最近,我在「TIME時代」雜志的專欄文章裡,向全球的讀者介紹了大陸「世界工廠」的+AI自動化升級。隨著勞動力成本的上漲,工業自動化、智慧化勢必是大陸製造業的一劑特效藥。自動化能讓運營成本下降,但仍能讓中國大陸保持生產品質、流程、供應鏈維度的優勢。AI賦能產業升級的願景或許還需多年才能實現,但當下的大陸已經讓未來可期。
以下是專欄文章全文,經TIME授權翻譯轉載:
「中國世界工廠 + AI 的未來」
多年來,中國大陸一直被喻為「世界工廠」,即便在全球其他經濟體紛紛遭遇新冠疫情重擊的2020年,大陸製造產業仍然維持穩健的增長范式,全年產值高達3.854萬億美元,占到全球市場近三分之一。
但如果你腦中的大陸工廠是傳統的「血汗工廠」,是時候修正你的刻板印象了。大陸經濟已經迅速地從疫情衝擊下復蘇,疫情同時催化了各種各樣人工智慧(AI)的應用場景加速實現。自2014年以來,中國大陸的AI專利申請量已經超越美國,至今維持全球領先。在學術領域,中國大陸的AI研究論文發表數量、AI期刊的引用量,也雙雙在近年超過了美國。在產業方面,AI應用在大陸的落地速度超越世界其他國家和地區,具有商業價值的AI應用如今開始百花齊放,整合了軟體、硬體和機器人技術的新一代自動化揭開序曲,AI賦能傳統行業的能量,正在蓄勢待發地重塑各行各業。
人類社會至今經歷了三次不同的工業革命:蒸汽革命、電力革命和資訊革命。我相信,AI將會是推動全球第四次工業革命的核心引擎,在世界各地點燃數位化和自動化的變革,而這波前所未有的硬科技浪潮,將由中國來引領實踐。
由於勞動人口減少和新增人口放緩,中國大陸的傳統產業正面臨著勞動力成本上升的巨大壓力,AI正是解決這個難題的技術解答。人工智慧不僅能夠降低運營成本,提高生產效率,擴大整體產能,還有望能帶來收入的增長。
例如,創新工場投資的廣州極飛科技是一家致力於未來農業的AI科技公司,極飛將無人機、機器人和感測器部署在稻田、麥田和棉花田裡,用技術賦能農業中的播種、農藥噴灑、栽種管理、甚至天氣監測環節。用於作物噴灑的極飛科技R150農業無人車已經被推廣到了英國,應用在蘋果、草莓、黑莓等多種經濟作物的種植流程中。
一些大陸的創新公司正積極把機器人拓展到意想不到的場景。總部位於北京的鎂伽是創新工場投資的生命科學智慧自動化公司,他們和實驗室、製藥公司、高校合作,憑藉AI+機器人技術的積累,用自動化解決方案執行實驗室中勞動密集、重複性高、但需要高度精確的任務和流程,同時機器人作業也將盡最大可能保護實驗室人員降低實驗過程中的感染風險。
除了創業公司,我們看到幾家成熟的龍頭企業也開始積極擁抱AI。創新工場參與了有28年歷史的中力電動叉車,這家頭部的鋰電叉車製造商已經推出了能夠在工廠、倉庫自主運行的無人叉車,並且無需對運行環境進行改造,能快速實現從手動到電動到自動駕駛的搬運賦能創新。此外,擁有50多年歷史的領先客車製造商-宇通集團,與自動駕駛獨角獸企業-文遠知行戰略合作,已在大陸三個城市的馬路上運行全無人駕駛小巴。
接著會發生什麼?我大膽預見,在更長遠的未來,機器人和AI將接管大多數產品的製造、設計、交付甚至營銷——很可能將生產成本降低到和原物料成本相差無幾。未來的機器人有能力自我複製和自我修復,甚至做到部分自我反覆運算設計。房屋和公寓將交由AI主導設計,使用預製建築模塊,交由機器人像搭積木似地築樓蓋房。無人公交、無人摩托等隨傳隨到的自動化未來交通系統,能將我們安全無虞地送達想去的地方。
這些願景成為現實或許還需要多年,但此時的大陸正在積極鋪墊引領新一代自動化革命的基石。可期的是,中國工廠的實力將不僅僅體現在產能上,而將逐步彰顯在智慧上。
本文經「TIME時代」授權進行中文編譯,原文如下:
China Is Still the World's Factory — And It's Designing the Future With AI
BY KAI-FU LEE
For many years now, China has been the world’s factory. Even in 2020, as other economies struggled with the effects of the pandemic, China’s manufacturing output was $3.854 trillion, up from the previous year, accounting for nearly a third of the global market.
But if you are still thinking of China’s factories as sweatshops, it’s probably time to change your perception. The Chinese economic recovery from its short-lived pandemic blip has been boosted by its world-beating adoption of artificial intelligence (AI). After overtaking the U.S. in 2014, China now has a significant lead over the rest of the world in AI patent applications. In academia, China recently surpassed the U.S. in the number of both AI research publications and journal citations. Commercial applications are flourishing: a new wave of automation and AI infusion is crashing across a swath of sectors, combining software, hardware and robotics.
As a society, we have experienced three distinct industrial revolutions: steam power, electricity and information technology. I believe AI is the engine fueling the fourth industrial revolution globally, digitizing and automating everywhere. China is at the forefront in manifesting this unprecedented change.
