบหน้าและหุ่นยนต์มาใช้เพื่อช่วยเหลือผู้โดยสารภายในสถานีในการนำทาง จัดการสัมภาระ เช็กอิน และไม่มีการใช้ตั๋วกระดาษ
โดยขั้นตอนตั้งแต่การจองจนถึงเดินขึ้นรถจะใช้เพียงการสแกนบัตรประจำตัวหรือหนังสือเดินทางเท่านั้น
ทั้งหมดนี้ สะท้อนให้เห็นว่าจีนได้ก้าวขึ้นมาเป็นหนึ่งในผู้นำเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงเต็มตัวในระยะเวลาไม่นาน ซึ่งรถไฟความเร็วสูงจีน ก็ได้ทำให้หลายประเทศเริ่มให้ความสนใจ
อย่างเช่น รัสเซีย ที่มีแผนร่วมกับจีนในการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟความเร็วสูงจากกรุงปักกิ่งไปยังกรุงมอสโก ซึ่งกินระยะทางกว่า 7,000 กิโลเมตรและคาดว่าต้องใช้เงินลงทุนทั้งสิ้น 7 ล้านล้านบาท
เส้นทางสายนี้จะยาวเป็นสามเท่าของสาย ปักกิ่ง-กว่างโจว
นอกจากนี้ ยังมีเส้นทางที่ข้ามเทือกเขาหิมาลัยไปยังอินเดีย ปากีสถาน และประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ ซึ่งโครงการที่กำลังจะเกิดขึ้น ก็จะช่วยผลักดันเศรษฐกิจและการค้าของประเทศให้เติบโตไปพร้อมกัน
หากเรามาดูการเติบโตของการใช้บริการรถไฟความเร็วสูงในประเทศจีนจะเพิ่มขึ้น
จาก 10 ล้านเที่ยวในปี 2008 เป็น 2,300 ล้านเที่ยวในปี 2019
ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นการเติบโตที่รวดเร็วมาก
อย่างไรก็ตาม การเติบโตแบบก้าวกระโดดของเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงจีนก็ไม่ได้มีแต่ด้านดีเสมอไป เพราะทางรัฐบาลจีนที่เป็นผู้กระจายงบการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานรถไฟความเร็วสูงไปยังแต่ละเมือง ได้คาดการณ์ผลตอบแทนผิดพลาด จนนำไปสู่การก่อหนี้มหาศาล เช่นกัน
ในปี 2018 มีรายงานว่า 60% ของผู้ให้บริการรถไฟความเร็วสูงในจีนในแต่ละเมือง ขาดทุนอย่างน้อย 3 พันล้านบาท โดยเฉพาะผู้ให้บริการในเมืองเฉิงตู ที่ขาดทุนสูงถึง 5.4 หมื่นล้านบาท
โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงที่มากเกินความจำเป็น ส่งผลให้จำนวนความหนาแน่นของผู้ใช้บริการในบางสายที่ประชากรในละแวกนั้นยังไม่พร้อม ทำให้ไม่คุ้มค่าต่อการเดินรถ
ส่งผลให้ China State Railway Group (CR) ที่มีกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้น โดย CR เป็นเจ้าของโครงข่ายรถไฟความเร็วสูงทั้งหมดในจีน มีค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยสูงและเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้บริษัทขาดทุนมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2015
จนมาถึงปัจจุบัน ผลการดำเนินงานของ CR ก็ยังคงขาดทุนและจำเป็นที่จะต้องก่อหนี้กู้ยืมเงินก้อนใหม่เพื่อนำมาจ่ายหนี้ก้อนเก่า
จนกระทั่งในปีนี้หรือปี 2021 รัฐบาลจีนจึงได้สั่งทบทวนการลงทุนในโครงการรถไฟความเร็วสูงทั้งประเทศ โดยเส้นทางการเดินรถของเมืองที่มีต้นทุนสูงและมีหนี้สินมากเกินไปจะถูกระงับการก่อสร้าง
ทั้งหมดนี้ก็เพื่อหยุดภาระหนี้สินก้อนใหญ่ ก่อนที่มันจะสร้างความเสียหายไปมากกว่าที่เป็นอยู่..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.adb.org/sites/default/files/publication/504076/adbi-wp959.pdf
-https://edition.cnn.com/travel/article/china-high-speed-rail-cmd/index.html
-https://www.globalconstructionreview.com/sectors/why-china-can-build-high-speed-rail34socheaply7365/
-https://www.orfonline.org/expert-speak/chinas-high-speed-railways-plunge-from-high-profits-into-a-debt-trap/
-https://www.businessinsider.com/russia-builds-moscow-to-beijing-high-speed-train-2014-12
-https://www.statista.com/statistics/276054/number-of-train-passengers-in-china/
同時也有2298部Youtube影片,追蹤數超過90萬的網紅Suzukawa Ayako ch,也在其Youtube影片中提到,鈴川絢子:主に鉄道が好きです。乗り物全般、旅行が好きです。 家族との動画など色々あげています。鈴川の家族ビデオブログと思ってください。 2014年7月に第一子の男の子、常陸(ひたち)が誕生、 2017年12月に第二子の男の子、常磐(ときわ)が誕生しました。 千葉県出身です。宜しくお願い致します。 ...
