📖【The Zack Files 30 books】 ✏ Dan Greenburg 。
Saphanie。#英文閱讀紀錄 #2020的一月二月之一
.
🔎 Lexile Measure: 570
🔎 Age Range: 7 - 10 years
🔎 Grade Level: 2 - 5
#SJE書單分享
.
這套書在Saphanie小三的時候就從學校圖書館讀了幾本,
因為圖書館的📖Zack Files是雙語版(而且還附有CD),
可惜只有6~7本而已,
其餘5~6本則在S當時小三寫功課時邊聆聽喜馬拉雅FM的音頻時,
採『聽測』LitPro(線上閱讀系統)來過過癮,
因為📖Zack Files這套書讓S讀過一本後就能迷上...
.
後來輪到Julia三年級時,
在忙碌的暑假練球生活中,
也採聽測的方式來完成📖Zack Files這套書~
對於中年級的孩子來說,
這套書真的很具吸引力~
.
在S小六的2020年初,
讓📖Zack Files再度滋潤S忙碌的生活,
並從AR線上測驗系統同時將 vocabulary的 #字彙測驗 測一遍~
對S來說,這套書題材稀奇古怪且好笑有趣,
無論是享受聽故事的樂趣或者是測驗單字的練功力來看,
小六的S是很游刃有餘的~
#S對橋梁套書總是先完成3本以上才作進行後測
.
而5歲的小E理解力和知識廣度不夠,
而還無法駕馭這套書,
像是#14【Elvis, the Turnip, and Me】講的是貓王,
Eugene也沒看過錄音帶,
不懂貓王那時代的很多東西,
當然也就無法意會其主題與樂趣了...
(所以Eugene先停擺這套書)
.
📖 Zack Files的銷售量相當暢銷,
其受歡迎度在早期就有發行電視影集呢!
(SJ有觀看YouTube上的幾集,
說很好看~
但畫質老舊,
忍不住還是會想看Netflix更精采的影片😅)
#看維基百科怎麼說...
https://en.wikipedia.org/wiki/The_Zack_Files
.
📖書目如下:
1. Great-Grandpa's in the Litter Box (1996)
2. Through the Medicine Cabinet (1996)
3. Ghost Named Wanda, a (1996)
4. Zap! I'm a Mind Reader (1996)
5. Dr. Jekyll, Orthodontist (1997)
6. I'm out of My Body...Please Leave a Message (1997)
7. Never Trust a Cat Who Wears Earrings (1997)
8. My Son, the Time Traveler (1997)
9. Volcano Goddess Will See You Now, the (1997)
10. Bozo the Clone (1997)
11. How to Speak to Dolphins in Three Easy Lessons (1997)
12. Now You See Me .... Now You Don't (1998)
13. Misfortune Cookie, the (1998)
14. Elvis, the Turnip, and Me (1998)
15. Hang a Left at Venus (1998)
16. Evil Queen Tut and the Great Ant Pyramids (1999)
17. Yikes! Grandma's a Teenager (1999)
18. How I Fixed the Year 1000 Problem (1999)
19. Boy Who Cried Bigfoot, the (2000)
20. How I Went from Bad to Verse (2000)
21. Don't Count on Dracula (2000)
22. This Body's Not Big Enough for Both of Us (2000)
23. Greenish Eggs and Dinosaurs (2001)
24. My Grandma, Major League Slugger (2001)
25. Trapped in the Museum of Unnatural History (2002)
26. Me and My Mummy (2002)
27. My Teacher Ate My Homework (2002)
28. Tell a Lie and Your Butt Will Grow (2002)
29. Just Add Water and....Scream! (2003)
30. It's Itchcraft!: SuperSpecial (2003)
.
第六排的第五本後那幾本書則不是Zack系列~
而S在2020上半年時讀了很多書,
總總考量下把月份打亂來做紀錄,
1月在學習末又接近過年大玩特玩的日子中,
選書的口味就採輕鬆詼諧並具育樂性的書單,
在小六忙碌的生活中能練讀英文又能紓壓呢!
.