Chinese traditional industries are confronting rising labor costs thanks to a declining working population and slowing population growth. The answer is AI, which reduces operational costs, enhances efficiency and productivity, and generates revenue growth.
For example, Guangzhou-based agricultural-technology company XAG, a Sinovation Ventures portfolio company, is sending drones, robots and sensors to rice, wheat and cotton fields, automating seeding, pesticide spraying, crop development and weather monitoring. XAG’s R150 autonomous vehicle, which sprays crops, has recently been deployed in the U.K. to be used on apples, strawberries and blackberries.
Some companies are rolling out robots in new and unexpected sectors. MegaRobo, a Beijing-based life-science automation company also backed by Sinovation Ventures, designs AI and robots to safely perform repetitive and precise laboratory work in universities, pharmaceutical companies and more, reducing to zero the infection risk to lab workers.
It’s not just startups; established market leaders are also leaning into AI. EP Equipment, a manufacturer of lithium-powered warehouse forklifts founded in Hangzhou 28 years ago, has with Sinovation Ventures’ backing launched autonomous models that are able to maneuver themselves in factories and on warehouse floors. Additionally Yutong Group, a leading bus manufacturer with over 50 years’ history, already has a driverless Mini Robobus on the streets of three cities in partnership with autonomous vehicle unicorn WeRide.
Where is all this headed? I can foresee a time when robots and AI will take over the manufacturing, design, delivery and even marketing of most goods—potentially reducing costs to a small increment over the cost of materials. Robots will become self-replicating, self-repairing and even partially self-designing. Houses and apartment buildings will be designed by AI and use prefabricated modules that robots put together like toy blocks. And just-in-time autonomous public transportation, from robo-buses to robo-scooters, will take us anywhere we want to go.
It will be years before these visions of the future enter the mainstream. But China is laying the groundwork right now, setting itself up to be a leader not only in how much it manufactures, but also in how intelligently it does it.
Source:https://time.com/6084158/china-ai-factory-future/
同時也有697部Youtube影片,追蹤數超過5萬的網紅Daphne Iking,也在其Youtube影片中提到,The COVID-19 pandemic disrupted labor markets globally during 2020. The short-term consequences were sudden and often severe. But while most companies...
revenue group 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
รู้จัก Flipkart แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซ อันดับ 1 ของอินเดีย /โดย ลงทุนแมน
ประเทศอินเดีย มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 6 ของโลก และมีจำนวนประชากรกว่า 1.3 พันล้านคน ซึ่งมากเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศจีน
พอเป็นเช่นนี้ หนึ่งในธุรกิจที่น่าจะได้ประโยชน์จากขนาดเศรษฐกิจและฐานผู้บริโภคดังกล่าว ในโลกยุคที่กิจกรรมหลายอย่างอยู่บนโลกออนไลน์ ก็คงหนีไม่พ้น “อีคอมเมิร์ซ”
รู้ไหมว่าในปัจจุบัน ผู้ที่ครองตลาดอีคอมเมิร์ซของอินเดีย ไม่ใช่บริษัทยักษ์ใหญ่ต่างชาติ
แต่เป็นสตาร์ตอัปจากท้องถิ่น ชื่อว่า “Flipkart”
อะไรที่ทำให้ Flipkart ดำเนินธุรกิจได้อย่างแข็งแกร่ง
แล้วใครเป็นเจ้าของบริษัทนี้ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Flipkart เป็นแพลตฟอร์มซื้อขายสินค้าออนไลน์จากประเทศอินเดีย
เปิดให้บริการเมื่อปี 2007 หรือ 14 ปีที่แล้ว
ผู้ก่อตั้งบริษัท คือ คุณ Sachin Bansal และคุณ Binny Bansal
ซึ่งต้องบอกว่า ทั้งคู่ไม่ได้เป็นพี่น้องกัน
แค่บังเอิญนามสกุลเหมือนกัน เรียนมหาวิทยาลัยเดียวกัน และเคยทำงานที่ Amazon.com ด้วยกัน..