「rail railway」的推薦目錄:
- 關於rail railway 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於rail railway 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最佳解答
- 關於rail railway 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最讚貼文
- 關於rail railway 在 Suzukawa Ayako ch Youtube 的最讚貼文
- 關於rail railway 在 Suzukawa Ayako ch Youtube 的最佳貼文
- 關於rail railway 在 Suzukawa Ayako ch Youtube 的最佳貼文
- 關於rail railway 在 Railway CEO apologises for toxic train crash at US Senate ... 的評價
rail railway 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最佳解答
【國際滑「鐵」盧】港鐵海外投資連番觸礁實錄 #永續港鐵霸權 #7月專研
港鐵公佈2021年中期業績,當中除了顯示一如以往的發展地產業務龐大紅利外,海外投資業務的財政狀況亦十分值得關注,正反映出港鐵投資核心逐漸傾向海外,愈來愈偏移以香港為本位的發展實況。
港鐵自2009年開始運用多年來從香港所得的巨利,向海外市場拓展進軍。然而,檢視十多年來財務報告,可發現回饋香港的「盈利」卻只有蠅頭小利,這間自稱「國際級鐵路公司」在本地已經建立霸權壟斷,但極少提及海外投資策略原來連番觸礁? 一直引而自豪的鐵路加物業模式究竟是一套「完美方程式」,還是一場「國際滑鐵盧」?
▌海外投資「窮忙」
港鐵由2009年起,先後在澳洲、英國、瑞典、中國等地發展及營運多項鐵路項目,由2010至2020年十年間,大型海外鐵路項目數量由2個變成12個。而最新2021中期業績公佈顯示,港鐵將於2021年12月接管瑞典Mä lartå g的營運服務,顯示未來將會開拓更多海外業務。翻查近年港鐵年報:
—2020年海外業務總收入:214億
—2020年海外投資盈利:4.76億 (利潤率只有約2.2%)
港鐵於2020年海外業務總收入超過本地票務收入成為港鐵最大收入來源。然而,當扣除開支成本後,海外投資盈利非常微薄,雖然相對香港業務過去兩年虧損為佳,但仍可明顯見到港鐵一直在「窮忙」。如果從應佔利潤分析,剔除包括物業業務的票務的收入的內地及澳門業務,海外業務營業額佔絕對大多數,達195.92億元,但應佔利潤只有5,700萬,利潤率僅有0.3%。
可見走出國門的港鐵,利潤確實非常可憐,當中依靠墨爾本鐵路項目佔收入最多。而不少項目每年大多只賺幾千萬。而英國西南鐵路項目(South Western Railway)更「損手爛腳」,在2019年要港鐵額外撥備港元4.3億【註一】,連港鐵自己在當年年報亦表示英國及瑞典鐵路表現欠佳。
在「窮忙」財政數字背後,反映的是港鐵不斷「輸出」香港人才、技術及資源的實況。近十年港鐵年報顯示【註二】:
—員工薪酬總額中海外業務開支
2015年:50億
2020年:92.6億
—海外員工人數
2015年:8,157個
2020年:16,921個
—海外業務資產
2010年:87.79億
2020年:332.35億
除了海外員工已佔現時港鐵全部員工近49%外,根據立法會就港鐵公司鐵路業務質詢,顯示港鐵公司於2016年會調動近80名專職支援香港以外鐵路業務的員工,而到2020年已經上升近200名,當中更會調動本地管理及技術員工至不同鐵路城市「輸出」技術,明顯見到港鐵有發展比重愈來愈偏向海外的傾向。
然而,港鐵海外業務亦由於當地的工程延誤、當地基建配套持有人以及疫情影響,而遇到不少阻礙;瑞典斯德哥爾摩的通勤鐵路(Stockholm commuter rail)於18年因當地基建配套問題,就準時度與顧客滿意度承擔重大罰款【註三】;各地項目亦曾出現大大小小的罷工。(已更正此段落關於港鐵海外營動的內容)
隨著港鐵海外投資數字日益飆升,特區政府往往解釋指,港鐵會為海內外的投資額定下風險管理指標。然而,問題在於,明明政府作為最大股東的港鐵,港鐵利用本地業務的盈利去不斷投資這些「冇肉食」的海外項目,也不善用解決本地鐵路營動時所帶來的各種超支延誤加價等民生問題,這是否合乎港鐵以香港為本的定位?當本港業務是由香港市民、公帑補貼與政策傾斜支撐而成,此舉是否有違公共基建「取之於民,用之於民」的本意呢?亦是現時市民對港鐵海外財政運用原則的一大質疑。