#英文閱讀是S的精神糧食
Saphanie。#英文閱讀紀錄
✏#2019_S_六年級
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過16萬的網紅文学YouTuberベル,也在其Youtube影片中提到,📕チャンネル登録はこちら→https://goo.gl/IWoCJA 新企画"意味がわかると怖い絵"の解説です。今回は"ムンクの叫び"。元々"怖い絵"の雰囲気はありますが、深く知ると多くの謎が隠されていることがわかります。ムンクは叫んでいなかった…?幻聴・幻覚の世界が表されている…?絵画解説を通し...
scream wiki 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最佳貼文
อืมมม... ผมว่าไอ้หน้ากากที่ฆาตกรไล่เชือดใส่นี่มันดูติงต๊องไปหน่อยนะ แทนที่คนเห็นแล้วจะกลัว ผมว่าคงจะขำกลิ้งมากกว่านะ
อืมมมม... เอาไงดี ผมนึกภาพไม่ออกเลยว่าฆาตกรใส่หน้ากากแบบไหนถึงจะดูน่ากลัว งั้นเอางี้ละกันนะ คุณไปหาหน้ากากมา 7 แบบ แล้วถ่ายฉากเปิดหนังมาให้ผมดูทั้ง 7 แบบเลย ผมจะได้เลือกว่าฆาตกรโรคจิตใน Scream ควรจะเปิดตัวแบบไหนดี
.
ในช่วงยุค 1990's ที่หนังฆาตกรไล่เชือดตกต่ำถึงขีดสุด หลังจากหนังประเภทนี้เคยประสบความสำเร็จอย่างสูงมาตั้งแต่ปลายยุค 70's จนถึงช่วงยุค 80's ไล่มาตั้งแต่ The Texas Chain Saw Massacre, Halloween, A Nightmare on Elm Street, และ Friday the 13th แต่หลังจากนั้นก็เข้าสู่ช่วงภาวะล้มเหลวของการขยันสร้างภาคต่อ จากฉายโรงตกต่ำสู่การเป็นหนังแผ่น หนังแนวไล่เชือดเสื่อมความนิยมอย่างรวดเร็วเนื่องจากคุณภาพงานดร็อปลงไปมาก จนกระทั่งปี 1995 มีสคริปต์บทหนังในชื่อ Scary Movie ที่ได้รับอิทธิพลมาจากข่าวฆาตกรต่อเนื่องอันเป็นที่รู้จักในชื่อ เกนส์วิลล์ ริปเปอร์ ซึ่งบุกเข้าบ้านนักศึกษาก่อนจะลงมือฆาตกรรม
.
โดยคนเขียนบทคือ เควิน วิลเลียมสัน ดูข่าวแล้วเกิดความกังวลขึ้นมา ในช่วงโฆษณาคั่นข่าวเขาได้ยินเสียงอะไรบางอย่าง จึงเดินสำรวจในบ้านก่อนจะพบว่าหน้าต่างเปิดอยู่ เขาลังเลว่าตัวเองเป็นคนเปิดหน้าต่างทิ้งไว้หรือเปล่า และคิดว่าตัวเองคงไม่ได้เปิดแน่ ๆ จึงรีบวิ่งเข้าครัวไปหยิบมีดแล้วหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาโทรหาเพื่อนสนิท ซึ่งการคุยสายในคืนนั้นมีการหยอกล้อว่านี่เป็นฉากหนึ่งในหนังไล่เชือดที่จังหวะแบบนี้ฆาตกรต้องหลบซ่อนตัวอยู่ในชั้นล่างแน่ ๆ การแซวเล่นแบบนั้นแทบจะทำให้วิลเลียมสันหลับไม่ลง เขาจึงลุกขึ้นมาจดไอเดียดังกล่าวเป็นฉากเปิดหนังว่าด้วยเรื่องของวัยรุ่นสาวที่บังเอิญอยู่บ้านคนเดียว แล้วได้รับโทรศัพท์ปั่นประสาทก่อนจะถูกทำร้ายโดยฆาตกรสวมหน้ากาก
.
หลังจากนั้น วิลเลียมสัน ก็เอาเวลาไปพัฒนาโปรเจ็คต์บทหนังเรื่อง Teaching Mrs. Tingle ที่เพิ่งจะขายออกหลังจากถูกดองมานาน ด้วยความที่ช่วงนั้นเขาค่อนข้างร้อนเงิน จึงกลับมาเขียนบท Scary Movie ต่อจากเดิม ก่อนจะใช้เวลาเพียง 3 วันในการเขียนบทจนเสร็จ แถมยังเตรียมดราฟต์สำหรับภาคต่ออีก 2 ภาครอไว้เรียบร้อย ด้วยความมั่นใจว่าถ้ามีสตูดิโอไหนซื้อไปยังไงก็ต้องได้ทำภาคต่อแน่นอน ซึ่งเหตุผลหลัก ๆ ที่เขาเลือกจะเขียนบท Scary Movie เพราะเขาชอบหนังแนวไล่เชือดเป็นทุนเดิมอยู่แล้วตั้งแต่วัยเด็ก โดยบทหนังของเขาชัดเจนว่าได้รับแรงบันดาลใจมาจากบรรดาหนังไล่เชือดยอดนิยมในสมัยนั้น ทั้ง Halloween, Friday the 13th, A Nightmare on Elm Street, When a Stranger Calls, และ Prom Night
.