ต่อมา พวกเขาเล็งเห็นโอกาสการทำธุรกิจอีคอมเมิร์ซในอินเดีย
จึงตัดสินใจลาออกมาร่วมกันก่อตั้ง Flipkart
เริ่มแรก Flipkart ขายหนังสือออนไลน์ คล้ายกับ Amazon.com
เนื่องจากขณะนั้น ผู้ขายสินค้าประเภทอื่น ๆ ยังไม่ค่อยสนใจช่องทางจำหน่ายทางออนไลน์สักเท่าไร เพราะมองว่าคนอินเดียส่วนใหญ่ ไม่คุ้นเคยกับการสั่งของออนไลน์
ต่อมา Flipkart ก็ได้พยายามพัฒนารูปแบบบริการ ที่จะจูงใจให้คนหันมาซื้อขายหนังสือออนไลน์มากขึ้น
เช่น มีบริการจัดส่งทั่วประเทศ และรับจ่ายเป็นเงินสดตอนส่งมอบ
ทำให้ Flipkart เริ่มมีชื่อเสียงติดตลาด จนบริษัทสามารถระดมทุนจากนักลงทุน Venture Capital ได้เป็นครั้งแรก ในปี 2009
พอมีเงินทุนในมือและเป็นที่รู้จัก Flipkart จึงวางแผนเพิ่มประเภทสินค้าบนแพลตฟอร์ม โดยเฉพาะสินค้ายอดนิยม อย่างเช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเสื้อผ้าแฟชั่น
ซึ่งวิธีที่บริษัทใช้ขยายธุรกิจ คือ การเข้าซื้อกิจการที่มีฐานลูกค้าออนไลน์อยู่แล้ว หรือมีบริการที่เกี่ยวข้อง เพื่อเชื่อมต่อกับแพลตฟอร์มของ Flipkart ได้ทันที
ตัวอย่างกิจการที่ Flipkart เข้าซื้อ
- ปี 2010 ซื้อ WeRead ธุรกิจฐานข้อมูล และสังคมออนไลน์เกี่ยวกับหนังสือ
- ปี 2012 ซื้อ Letsbuy แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ มูลค่า 5,500 ล้านบาท
- ปี 2014 ซื้อ Myntra แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซสินค้าแฟชั่น มูลค่า 9,200 ล้านบาท
- ปี 2016 ซื้อ Jabong แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซสินค้าแฟชั่น มูลค่า 2,300 ล้านบาท
- ปี 2016 ซื้อ PhonePe ธุรกิจระบบชำระเงินออนไลน์
รวมทั้ง ได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับแบรนด์ชื่อดัง เพื่อสิทธิ์นำเข้าสินค้ามาจำหน่ายในอินเดียแต่เพียงผู้เดียว
เช่น จับมือกับ Motorola และ Xiaomi วางขายสมาร์ตโฟนบางรุ่น เฉพาะที่ Flipkart เท่านั้น
นอกจากนั้น Flipkart ยังมีการจัดแคมเปนในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี เรียกว่า “Big Billion Days” ซึ่งมีการเสนอดีลลดราคามากมาย เพื่อกระตุ้นยอดขายสินค้าออนไลน์
แล้วปัจจุบัน Flipkart ใหญ่แค่ไหนในอินเดีย ?
ตลาดอีคอมเมิร์ซของอินเดีย มีผู้เล่นที่แข่งขันกันดุเดือด 2 ราย คือ Flipkart และ Amazon.com บริษัทยักษ์ใหญ่จากสหรัฐอเมริกา ที่เข้ามาทำตลาด ตั้งแต่ปี 2013
เรามาลองดูส่วนแบ่งตลาดอีคอมเมิร์ซปัจจุบันในอินเดีย
Flipkart ส่วนแบ่งตลาด 31.9%
Amazon.com ส่วนแบ่งตลาด 31.2%
จะเห็นได้ว่า Flipkart ครองตลาดเหนือ Amazon อยู่เล็กน้อย
ซึ่งความจริงแล้ว ถ้านับรวม Myntra และ Jabong ที่มีแพลตฟอร์มแยกต่างหากด้วย ธุรกิจในเครือของ Flipkart จะมีส่วนแบ่งตลาดรวม 38.3%
ทีนี้ลองมาดูการเติบโตของรายได้ของ Flipkart
(บริษัทมีรอบบัญชีที่เริ่มต้นจาก 1 เมษายน ถึง 31 มีนาคม ปีถัดไป)
ปี 2016 รายได้ 58,331 ล้านบาท
ปี 2018 รายได้ 96,000 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 153,000 ล้านบาท
สรุปได้ว่า ในวันนี้ Flipkart เป็นผู้นำตลาดอีคอมเมิร์ซของอินเดีย ที่มียอดขายระดับแสนล้านไปแล้ว
และก็คงต้องบอกว่า บริษัทยังมีศักยภาพในการเติบโตได้อีกมาก
เพราะขณะนี้ แม้ชาวอินเดียเข้าถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ตประมาณ 776 ล้านคน แต่ก็คิดเป็นแค่ราว 57% ของจำนวนประชากร ซึ่งค่อนข้างต่ำ ถ้าเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว
อีกทั้งในแง่ของพฤติกรรมผู้บริโภคนั้น เมื่อปี 2019 ยอดขายอีคอมเมิร์ซ มีสัดส่วนเพียง 4.7% ของมูลค่าตลาดค้าปลีกทั้งหมด พูดง่าย ๆ คือ คนอินเดียส่วนใหญ่ยังนิยมซื้อของที่หน้าร้าน