▌完美方程式的「觸礁」
「完美方程式」鐵路加物業發展模式一直是港鐵引以為傲的投資策略,2017年時任港鐵主席馬時亨多次接受訪問稱,港鐵本地鐡路「開一條蝕一條」,需積極拓展海外市場,將「鐵路加物業」的完美方程式推銷至海外,「聲稱」會將盈利回饋香港【註四】,嘗試合理化港鐵近年積極開辦海外新鐵路的原因。
2017年港鐵大肆宣傳港鐵鐵路加物業模式進軍海外,連享負盛名的麥健時公司(McKinsey & Company)亦要為其在官網上放上一篇 ”Hong Kong’s successful self-financing formula” 來歌頌【註五】。而其中最受矚目正是港鐵聯合其他外國發展商入圍參與競投成為倫敦尤斯頓車站重建發展項目(項目地盤面積約22公頃)。然而,翻查現時倫敦尤斯頓車站(Euston railway station)重建的項目進度,原來項目早於2019年由澳洲聯實集團(Lendlease Group)中標【註六】,怪不得港鐵沒有公佈後續消息。
港鐵雖一直嘗試向各政府推銷其「賺錢大計」,卻處處碰壁。除了英國外,港鐵的地產方程式在瑞典亦面臨同樣的挑戰。2017年港鐵同時入圍的瑞典斯德哥爾摩城市Upplands Vasby 其中一個市郊鐵路車站附近的重建項目。當時瑞典日報(Svenska Dagbladet)有報章標題亦提及當地專家表示非常喜歡其規劃理念,但時任斯德哥爾摩市議員則表示當地不需中國國有的商鋪,並表明沒興趣向港鐵出售土地【註七】。而時至今日,港鐵仍未見有公佈項目的最新進展消息。另一篇瑞典日報的報導標題亦有提及瑞典國防委員會主席Pål Jonson 希望在外國公司在營運鐵路前要先進行安全審查【註八】。瑞典政府是否會將項目交予港鐵,或需要因應當地的政經考量。可見,所謂「完美方程式」其實不一定通行於國際,當遇上複雜的地緣政治時,就更加寸步難行。
▌未竟北上之路
港鐵國際間推銷「完美方程式」處處碰壁,而中國市場則成為其中一個重要依靠。根據最新2021年港鐵中期業績公佈,港鐵今年3月在中國杭州取得杭州西站南側的建設用地使用權。除此之外,現時亦在北京、深圳及天津擁有地鐵周邊物業的經營權,算是港鐵多年靠攏中國市場的「成果」。
港鐵多年中國投資多個鐵路項目,足跡遍及深圳丶北京丶杭州,某些項目更在兩鐡合併前已經簽署協議。然而,單單中國就概括多達5個城市的鐡路項目,包括北京(4號線、大興線、14號線、16號線、17號線)、深圳(4號線及北延線)、杭州(1號線及下沙延伸段、5號線)、澳門(輕軌氹仔線),各大城市業務總和只佔2020年總海外業務收入約8.5%,佔收入比例則只有約4%。同時,港鐵亦擔任「廉價勞工」不斷輸出技術、人手及資金,換取地方政府的合作機會。早於2017年港鐵在杭州籌備建港鐵學院,輸出鐵路人才返大陸或到一帶一路。此外,北上為配合大灣區發展,港鐵更在2018年順德區陳村站毗鄰綜合物業發展項目【註九】,負責「冇肉食」的顧問技術支援。
即使成功取得上蓋鐵路項目,港鐵在中國要面對的問題仍然很多,發展進程似乎也不太順利。如深圳龍勝站上蓋物業項目「天頌」,作為首個港鐵獨資開發的地產項目,港鐵亦包攬發展商的角色。這有別於叫特區政府送地、交由發展商開發,坐定定等收錢的慣常「二房東」模式。然而,天頌由興建到售銷卻引發一系列工程問題,例如停車場未開放已經出現發霉和積水,住宅內的客廳更是天花板高低不平,地板存在不同空鼓等等【註十】,而有報道亦指天頌地產項目的售樓疑涉貪污問題,港鐵三高層遭解僱【註十一】。至於天津的項目,根據去年年報指出,指由於建造地庫時需進行額外鐵路安全保障工程,北運河站商場發展項目的完工日期已延至2024年,距2017年獲得項目至今已蹉跎7年【註十二】。可見,港鐵北上之路仍非一帆風順,尤其面對現時內房國鐵競爭、中港土地制度差異等挑戰。
可見,相比起港鐵在香港營運上受到政府送上蓋可以保持壟斷霸權,到海外就「見光死」。即使港鐵不斷在海外投入大量技術、資金及人力資源,但每年的利潤仍然少得可鄰。而箇中原因相信跟港鐵海外「鐵路加物業」模式失效息息相關。當港鐵在海外失去政府送上蓋物業發展權的政策庇護,「完美方程式」的鍊金術就會失效,更顯所謂「國際級典範」的港鐵發展模式少有人提及脆弱的一面。
參考資料:
【註一】HK01:港鐵就英國業務 撥備4.3億元 https://bit.ly/2VVPocm
【註二】港鐵2011年至2020年財務統計數字:https://bit.ly/2Uc9sX8
【註三】港鐵2018年年報:https://bit.ly/3jVfKn7
【註四】明報﹕港市場飽和 新線「開一條蝕一條」 港鐵「走出去」 海外盈利回饋本港