แต่บทหนังที่เขาวาดฝันว่าจะถูกสร้างเป็นไตรภาค ดูจะมีความหวังริบหรี่ตั้งแต่ที่ตัวแทนขายของเขาเตือนว่าคงจะขายยากมาก ๆ เพราะหนังเต็มไปด้วยความรุนแรงและเลือดสาด แต่ดูเหมือนว่าไอเดียจะเข้าท่าอยู่ ทาง Miramax จึงติดต่อขอซื้อไปพร้อมกับแจ้งว่าช่วยลดฉากสยองออกไปสักหน่อย ซึ่งวิลเลียมสันก็ยอมตัดออกแต่โดยดี ถ้าไม่ใช่เพราะว่าในเวลาต่อมา เวส คราเวน ถูกดึงตัวมาเป็นผู้กำกับ แล้วบอกว่าไม่ต้องตัดอะไรออกทั้งนั้น ซึ่งการมาของ เวส คราเวน ที่ช่ำชองในหนังไล่เชือดจากประสบการณ์สมัยทำ The Hills Have Eyes, The Hills Have Eyes, และ A Nightmare on Elm Street ดูเหมือนจะทำให้ทิศทางของ Scary Movie ชัดเจนมากขึ้น
.
อย่างไรก็ตาม โปรเจ็คต์หนังไล่เชือดในช่วงปี 1995 ยังไม่ได้รับความไว้วางใจจากนายทุนสักเท่าไร ทั้งทุนสร้างต่ำและได้รับคำวิจารณ์แย่มาต่อเนื่อง จึงทำให้การหาตัวนักแสดงที่มีชื่อเสียงอยู่แล้วมารับบทนำเป็นเรื่องยาก ทีมแคสต์นักแสดงจึงต้องมองหาดาวรุ่งพุ่งแรงสดใหม่ ซึ่งเป้าหมายแรกของพวกเขาที่จะให้มารับบท ซิดนีย์ คือ ดรูว์ แบร์รี่มอร์ ที่ในเวลานั้นยังไม่โด่งดังเท่าไร แต่เธออ่านบทแล้วกลับตอบปฏิเสธที่จะแสดงบทนางเอกของเรื่อง แล้วขอเล่นบท เคซีย์ หญิงสาวที่ถูกฆาตกรรมตั้งแต่ฉากเปิดเรื่อง
.
ถือเป็นการตัดสินใจที่ชาญฉลาดของ ดรูว์ แบร์รี่มอร์ เพราะแม้เธอจะปรากฎตัวแค่ประมาณ 10 นาทีแต่กลับเป็นที่จดจำอย่างมาก เหตุผลที่เธอเลือกเล่นบทนี้ก็ถือว่าหลักแหลม เธออ่านบทแล้วคิดถึงหนังแบบ When A Stranger Calls ที่พี่เลี้ยงเด็กถูกคุกคามทางโทรศัพท์จนเกิดอาการหวาดกลัว และเชื่อกันว่าบทนี้ทำให้นึกถึง Psycho ของอัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก ที่ถือว่าสดใหม่มากในการกำจัดตัวเดินเรื่องออกไปตั้งแต่ช่วงแรกของหนัง เมื่อบท ซิดนีย์ ยังว่างอยู่ โปรดิวเซอร์อย่าง บ็อบ ไวน์สตีน จึงติดต่อนักแสดงหญิงอีก 2 คนที่เวลานั้นยังไม่ดังเช่นกันคือ รีส วิทเธอร์สปูน และ แคลร์ เดนส์ แต่ทั้งคู่ตอบปฏิเสธ จนกระทั่งบทตกมาเป็นของ เนฟ แคมป์เบลล์ ที่กำลังฮอตจากซีรีส์ Party of Five
.