ที่น่าสนใจคือช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลอินเดียมีนโยบายชื่อว่า Digital India ที่มีวัตถุประสงค์ที่จะสนับสนุนธุรกิจบนโลกออนไลน์มากขึ้น
จึงมีการคาดการณ์ว่า ในปี 2024 ยอดขายอีคอมเมิร์ซ จะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 10.7% ของมูลค่าตลาดค้าปลีกทั้งหมด
แนวโน้มที่น่าสนใจนี้ ทำให้ธุรกิจ Flipkart ไปเข้าตา “Walmart” บริษัทเจ้าของซูเปอร์มาร์เก็ตยักษ์ใหญ่สัญชาติอเมริกัน
โดย Walmart ได้เข้าซื้อหุ้นของ Flipkart ในสัดส่วน 77% คิดเป็นมูลค่าประมาณ 5.3 แสนล้านบาท เมื่อปี 2018 และมีการซื้อเพิ่มเป็น 82.1% ในเวลาต่อมา
นอกจากนั้น ยังมีบริษัทชื่อดังอีกหลายราย เข้ามาลงทุนใน Flipkart ด้วย ยกตัวอย่างเช่น
Tencent ถือหุ้น 5.1%, Microsoft ถือหุ้น 1.5% รวมไปถึง SoftBank Group ที่เคยถือหุ้นถึง 20% ก่อนที่จะตกลงขายไปให้กับ Walmart
ทั้งนี้ในการระดมทุนรอบล่าสุด เมื่อเดือนกรกฎาคม 2021 ที่ผ่านมา
Flipkart ถูกประเมินมูลค่าบริษัทอยู่ที่ 37,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 1.2 ล้านล้านบาท
และมีการคาดการณ์ว่า บริษัทเตรียมจะจดทะเบียน IPO เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ ในช่วงปลายปีนี้
ซึ่งอาจทำให้มูลค่าบริษัทเพิ่มขึ้นเป็น 50,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท
เรื่องราวนี้คงเป็นแนวคิดที่ดีสำหรับการทำธุรกิจออนไลน์ว่า
ในบางตลาดที่คนอาจยังไม่คุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยี แทนที่พฤติกรรมที่ปฏิบัติมาอย่างยาวนาน
เราคงต้องเริ่มจากจุดเล็ก ๆ ก่อน แล้วคอยปรับบริการให้เหมาะสม และขยับขยายเมื่อผู้บริโภคมีความพร้อม
เหมือนในกรณีของ Flipkart ที่เริ่มจากการขายหนังสือออนไลน์ ก่อนเข้าซื้อกิจการสินค้าประเภทอื่น ที่มั่นใจว่ามีลูกค้าใช้งานแพลตฟอร์มจริง ๆ ที่ทำให้ Flipkart ค่อย ๆ เป็นอาณาจักรอีคอมเมิร์ซที่ยิ่งใหญ่ของอินเดียในที่สุด..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://businesbsinspection.com.bd/history-and-rise-of-flipkart/
-https://www.bbc.com/news/business-57815431
-https://en.wikipedia.org/wiki/Binny_Bansal
-https://entrackr.com/2020/10/festive-sale-first-week-processed-gmv-worth-4-1-bn/
-https://www.statista.com/statistics/1053314/india-flipkart-revenue/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Flipkart
-https://www.ibef.org/industry/indian-retail-industry-analysis-presentation
revenue group 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
รู้จัก Flipkart แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซ อันดับ 1 ของอินเดีย /โดย ลงทุนแมน
ประเทศอินเดีย มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 6 ของโลก และมีจำนวนประชากรกว่า 1.3 พันล้านคน ซึ่งมากเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศจีน
พอเป็นเช่นนี้ หนึ่งในธุรกิจที่น่าจะได้ประโยชน์จากขนาดเศรษฐกิจและฐานผู้บริโภคดังกล่าว ในโลกยุคที่กิจกรรมหลายอย่างอยู่บนโลกออนไลน์ ก็คงหนีไม่พ้น “อีคอมเมิร์ซ”
รู้ไหมว่าในปัจจุบัน ผู้ที่ครองตลาดอีคอมเมิร์ซของอินเดีย ไม่ใช่บริษัทยักษ์ใหญ่ต่างชาติ
แต่เป็นสตาร์ตอัปจากท้องถิ่น ชื่อว่า “Flipkart”
อะไรที่ทำให้ Flipkart ดำเนินธุรกิจได้อย่างแข็งแกร่ง
แล้วใครเป็นเจ้าของบริษัทนี้ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Flipkart เป็นแพลตฟอร์มซื้อขายสินค้าออนไลน์จากประเทศอินเดีย
เปิดให้บริการเมื่อปี 2007 หรือ 14 ปีที่แล้ว
ผู้ก่อตั้งบริษัท คือ คุณ Sachin Bansal และคุณ Binny Bansal
ซึ่งต้องบอกว่า ทั้งคู่ไม่ได้เป็นพี่น้องกัน
แค่บังเอิญนามสกุลเหมือนกัน เรียนมหาวิทยาลัยเดียวกัน และเคยทำงานที่ Amazon.com ด้วยกัน..