https://bit.ly/3CJOfoR
【註五】Mckinsey&Company:The ‘Rail plus Property’ model: Hong Kong’s successful self-financing formula. https://mck.co/3yJB3y2
【註六】 Lendlease Wins $7bn London Euston Project (26 February, 2018). https://bit.ly/3CIPncs
【註七】瑞典日報(18 Augest, 2018). Stockholm behöver inte statliga kinesiska butiker” https://www.svd.se/stockholm-behover-inte-statliga-kinesiska-butiker/om/mtr
【註八】瑞典日報(Svenska Dagbladet) (20 February, 2020). T-banedriften: ”Vi måste vara ytterst försiktiga” https://www.svd.se/t-banedriften-vi-maste-vara-ytterst-forsiktiga
【註九】港鐵2018年年報:https://bit.ly/3jVfKn7
【註十】【曝光】港鐵天頌交樓遭遇“質量門”,“港式服務”哪去了?https://www.gushiciku.cn/dc_hk/101065990
【註十一】立場新聞:傳港鐵一負責內地事務高層捲貪污調查 被即時解僱 https://bit.ly/37CdOdp
【註十二】港鐵2020年年報:https://bit.ly/3jOws7s
港鐵霸權專研系列全部成果一覽:https://liber-research.com/features/07_2021/
研究自主 月捐撐起港鐵霸權專研系列:https://liber-research.com/support-us/
FPS ID:5390547
HSBC PayMe 捐款支持:https://bit.ly/32aoOMn
戶口號碼:匯豐銀行 640-198305-001 (LIBER RESEARCH COMMUNITY (HK) COMPANY LIMITED)
義工招募:https://bit.ly/2SbbyT3
rail railway 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最讚貼文
【還原「物業帶動鐵路」的歷史時空】 #永續港鐵霸權 #7月專研
港鐵霸權一大核心就是長期壟斷「鐵路上蓋物業發展權」,今時今日香港土地問題走到如斯局面,與經常被吹噓為「國際成功模式」的「鐵路加物業」(Rail + Property) 不無關係,但服務大眾的鐵路公司搖身一變成為追求利潤的發展商,絕對不是一夕間發生的合理事情。「鐵路上蓋物業」的原意又與今日有沒有變化? 是次研究專題將會透過回顧過上千頁有關香港地下鐵發展的英國解密檔案,還原70年代「物業帶動鐵路」發展模式的源起及原意,將有助進一步理解現時逐漸扭曲的港鐵發展形態。
▌構思初現:初期鐵路物業的背景與概念
「以地養鐵」更早可以在日本找到相類似發展模式 (Murakami, J., & Gregory, K. I.,2012),然而最早「引進」香港的來源暫不可考。但從現有官方內部檔案中,可找到早於1970年交通諮詢委員會 (Transport Advisory Committee)提交的一份《集體運輸計劃總報告書》,報告中建議除了計劃興建已設計的4條鐵路路線,並分9期(nine distinct stages) 完成「理想」鐵路系統(preferred system)外,已有提及「發展上蓋物業」的構思。在報告提及鐵路系統的長期發展影響:
”Wherever subway systems have been built experience shows that property and land increase in value. This opens up the strong possibility that a part of the cost of providing station concourses could be met through arrangements which permit the private development of station superstructures and surrounds.”