พอได้นักแสดงเรียบร้อย ปัญหาต่อมาคือการหาหน้ากากสีขาวดูน่ากลัวที่เหมาะสมกับคำบรรยายในบทหนัง ซึ่งบังเอิญว่าระหว่างหาโลเคชั่นถ่ายหนัง ทั้งผู้กำกับและโปรดิวเซอร์ไปสะดุดตากับหน้ากากชิ้นหนึ่งที่แขวนอยู่บนผนังห้องนอนเด็ก เป็นหน้ากากที่ดูเหมือนได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปภาพ The Scream อันโด่งดังของ เอ็ดเวิร์ด มุงค์ แต่ปัญหาอีกอย่างคือพวกเขาไม่รู้จะตามหาเจ้าของลิขสิทธิ์อย่างไร จึงเลือกดัดแปลงหน้ากากดังกล่าว(ลอก) ด้วยการขยายช่องดวงตาและปากให้ยาวขึ้น หยิบอัลบั้ม The Wall ของ Pink Floyd และผีในการ์ตูนเรื่อง Betty Boop มาผสมอีกหน่อย จนดูเหมือนคนที่ทั้งร้องไห้และร้องกรี๊ดในเวลาเดียวกัน
.
พอเวส คราเวน เริ่มถ่ายทำฉากแรกก็ถูก บ็อบ ไวน์สตีน เข้ามาก้าวก่ายในฐานะโปรดิวเซอร์ เขาแสดงความกังวลว่าฉากเปิดหนังมันโหดร้ายกับเด็กสาวมากไปไหม, แถมวิกผมที่ใส่ให้ ดรูว์ แบร์รี่มอร์ ก็ไม่โดนใจเอาเสียเลย, ไหนจะเสื้อผ้าของเธอที่น่าจะแซ่บกว่านี้สักหน่อย, และไอ้หน้ากากฆาตกรนี่มันดูติงต๊องมากเลยนะ เอางี้แล้วกัน ลองไปหาหน้ากากมาสัก 7 แบบแล้วถ่ายทำมัน 7 รอบไปเลย
.
แน่นอนว่าการที่คนระดับสูงลงมาวุ่นวายกับกองถ่ายย่อมไม่เป็นที่ปลาบปลื้มสำหรับ เวส คราเวน ผู้ซึ่งหัวเสียอย่างมาก เขาเลือกจะเมินคำขอของไวน์สตีน แล้วถ่ายทำฉากเปิดหนังต่อในแบบที่ตัวเองคิดไว้ แล้วตัดต่อส่งกลับไปให้ไวน์สตีนดูอีกรอบ ซึ่งพอไวน์สตีนดูก็ยอมรับว่าตัวเขาคิดผิดไป แล้วให้อิสระกับเวส คราเวน ทำงานเต็มที่ โดยไม่เข้ามาวุ่นวายอีกเลย ทำให้การถ่ายทำหนังตั้งแต่นั้นราบรื่นจนปิดกองถ่าย
.
แต่ใช่ว่าการเข้ามายุ่งของไวน์สตีน จะมีแต่การตัดสินใจแย่ ๆ เพราะหนึ่งในการตัดสินใจสุดยอดเยี่ยมของไวน์สตีนคือการเปลี่ยนชื่อหนังจาก Scary Movie เป็น Scream โดยได้แรงบันดาลใจมาจากเพลงฮิตของไมเคิล แจ็คสัน ซึ่งในเวลานั้นทั้งวิลเลียมสันและคราเวน ไม่พอใจชื่อหนังใหม่มาก ๆ และมองว่ามันเป็นชื่อที่โง่เง่าสิ้นคิดเหลือเกิน แต่ภายหลังทั้งคู่ก็ยอมรับว่าการตัดสินใจเปลี่ยนชื่อหนังเป็นสิ่งที่ดีงามอย่างมาก
.