ต่อมา พวกเขาเล็งเห็นโอกาสการทำธุรกิจอีคอมเมิร์ซในอินเดีย
จึงตัดสินใจลาออกมาร่วมกันก่อตั้ง Flipkart
เริ่มแรก Flipkart ขายหนังสือออนไลน์ คล้ายกับ Amazon.com
เนื่องจากขณะนั้น ผู้ขายสินค้าประเภทอื่น ๆ ยังไม่ค่อยสนใจช่องทางจำหน่ายทางออนไลน์สักเท่าไร เพราะมองว่าคนอินเดียส่วนใหญ่ ไม่คุ้นเคยกับการสั่งของออนไลน์
ต่อมา Flipkart ก็ได้พยายามพัฒนารูปแบบบริการ ที่จะจูงใจให้คนหันมาซื้อขายหนังสือออนไลน์มากขึ้น
เช่น มีบริการจัดส่งทั่วประเทศ และรับจ่ายเป็นเงินสดตอนส่งมอบ
ทำให้ Flipkart เริ่มมีชื่อเสียงติดตลาด จนบริษัทสามารถระดมทุนจากนักลงทุน Venture Capital ได้เป็นครั้งแรก ในปี 2009
พอมีเงินทุนในมือและเป็นที่รู้จัก Flipkart จึงวางแผนเพิ่มประเภทสินค้าบนแพลตฟอร์ม โดยเฉพาะสินค้ายอดนิยม อย่างเช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเสื้อผ้าแฟชั่น
ซึ่งวิธีที่บริษัทใช้ขยายธุรกิจ คือ การเข้าซื้อกิจการที่มีฐานลูกค้าออนไลน์อยู่แล้ว หรือมีบริการที่เกี่ยวข้อง เพื่อเชื่อมต่อกับแพลตฟอร์มของ Flipkart ได้ทันที
ตัวอย่างกิจการที่ Flipkart เข้าซื้อ
- ปี 2010 ซื้อ WeRead ธุรกิจฐานข้อมูล และสังคมออนไลน์เกี่ยวกับหนังสือ
- ปี 2012 ซื้อ Letsbuy แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ มูลค่า 5,500 ล้านบาท
- ปี 2014 ซื้อ Myntra แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซสินค้าแฟชั่น มูลค่า 9,200 ล้านบาท
- ปี 2016 ซื้อ Jabong แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซสินค้าแฟชั่น มูลค่า 2,300 ล้านบาท
- ปี 2016 ซื้อ PhonePe ธุรกิจระบบชำระเงินออนไลน์
รวมทั้ง ได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับแบรนด์ชื่อดัง เพื่อสิทธิ์นำเข้าสินค้ามาจำหน่ายในอินเดียแต่เพียงผู้เดียว
เช่น จับมือกับ Motorola และ Xiaomi วางขายสมาร์ตโฟนบางรุ่น เฉพาะที่ Flipkart เท่านั้น
นอกจากนั้น Flipkart ยังมีการจัดแคมเปนในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี เรียกว่า “Big Billion Days” ซึ่งมีการเสนอดีลลดราคามากมาย เพื่อกระตุ้นยอดขายสินค้าออนไลน์
แล้วปัจจุบัน Flipkart ใหญ่แค่ไหนในอินเดีย ?
ตลาดอีคอมเมิร์ซของอินเดีย มีผู้เล่นที่แข่งขันกันดุเดือด 2 ราย คือ Flipkart และ Amazon.com บริษัทยักษ์ใหญ่จากสหรัฐอเมริกา ที่เข้ามาทำตลาด ตั้งแต่ปี 2013
เรามาลองดูส่วนแบ่งตลาดอีคอมเมิร์ซปัจจุบันในอินเดีย
Flipkart ส่วนแบ่งตลาด 31.9%
Amazon.com ส่วนแบ่งตลาด 31.2%
จะเห็นได้ว่า Flipkart ครองตลาดเหนือ Amazon อยู่เล็กน้อย
ซึ่งความจริงแล้ว ถ้านับรวม Myntra และ Jabong ที่มีแพลตฟอร์มแยกต่างหากด้วย ธุรกิจในเครือของ Flipkart จะมีส่วนแบ่งตลาดรวม 38.3%
ทีนี้ลองมาดูการเติบโตของรายได้ของ Flipkart
(บริษัทมีรอบบัญชีที่เริ่มต้นจาก 1 เมษายน ถึง 31 มีนาคม ปีถัดไป)
ปี 2016 รายได้ 58,331 ล้านบาท
ปี 2018 รายได้ 96,000 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 153,000 ล้านบาท
สรุปได้ว่า ในวันนี้ Flipkart เป็นผู้นำตลาดอีคอมเมิร์ซของอินเดีย ที่มียอดขายระดับแสนล้านไปแล้ว
และก็คงต้องบอกว่า บริษัทยังมีศักยภาพในการเติบโตได้อีกมาก
เพราะขณะนี้ แม้ชาวอินเดียเข้าถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ตประมาณ 776 ล้านคน แต่ก็คิดเป็นแค่ราว 57% ของจำนวนประชากร ซึ่งค่อนข้างต่ำ ถ้าเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว
อีกทั้งในแง่ของพฤติกรรมผู้บริโภคนั้น เมื่อปี 2019 ยอดขายอีคอมเมิร์ซ มีสัดส่วนเพียง 4.7% ของมูลค่าตลาดค้าปลีกทั้งหมด พูดง่าย ๆ คือ คนอินเดียส่วนใหญ่ยังนิยมซื้อของที่หน้าร้าน
ที่น่าสนใจคือช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลอินเดียมีนโยบายชื่อว่า Digital India ที่มีวัตถุประสงค์ที่จะสนับสนุนธุรกิจบนโลกออนไลน์มากขึ้น
จึงมีการคาดการณ์ว่า ในปี 2024 ยอดขายอีคอมเมิร์ซ จะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 10.7% ของมูลค่าตลาดค้าปลีกทั้งหมด
แนวโน้มที่น่าสนใจนี้ ทำให้ธุรกิจ Flipkart ไปเข้าตา “Walmart” บริษัทเจ้าของซูเปอร์มาร์เก็ตยักษ์ใหญ่สัญชาติอเมริกัน