當年報告所述,由於預視到鐵路系統的帶動下,當地物業及地價將會升值。因而報告提到有很大可能可以容許私人發展 (private development) 上蓋物業去補貼鐵路站的建設成本。值得注意的是,報告除了提出上蓋 (station superstructures)發展外,首次提到發展上蓋周邊 (surrounds) 的發展概念。可見,現時港鐵圈地/上蓋物業發展一早出現在早期鐵路系統構思之中。
70年代還有差點讓鐵路系統觸礁的財政艱難,更清晰定位鐵路中的「物業收益」有何功能。參考早期關於興建鐵路系統的英國解密檔案顯示,早於1972年,香港政府成立集體運輸臨時管理局(Mass Transit Railway Provisional Authority),打算先行興建較全面、工程單一批予日資財團(Japanese consortium)的早期系統(initial system),但後來石油危機爆發,日本經濟陷入危機,財團先是提出可否修訂興建成本價格上限由50億為60億,遭到管理局拒絕後則宣佈退出鐵路興建,檔案中可看到港英政府曾一度為此而與日資財團就賠償爭執,甚至有香港主要大班 (怡和除外) 都因財政理由反對繼續推展興建鐵路計劃。
當年港英內部評估1980年代交通系統會超負荷,即使鐵路系統已被日資延遲一年(have effectively delayed the MTR project for 12 months),連帶物料通賬的財政問題,但卻認為必須「頂硬上」,調整鐵路系統的財政預算、規模以及未來發展方向,於是臨急推出後來實現的修正早期系統 (Modified Initial System)。在1975年一份關於修正早期系統行政局內部文件,港英將會排除必要鐵路系統以外的多餘支出 (eliminate all expenditures not strictly necessary for resultant simpler system),不僅使整個鐵路規模「大縮水」,同時更建議以溢價債卷(Premium bond)作為融資措施,以及發展沿線上蓋物業(property development on lines)抵消(offset)財赤,皆為確保(safeguard)鐵路在任何情況下的財政可負擔性(the financial viability in any event),讓減少後規模的總興建成本能夠保持於49億的水平。可見,當初「鐵路加物業」發展的概念是在財政大緊縮的特定歷史脈絡生成,目的為防止鐵路興建所帶來財政不穩定情況的其中一法。
▌立業辟地:港鐵上蓋四小龍
直到1975年,為了確保鐵路系統的財政可負擔性以及應急儲備,集體運輸臨時管理局向政府申請批出四個鐵路上蓋物業的綜合發展權(comprehensive development)。而當時行政局內部討論中,一份十分詳細記錄有關批予集體運輸臨時管理局四個上蓋發展權的行政局文件顯示,最早期物業上蓋發展的具體情況:
—九龍灣車廠上蓋物業(現時德福花園):
當時除了作為首個利用鐵路車廠上蓋作物業發展的項目,而且亦成為物業上蓋住宅發展的先例,佔地165,800平方呎,打算興建大型屋苑,滿足18,000個人口的住宅需求。
—亞皆老站(即現今旺角站)上蓋物業(現時旺角中心第一期):
首個非鐵路站上蓋作物業發展,只是相鄰於(adjacent to) 鐵路站,為首個利用鐵路通風樓(ventilation shaft)的物業發展。
—金鐘站上蓋物業(現時海富中心):
佔地60,000平方呎的海富中心,當時金鐘站上蓋物業批地條例原來有列明非工業用途,包括興建酒店(non-industrial purposes which may include a hotel)。
—畢打/遮打站(即現今中環站)上蓋物業(Pedder/Chater)(現時環球中心):
當時批中環商業靚地予鐵路公司的理據明顯為商業利益最大化(maximum exploitation of the commercial possibilities),一來可以善用土地資源(物業建於鐵路站上蓋),二來物業及鐵路站同時興建,可以減少工程興建時發展阻礙(development disturbance)。
其後地鐵公司分別與恆隆、合和、長實多間發展商共合發展上述四個上蓋物業,作為「鐵路加物業」發展模式的雛型,當時內部估計以上物業收入將會佔地鐵公司總收益的20%。當年批出九龍灣車廠上蓋物業上公頃的市區發展土地,整體政府部門都相當歡迎,認為可以平衡當區公屋主導的房屋格局,與及能夠為該區提供額外設施的機會,甚至具體要求屋苑內有至少10戶1車位的發展條件 (XCC(75)52)。此四幅最早批出的上蓋物業發展,從通風樓到車廠、由單一大廈到綜合發展,已是奠定了日後鐵路物業發展的主要選址方式與發展類型。
▌誰主上蓋物業?