สุดท้ายหนังถูกวางโปรแกรมฉายในเดือนธันวาคม 5 วันก่อนถึงคริสมาสต์ ซึ่งปกติช่วงนั้นจะเป็นฤดูกาลของหนังครอบครัว แต่ทางสตูดิโอมองต่างออกไปว่าเพราะมีแต่หนังครอบครัวเนี่ยแหละ จึงทำให้คนที่อยากดูหนังสยองขวัญไม่รู้จะดูอะไร ปรากฎว่าทฤษฎีเลือกวันฉายเช่นนี้ทำรายได้เปิดตัวไปเพียง 6.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ใกล้เคียงจะเป็นหนังเจ๊งอยู่รอมร่อ แต่ด้วยกระแสปากต่อปาก และคำวิจารณ์อย่างดีจึงทำให้รายได้ในสัปดาห์ต่อมาสูงขึ้น และสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ ก่อนจะทำรายได้รวมทั้งหมด 103 ล้านเหรียญฯ จากทุนสร้างเพียง 14 ล้านเหรียญฯ ทำเงินสูงสุดเป็นอันดับที่ 15 ของปีในอเมริกาอย่างเหนือความคาดหมาย กลายเป็นอีกหนึ่งผลงานที่ประสบความสำเร็จของเวส คราเวน
.
อ้างอิง:
https://www.telegraph.co.uk/…/scream-20-wes-craven-kevin-w…/
https://en.wikipedia.org/wiki/Scream_(1996_film)
#หนังโปรดของข้าพเจ้า
scream wiki 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的精選貼文
อืมมม... ผมว่าไอ้หน้ากากที่ฆาตกรไล่เชือดใส่นี่มันดูติงต๊องไปหน่อยนะ แทนที่คนเห็นแล้วจะกลัว ผมว่าคงจะขำกลิ้งมากกว่านะ
อืมมมม... เอาไงดี ผมนึกภาพไม่ออกเลยว่าฆาตกรใส่หน้ากากแบบไหนถึงจะดูน่ากลัว งั้นเอางี้ละกันนะ คุณไปหาหน้ากากมา 7 แบบ แล้วถ่ายฉากเปิดหนังมาให้ผมดูทั้ง 7 แบบเลย ผมจะได้เลือกว่าฆาตกรโรคจิตใน Scream ควรจะเปิดตัวแบบไหนดี
.
ในช่วงยุค 1990's ที่หนังฆาตกรไล่เชือดตกต่ำถึงขีดสุด หลังจากหนังประเภทนี้เคยประสบความสำเร็จอย่างสูงมาตั้งแต่ปลายยุค 70's จนถึงช่วงยุค 80's ไล่มาตั้งแต่ The Texas Chain Saw Massacre, Halloween, A Nightmare on Elm Street, และ Friday the 13th แต่หลังจากนั้นก็เข้าสู่ช่วงภาวะล้มเหลวของการขยันสร้างภาคต่อ จากฉายโรงตกต่ำสู่การเป็นหนังแผ่น หนังแนวไล่เชือดเสื่อมความนิยมอย่างรวดเร็วเนื่องจากคุณภาพงานดร็อปลงไปมาก จนกระทั่งปี 1995 มีสคริปต์บทหนังในชื่อ Scary Movie ที่ได้รับอิทธิพลมาจากข่าวฆาตกรต่อเนื่องอันเป็นที่รู้จักในชื่อ เกนส์วิลล์ ริปเปอร์ ซึ่งบุกเข้าบ้านนักศึกษาก่อนจะลงมือฆาตกรรม
.
โดยคนเขียนบทคือ เควิน วิลเลียมสัน ดูข่าวแล้วเกิดความกังวลขึ้นมา ในช่วงโฆษณาคั่นข่าวเขาได้ยินเสียงอะไรบางอย่าง จึงเดินสำรวจในบ้านก่อนจะพบว่าหน้าต่างเปิดอยู่ เขาลังเลว่าตัวเองเป็นคนเปิดหน้าต่างทิ้งไว้หรือเปล่า และคิดว่าตัวเองคงไม่ได้เปิดแน่ ๆ จึงรีบวิ่งเข้าครัวไปหยิบมีดแล้วหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาโทรหาเพื่อนสนิท ซึ่งการคุยสายในคืนนั้นมีการหยอกล้อว่านี่เป็นฉากหนึ่งในหนังไล่เชือดที่จังหวะแบบนี้ฆาตกรต้องหลบซ่อนตัวอยู่ในชั้นล่างแน่ ๆ การแซวเล่นแบบนั้นแทบจะทำให้วิลเลียมสันหลับไม่ลง เขาจึงลุกขึ้นมาจดไอเดียดังกล่าวเป็นฉากเปิดหนังว่าด้วยเรื่องของวัยรุ่นสาวที่บังเอิญอยู่บ้านคนเดียว แล้วได้รับโทรศัพท์ปั่นประสาทก่อนจะถูกทำร้ายโดยฆาตกรสวมหน้ากาก
.