โดย Walmart ได้เข้าซื้อหุ้นของ Flipkart ในสัดส่วน 77% คิดเป็นมูลค่าประมาณ 5.3 แสนล้านบาท เมื่อปี 2018 และมีการซื้อเพิ่มเป็น 82.1% ในเวลาต่อมา
นอกจากนั้น ยังมีบริษัทชื่อดังอีกหลายราย เข้ามาลงทุนใน Flipkart ด้วย ยกตัวอย่างเช่น
Tencent ถือหุ้น 5.1%, Microsoft ถือหุ้น 1.5% รวมไปถึง SoftBank Group ที่เคยถือหุ้นถึง 20% ก่อนที่จะตกลงขายไปให้กับ Walmart
ทั้งนี้ในการระดมทุนรอบล่าสุด เมื่อเดือนกรกฎาคม 2021 ที่ผ่านมา
Flipkart ถูกประเมินมูลค่าบริษัทอยู่ที่ 37,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 1.2 ล้านล้านบาท
และมีการคาดการณ์ว่า บริษัทเตรียมจะจดทะเบียน IPO เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ ในช่วงปลายปีนี้
ซึ่งอาจทำให้มูลค่าบริษัทเพิ่มขึ้นเป็น 50,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท
เรื่องราวนี้คงเป็นแนวคิดที่ดีสำหรับการทำธุรกิจออนไลน์ว่า
ในบางตลาดที่คนอาจยังไม่คุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยี แทนที่พฤติกรรมที่ปฏิบัติมาอย่างยาวนาน
เราคงต้องเริ่มจากจุดเล็ก ๆ ก่อน แล้วคอยปรับบริการให้เหมาะสม และขยับขยายเมื่อผู้บริโภคมีความพร้อม
เหมือนในกรณีของ Flipkart ที่เริ่มจากการขายหนังสือออนไลน์ ก่อนเข้าซื้อกิจการสินค้าประเภทอื่น ที่มั่นใจว่ามีลูกค้าใช้งานแพลตฟอร์มจริง ๆ ที่ทำให้ Flipkart ค่อย ๆ เป็นอาณาจักรอีคอมเมิร์ซที่ยิ่งใหญ่ของอินเดียในที่สุด..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://businesbsinspection.com.bd/history-and-rise-of-flipkart/
-https://www.bbc.com/news/business-57815431
-https://en.wikipedia.org/wiki/Binny_Bansal
-https://entrackr.com/2020/10/festive-sale-first-week-processed-gmv-worth-4-1-bn/
-https://www.statista.com/statistics/1053314/india-flipkart-revenue/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Flipkart
-https://www.ibef.org/industry/indian-retail-industry-analysis-presentation
revenue group 在 Daphne Iking Youtube 的精選貼文
The COVID-19 pandemic disrupted labor markets globally during 2020. The short-term consequences were sudden and often severe. But while most companies faced hardship during the pandemic, Top Glove was quite the opposite. They recently recorded their
highest ever quarterly Sales Revenue of RM5.37 billion, a 336% surge from 2QFY2020 with Profit After Tax of close to RM2.9 billion!
With that being said, they currently have 9,000 job openings as well as internship programme, so tonight, I’m delighted to have Top Glove's Head of Recruitment of Group Human Resource, Ms. Andrea Cheam Ching Lee to share more about the job opportunities and skills or expertise required for the spots available at Top Glove Malaysia.
Thank you JobStreet Malaysia for initiating this.
revenue group 在 李根興 Edwin商舖創業及投資分享 Youtube 的精選貼文
史丹福大學知識分享: 做生意的九大元素 - 《Business Model Canvas 商業摸式圖》
如何定立及優化你的 Business Model Canvas 商業摸式圖?
做生意,你要認識你嘅 Business Model Canvas 商業模式圖,有九格。
肺炎第四波開始有減退嘅跡象, 等佢過咗之後,一連幾場星期六,我會在 Paragon Co-work Space 搞下做生意分享早餐會,大家交個朋友???? 互相俾下意見睇下盤生意有乜可以做好啲。
地點是觀塘 Paragon Co-Work Space。約3小時。
對象: 管理層/生意經營者/創業者,每場限4位。
有興趣參加的話,請 whatsapp 你的名片給 Suki (我助手) 5566 1335。肺炎第四尾聲後,她會再聯絡你。
免費 (我不是靠這行搵食?)。我請食早餐 ? Be friends ..... 多謝! 李根興 Edwin
www.edwinlee.com.hk
www.paragonasia.hk,
https://www.facebook.com/paragoninasia/
#paragonasia #做生意的九大元素
全文內容:
做生意,你要認識你嘅 Business Model Canvas 商業模式圖,有九格, 逐個逐個同你講。
肺炎第四波開始有減退嘅跡象, 等佢過咗之後,一連幾場星期六,我會在 Paragon Co-work Space 搞下做生意分享早餐會, 其中一場會講 Business Model Canvas,人少少,4位,大家交個朋友。講下你盤生意點善用 Business Model Canvas 嘅九格。
我2016及17, 連續兩年代表Cyberport 帶團去 Stanford Business School 有個創業 bootcamp ,教授 Baba Shiv and Sarah Soule 話創業做生意,你要了解自己嘅 Business Model Canvas.
(1) Value Propositions 價值主張
做生意,你先要知道你幫到人啲乜? 你有乜樣好過人? 點解人哋要揀你? 新啲? 快啲? 平啲? 靚啲? 型啲? Why you?