這份行政局文件亦載有早期鐵路用地發展權的重要批地原則(principles to be adopted in respect to land grant to Mass Transmit Railway Corporation),是還原物業上蓋發展歷史一份重要參照。文件清楚列出,上蓋物業不一定是地鐵公司「囊中物」,鐵路物業發展權是否批出,或批給誰,完全是政府「話事」 (the grant of comprehensive development rights on land affected by railway installations will be discretionary)。
文件亦同時指出,程序上地鐵公司需要先向政府申請(formally apply)批地,政府可以基於實際考慮 (practical consideration) 決定如何運用這些鐵路上蓋用地的發展潛力 (for government to decide on how to dispose of any development potential remaining in the land over and above its Mass Transit usage) 。換言之,港鐵的上蓋發展絕對可以由政府主導及決定,包括根據現時的實際考慮(公營房屋供應長期落後及不足)用作興建公屋,不一定用於與發展商合作興建私樓供港鐵公司利潤最大化。
▌物業收益應急而起
70年代尾,鐵路系統打算擴建至荃灣區。翻查1978年有關鐵路擴建荃灣(Mass Transit Railway extension to Tsuen Wan)的行政局文件顯示,當時除了提及車廠上蓋物業發展的選址爭議外,亦有提及港英對發展上蓋物業的財政原則。物業發展的收入原本並不用作補貼鐵路成本 (revenue from property development was not originally envisaged as being used as a means of financing the capital cost of the railway itself),而是作為應急儲備及改善現金流(contingency reserve and to improve its cash flow)。而且更補充荃灣車廠上蓋物業發展的剩餘收入,可以用作應對以下4個應急情況:
—抵消「超支」建築成本(offset any excess construction costs)
—抵消收入財赤(offset any revenue deficiencies)
—加速還債(accelerate loan repayments)
—提早鐵路公司對港英政府的投資分股息的日子(bring forward the date when the Corporation begins to pay the Government as share holder on behalf of the public dividends on its investment)
可見,港英多次強調,鐵路上蓋物業收入為確保財政可負擔性(viability)及應急(contingency),而非像現時政府愈來愈恆常化送地予港鐵興建私樓賺錢。
引述法國城市學者Aveline-Dubach整理地鐵公司至其後港鐵自1980至2016年收入可見,明顯看見90年代末東涌綫及其後的將軍澳線所帶動的物業發展收入比例愈來愈重,已經超越鐵路票務收入,現時每年物業收益足足佔港鐵總收入四成。可見,透過重現當初的批地原意,更能突顯漸走向扭曲的港鐵發展形態,形成尾大不掉之勢。
▌賣樓補車費:明言物業發展利潤補貼車費
港鐵不應用上蓋物業賺盡的討論,亦見於地下鐵路公司條例的立法階段的重要討論。一份1975年討論地下鐵路公司草案(Mass Transit Railway Corporation Bill)的行政局文件,提及鐵路公司需要按照審慎商業原則 (prudent commercial principles)。鐵路作為公共交通工具,不應最大化其投資回報 (maximize its return on investment),只應賺取足夠(enough)收入作營運開支。
文件亦可見當年政府就發展上蓋物業項目的收益,會清晰公開回應指物業發展可為鐵路帶來的額外利潤,以維持一個「保守的車費政策」 (assist the railway by providing extra revenue to maintain a conservative fares policy)。比起今天已經與物業收益「脫勾」的「可加可減」車費制度,當日港英政府明顯認為物業收益有助更平宜的車費定價。
在40多年前的歷史時空,當初「鐵路加物業」發展模式跟現時已經不可同日而語,發展上蓋物業不論就其發展型態、財政狀況、規劃模式、補貼原意,明顯有其特定的歷史脈絡及原意。是次研究專題透過還原早期興建地鐵的歷史討論,帶出現時不斷被政府吹奏作為「國際級典範」—港鐵發展模式,並不是一套千秋萬世的發展方程式。
參考資料
1971 FCO 40 358 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1975 FCO 40 658 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1975 FCO 40 659 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1975 FCO 40 660 Construction of an underground railway system in Hong Kong
1978 FCO 40 974 Construction of an underground railway system in Hong Kong
Aveline-Dubach, N., & Blandeau, G. (2019). The political economy of transit value capture: The changing business model of the MTRC in Hong Kong. Urban Studies, 56(16), 3415-3431.
Murakami, J., & Gregory, K. I. (2012). Transit value capture: New town codevelopment models and land market updates in Tokyo and Hong Kong. Value capture and land policies, 285-320.
研究自主 月捐撐起最新專研系列:https://liber-research.com/support-us/
FPS ID:5390547
HSBC PayMe 捐款支持:https://bit.ly/32aoOMn
戶口號碼:匯豐銀行 640-198305-001 (LIBER RESEARCH COMMUNITY (HK) COMPANY LIMITED)
義工招募:https://bit.ly/2SbbyT3
rail railway 在 Suzukawa Ayako ch Youtube 的最讚貼文
鈴川絢子:主に鉄道が好きです。乗り物全般、旅行が好きです。
家族との動画など色々あげています。鈴川の家族ビデオブログと思ってください。
2014年7月に第一子の男の子、常陸(ひたち)が誕生、
2017年12月に第二子の男の子、常磐(ときわ)が誕生しました。
千葉県出身です。宜しくお願い致します。
◆現在連載中
『鉄おも!』ネコ・パブリッシング 「鈴川絢子の〇〇やってみたっ!」
http://www.tetsuomo.com/
朝日新聞 「ちば鉄」 http://t.asahi.com/wkvk
◆著書
「鉄分多め。〜関東編〜」(ヨシモトブックス)
http://www.amazon.co.jp/dp/4847093607
「鈴川絢子とちっくんの東京電車さんぽ」(JTBパブリッシング)
https://www.amazon.co.jp/dp/4533134610/
鈴川絢子のゲーム実況チャンネル:https://www.youtube.com/user/suzugame
2ndチャンネル:https://www.youtube.com/channel/UCoA7mJcwPivBNkrCWnTdo_A/
鈴川絢子のTwitter:https://twitter.com/kinokostar_suzu
鈴川絢子のインスタグラム:http://instagram.com/suzukawaayako
◆ファンレター宛先
〒160-0022
東京都新宿区新宿5-18-21
吉本興業株式会社 東京マネジメントセンター
鈴川絢子宛て
※ナマモノ(飲食物・生物・植物など)や危険物等はお受取出来かねます。
I'm Suzukawa Ayako.
I'm from Chiba prefecture in Japan.
I am giving various videos with my interests, videos with my son, mainly on railway related.I post family video.
In July 2014 a boy, the first child, Hitachi was born.
In December 2017 a boy, a second child,Tokiwa was born.
It is loose feeling, but thank you.
My published book, “A Little More Iron.”
http://www.amazon.co.jp/dp/4847093607
second book,"Tokyo railway
walk"
https://www.amazon.co.jp/dp/4533134610
Ayako Suzukawa’s Game ch
https://www.youtube.com/user/suzugame
Ayako Suzukawa’s Twitter:https://twitter.com/kinokostar_suzu
Ayako Suzukawa’s Instagram:http://instagram.com/suzukawaayako
◆ Fan letter address
〒160-0022
5-18-21 Shinjuku, Shinjuku-ku, Tokyo
Yoshimoto Kogyo Co., Ltd. Content Business Division Video Production
To "YouTube Ayako Suzukawa Channel"
* We cannot accept food and drink, living things, plants, etc.and dangerous goods.
rail railway 在 Suzukawa Ayako ch Youtube 的最佳貼文
100円ショップなどで売っているものを使ってミニ踏切を作りました。
今回の様子は2021年10月1日発売の「鉄おも!11月号」にものっているのでぜひみてね!
https://www.amazon.co.jp/dp/B09CRQFNF5/
鈴川絢子:主に鉄道が好きです。乗り物全般、旅行が好きです。
家族との動画など色々あげています。鈴川の家族ビデオブログと思ってください。
2014年7月に第一子の男の子、常陸(ひたち)が誕生、
2017年12月に第二子の男の子、常磐(ときわ)が誕生しました。
千葉県出身です。宜しくお願い致します。
◆現在連載中
『鉄おも!』ネコ・パブリッシング 「鈴川絢子の〇〇やってみたっ!」
http://www.tetsuomo.com/
朝日新聞 「ちば鉄」 http://t.asahi.com/wkvk
◆著書
「鉄分多め。〜関東編〜」(ヨシモトブックス)
http://www.amazon.co.jp/dp/4847093607
「鈴川絢子とちっくんの東京電車さんぽ」(JTBパブリッシング)
https://www.amazon.co.jp/dp/4533134610/
鈴川絢子のゲーム実況チャンネル:https://www.youtube.com/user/suzugame
2ndチャンネル:https://www.youtube.com/channel/UCoA7mJcwPivBNkrCWnTdo_A/
鈴川絢子のTwitter:https://twitter.com/kinokostar_suzu
鈴川絢子のインスタグラム:http://instagram.com/suzukawaayako
◆ファンレター宛先
〒160-0022
東京都新宿区新宿5-18-21
吉本興業株式会社 東京マネジメントセンター
鈴川絢子宛て
※ナマモノ(飲食物・生物・植物など)や危険物等はお受取出来かねます。
I'm Suzukawa Ayako.