我做商舖基金,就係幫人哋用少啲嘅資金, 分散風險, 買舖唔使煩,提升回報。
Paragon Co-Work Space 就希望係東九龍集中火力,以幾個center 發揮協同效,提供畀創業者最優越嘅營商空間。
記住,想租 Co-Work Space 可聯絡 Samuel Szeto Tel: (+852) 6215 0550
www.paragonasia.hk,[email protected]
你呢? 你嘅 Value Propositions 價值主張係乜呢?
(2) Key Activities 關鍵活動
要帶出以上嘅價值主張,你每日應該做緊啲乜? 生產? 研究? 客戶服務? 解決問題? 建立平台聯繫客戶, 由佢哋自己交易? Whatever...
記住喎,你做嘅嘢,應該係帶到價值主張 key value preposition 畀你嘅客人。而唔係講一套做另一套, 花咗啲時間係無聊,人客都唔care嘅活動上。
Now you know why 我日日拍商舖片,已經拍咗二千幾條, 因為我最重要就係日日要睇舖。
(3) Customer Segment 目標客群
邊個係你班客呢? 大眾市場? Niche market? 男人/女人/成年人/學生哥?
個個都可以係你嘅客,but who is your primary customer? who is your most important customer? 主要及最重要客戶? 你要搞得好清楚,when in conflict,邊個利益行先?
我成日都話如果你係揸住港幣八百萬以上流動資產(非物業),能夠投資最少三百萬以上喺商舖基金,你就係我 primary customer 你嘅利益行先。
你盤生意呢? Who are your customers? Who is your primary and most important customer?
(4) Channels 通路
你點樣搵到、掂到你班客呢? 班客又點識你、點搵你、點俾錢到你呢? 分五個階段: (1) 認知 Awareness (佢先要識你),(2) 評估 Evaluation (再諗過計過), (3) 購買 Purchase (俾錢), (4)傳遞 Delivery (你提供產品或服務),(5) 最後,售後服務 Aftersale Service,希望滿意回頭再幫襯。
你盤生意嘅掂到個客嘅Channel 係乜呢?
(5) Customer Relationships 客戶關係。
你點樣同你個客戶保持關係呢? One-on-One? 或 ATM 咁, 機械式,用電腦? 建立個客戶 Community 社群 , 或者大家一齊俾 idea 共同創造 co-creation?
好似我咁,做咗我嘅商舖投資者,全部都會同我one-on-one有個whatsapp group,任何問題,我都即時回答。任何商舖最新發展, 內幕消息,同埋我哋買咗乜舖沽咗乜舖,我都會即時同佢溝通。 唔單止舖,佢哋好多個人投資同生意,得嘅話我都會提供我嘅意見及幫助。 佢畀得錢我使,我梗係第一時間幫佢。 Paragon co-work space 老闆都係我投資者之一, 佢幫我,我幫佢,當然我都想幫佢宣傳下Paragon Co-Work Space ?
你同你班客嘅關係又係乜呢? 會唔會幫襯咗你,其實你都唔知佢係邊個,大家根本冇溝通過呢?
(6) Key Partners 關鍵合作夥伴
你點叻都好,你自己做唔曬所有嘢。 你日常要同邊個多合作,改善關係,先能夠做到更好呢? 有效同供應商夾得好啲,生意會唔會易做好多?
我成日講笑咁講,我「真正」老闆其實係全港各大小地產經紀, 我日日都要擦佢哋鞋, 因為如果經紀唔畀荀盤我,我這行馬上唔駛做。Fit 馬都變跛馬。同經紀夾得好? Fit 馬變飛馬。
你呢? 你同 key partners 又夾成點?
(7) Key Resources 關鍵資源。
做你以上咁多樣嘢,你需要咩資源呢? 錢? 人? 知識? 廠房?
知道要乜,咁喺邊度搵呢? 點樣提高營運效率? 盡量用少啲資源,做多啲、做快啲呢?
如果我只是一個普通炒家, 大部分炒家都只係需要一個司機(揸佢周圍睇舖),一個秘書(安排日常工作雜務),一個會計(管理好盤帳,交少啲稅),3個人就搞惦,炒幾十億貨都係三個就夠。
但一商舖基金嘅話, 受證監會監管, Responsible Officers 持牌人起碼要有兩個,Compliance Officer 又加多個,再加財務/會計監管,再加 License Representatives 又要考牌,年年續牌, 成立基今日要開曼群島 Cayman Islands 註冊, 律師/會計/基金行政費用一大堆,成本馬上大升。 咁你做生意就要自己計,值唔值得呢?
你呢? What are your key resources? 點搵? 無又點呢?
(8) Cost Structure 成本結構
你做生意嘅成本架構係乜呢? 你最貴嘅成本喺邊度? 大部係 Fixed Costs 固定成本? 或大部分係會隨着你嘅生意額上落 Variable Costs 呢 ?
老實說, 我公司同事們嘅老底(底薪)唔算高, 但佢哋嘅收入會隨著我哋嘅基金每季嘅表現 ,來分花紅。 因為我要班同事們及我哋嘅投資者大家利益一致。 基金賺錢,大家分多啲。基金蝕本,大家都無花紅。This is our cost structure! 你呢?