I'm from Chiba prefecture in Japan.
I am giving various videos with my interests, videos with my son, mainly on railway related.I post family video.
In July 2014 a boy, the first child, Hitachi was born.
In December 2017 a boy, a second child,Tokiwa was born.
It is loose feeling, but thank you.
My published book, “A Little More Iron.”
http://www.amazon.co.jp/dp/4847093607
second book,"Tokyo railway
walk"
https://www.amazon.co.jp/dp/4533134610
Ayako Suzukawa’s Game ch
https://www.youtube.com/user/suzugame
Ayako Suzukawa’s Twitter:https://twitter.com/kinokostar_suzu
Ayako Suzukawa’s Instagram:http://instagram.com/suzukawaayako
◆ Fan letter address
〒160-0022
5-18-21 Shinjuku, Shinjuku-ku, Tokyo
Yoshimoto Kogyo Co., Ltd. Content Business Division Video Production
To "YouTube Ayako Suzukawa Channel"
* We cannot accept food and drink, living things, plants, etc.and dangerous goods.
rail railway 在 Suzukawa Ayako ch Youtube 的最佳貼文
成田空港近くにある「ひこうきの丘」に行ってきました。
北風が吹いている時は、ここで着陸の様子が見られます。
鈴川絢子:主に鉄道が好きです。乗り物全般、旅行が好きです。
家族との動画など色々あげています。鈴川の家族ビデオブログと思ってください。
2014年7月に第一子の男の子、常陸(ひたち)が誕生、
2017年12月に第二子の男の子、常磐(ときわ)が誕生しました。
千葉県出身です。宜しくお願い致します。
◆現在連載中
『鉄おも!』ネコ・パブリッシング 「鈴川絢子の〇〇やってみたっ!」
http://www.tetsuomo.com/
朝日新聞 「ちば鉄」 http://t.asahi.com/wkvk
◆著書
「鉄分多め。〜関東編〜」(ヨシモトブックス)
http://www.amazon.co.jp/dp/4847093607
「鈴川絢子とちっくんの東京電車さんぽ」(JTBパブリッシング)
https://www.amazon.co.jp/dp/4533134610/
鈴川絢子のゲーム実況チャンネル:https://www.youtube.com/user/suzugame
2ndチャンネル:https://www.youtube.com/channel/UCoA7mJcwPivBNkrCWnTdo_A/
鈴川絢子のTwitter:https://twitter.com/kinokostar_suzu
鈴川絢子のインスタグラム:http://instagram.com/suzukawaayako
◆ファンレター宛先
〒160-0022
東京都新宿区新宿5-18-21
吉本興業株式会社 東京マネジメントセンター
鈴川絢子宛て
※ナマモノ(飲食物・生物・植物など)や危険物等はお受取出来かねます。
I'm Suzukawa Ayako.
I'm from Chiba prefecture in Japan.
I am giving various videos with my interests, videos with my son, mainly on railway related.I post family video.
In July 2014 a boy, the first child, Hitachi was born.
In December 2017 a boy, a second child,Tokiwa was born.
It is loose feeling, but thank you.
My published book, “A Little More Iron.”
http://www.amazon.co.jp/dp/4847093607
second book,"Tokyo railway
walk"
https://www.amazon.co.jp/dp/4533134610
Ayako Suzukawa’s Game ch
https://www.youtube.com/user/suzugame
Ayako Suzukawa’s Twitter:https://twitter.com/kinokostar_suzu
Ayako Suzukawa’s Instagram:http://instagram.com/suzukawaayako
◆ Fan letter address
〒160-0022
5-18-21 Shinjuku, Shinjuku-ku, Tokyo
Yoshimoto Kogyo Co., Ltd. Content Business Division Video Production
To "YouTube Ayako Suzukawa Channel"
* We cannot accept food and drink, living things, plants, etc.and dangerous goods.
rail railway 在 Railway CEO apologises for toxic train crash at US Senate ... 的推薦與評價
The United States senate is preparing a new legislation to improve rail safety.It comes after several recent train derailments, ... ... <看更多>