(9) 以上所有嘢都係支出,最後當然是收錢啦 - Revenue Stream 收益流。
你點收錢呢? 每件收? 每月收? 每次使用收?月費、年費? 版權費、 顧問費 、廣告費、利息、佣金? 係預繳、現金交收、或做完先收數? 會唔會有難尾? 送貨如送米,收數如乞米? 收入係唔係個個月都要有? 重複性購買? 或餐搵餐食餐餐清? 你係做緊農夫定獵人?
我自己嘅商舖基金會收首次認購費, 每個月會收管理費, 同埋間舖賣咗出街之後賺錢,會收表現分紅 performance fee. 賺就收,唔賺就唔收。 之前嗰兩項叫做「維皮」, 表現分紅先至係我哋嘅肥豬肉。你呢? 錢從邊道嚟,點嚟呢?
記住做以上12345678一啲都唔難, 免費嘅話,十萬個人搵你做。 最難嘅係第九,收錢。 但其實收錢都唔難。 你可以支出100蚊,收得廿蚊。蝕80蚊,咁你要繼續的話可能要不斷地「籌錢」, 吹水吹到以後個餅好大, 希望有投資者畀你錢繼續燒。咁下期你可能支出200蚊,收入80蚊, 感覺收入大升,但其實可能仲蝕多咗。 今時今日,好多初創企業就係咁。 收入係多咗,但蝕得更多。
無話對與錯,大有大做細有細做,做生意你可以專注「籌錢」,亦都可以專注「賺錢」。我選擇「先賺錢、再籌錢」,因為賺到嘅錢係自己嘅,籌錢嘅錢係欠人嘅, 感覺真係好唔同! 我自己做商舖基金,就係exactly 「先賺錢、再籌錢」, 如果憑我自己能力都未能夠賺錢,我邊有資格去籌錢,幫客人搵更多錢呢?
記住,最好嘅生意應該係收入多過支出, 而且多過好多,持續地多, 咁你就本事! I like this business.
有興趣以上九個做生意嘅元素,Business Model Canvas 的:
(1) Value Propositions 價值主張
(2) Key Activities 關鍵活動
(3) Customer Segment 目標客群
(4) Channels 通路
(5) Customer Relationships 客戶關係
(6) Key Partners 關鍵合作夥伴
(7) Key Resources 關鍵資源
(8) Cost Structure 成本結構
(9) Revenue Stream 收益流
肺炎第四波後嘅星期六,我一齊同你小組分享下, 度下你們生意點做好啲。有興趣 send 卡片畀 Suki, 喺 Paragon Co-Work Space 呢度見啦!
Business Model Canvas Download https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/1/10/Business_Model_Canvas.png
revenue group 在 豐富 Youtube 的最佳解答
主持人:楊應超
第一季-第11集:分析師是如何挑股票的
節目直播時間:週五 14點
本集播出日期:2020.11.20
⏭ 章節:
00:00 頻道片頭
00:07 開場
01:09 節目片頭
01:27 分析師是如何挑股票的
12:43 Q&A:投資的稅務規劃和手續費很重要
26:48 請繼續提問:你活著不是為了工作,祝大家早日達到FIRE財務自由
29:14 節目片尾
29:41 頻道片尾
📝 名詞補充:
1. Active Investment:主動投資
2. Passive Investment:被動投資
3. Income Statement (P&L):公司損益表,Profit and Loss
4. Revenue:公司營收或收入
5. Gross Profit Margin:毛利率
6. OPEX (Operating Expense):營運費用
7. Operating Income/Profits:營運利潤
8. EPS:每股獲利
9. Non-Operating Income:非營運,業外收入
10. Cash Flow Statements:現金流量表
11. Cash from Operating:營運收到的現金
12. Working Capital:營運資金
13. Cash from Investing:投資來的現金流
14. Cash from Financing:財務操作來的現金流
15. Balance Sheet:資產負債表
16. ROE:Return on Equity
17. ROA:Return on Asset
18. ROI:Return on Investment
19. Inventory Days:存貨天數
20. Account Receivable:應收帳款
21. Capital Group Study:20年股市投資的回報研究
22. Market Timing:挑進出股市的時機
23. Accenture:美國有名的管理顧問公司
24. Gift Tax:贈與稅
25. Estate Tax:遺產稅
26. ROTH IRA:美國不用上稅的退休投資
27. Capital Gain Tax:資本利得稅
28. Front End Load:買基金時先交的手續費
29. Back End Load:賣基金時後交的手續費
30. No-Load Mutual Fund:不需要付交易收續費的基金
31. Management Expense:每年基金管理的費用
32. Private Equity:私募基金
33. Water Mark:也叫Hurdle Rate,每年收益的最低標準,過了後管理公司才能分到20%的利潤
34. 2/20:每年2%管理費,錢賺過Water Mark後收20%利益
35. Skin in the Game:切膚之痛
36. Exposure:風險
37. Incentive:激勵
38. News Flow:每天的新聞變動
📚 參考書訊:《財務自由的人生:跟著首席分析師楊應超學華爾街的投資技巧和工作效率,40歲就過FIRE的優質生活》 https://eslite.me/w24ad
#楊應超 #財務自由 #股票
-----
訂閱【豐富】YouTube頻道:https://www.youtube.com/c/豐富
按讚【豐富】FB:https://www.facebook.com/RicherChannel