หลังจากนั้น วิลเลียมสัน ก็เอาเวลาไปพัฒนาโปรเจ็คต์บทหนังเรื่อง Teaching Mrs. Tingle ที่เพิ่งจะขายออกหลังจากถูกดองมานาน ด้วยความที่ช่วงนั้นเขาค่อนข้างร้อนเงิน จึงกลับมาเขียนบท Scary Movie ต่อจากเดิม ก่อนจะใช้เวลาเพียง 3 วันในการเขียนบทจนเสร็จ แถมยังเตรียมดราฟต์สำหรับภาคต่ออีก 2 ภาครอไว้เรียบร้อย ด้วยความมั่นใจว่าถ้ามีสตูดิโอไหนซื้อไปยังไงก็ต้องได้ทำภาคต่อแน่นอน ซึ่งเหตุผลหลัก ๆ ที่เขาเลือกจะเขียนบท Scary Movie เพราะเขาชอบหนังแนวไล่เชือดเป็นทุนเดิมอยู่แล้วตั้งแต่วัยเด็ก โดยบทหนังของเขาชัดเจนว่าได้รับแรงบันดาลใจมาจากบรรดาหนังไล่เชือดยอดนิยมในสมัยนั้น ทั้ง Halloween, Friday the 13th, A Nightmare on Elm Street, When a Stranger Calls, และ Prom Night
.
แต่บทหนังที่เขาวาดฝันว่าจะถูกสร้างเป็นไตรภาค ดูจะมีความหวังริบหรี่ตั้งแต่ที่ตัวแทนขายของเขาเตือนว่าคงจะขายยากมาก ๆ เพราะหนังเต็มไปด้วยความรุนแรงและเลือดสาด แต่ดูเหมือนว่าไอเดียจะเข้าท่าอยู่ ทาง Miramax จึงติดต่อขอซื้อไปพร้อมกับแจ้งว่าช่วยลดฉากสยองออกไปสักหน่อย ซึ่งวิลเลียมสันก็ยอมตัดออกแต่โดยดี ถ้าไม่ใช่เพราะว่าในเวลาต่อมา เวส คราเวน ถูกดึงตัวมาเป็นผู้กำกับ แล้วบอกว่าไม่ต้องตัดอะไรออกทั้งนั้น ซึ่งการมาของ เวส คราเวน ที่ช่ำชองในหนังไล่เชือดจากประสบการณ์สมัยทำ The Hills Have Eyes, The Hills Have Eyes, และ A Nightmare on Elm Street ดูเหมือนจะทำให้ทิศทางของ Scary Movie ชัดเจนมากขึ้น
.
อย่างไรก็ตาม โปรเจ็คต์หนังไล่เชือดในช่วงปี 1995 ยังไม่ได้รับความไว้วางใจจากนายทุนสักเท่าไร ทั้งทุนสร้างต่ำและได้รับคำวิจารณ์แย่มาต่อเนื่อง จึงทำให้การหาตัวนักแสดงที่มีชื่อเสียงอยู่แล้วมารับบทนำเป็นเรื่องยาก ทีมแคสต์นักแสดงจึงต้องมองหาดาวรุ่งพุ่งแรงสดใหม่ ซึ่งเป้าหมายแรกของพวกเขาที่จะให้มารับบท ซิดนีย์ คือ ดรูว์ แบร์รี่มอร์ ที่ในเวลานั้นยังไม่โด่งดังเท่าไร แต่เธออ่านบทแล้วกลับตอบปฏิเสธที่จะแสดงบทนางเอกของเรื่อง แล้วขอเล่นบท เคซีย์ หญิงสาวที่ถูกฆาตกรรมตั้งแต่ฉากเปิดเรื่อง
.
ถือเป็นการตัดสินใจที่ชาญฉลาดของ ดรูว์ แบร์รี่มอร์ เพราะแม้เธอจะปรากฎตัวแค่ประมาณ 10 นาทีแต่กลับเป็นที่จดจำอย่างมาก เหตุผลที่เธอเลือกเล่นบทนี้ก็ถือว่าหลักแหลม เธออ่านบทแล้วคิดถึงหนังแบบ When A Stranger Calls ที่พี่เลี้ยงเด็กถูกคุกคามทางโทรศัพท์จนเกิดอาการหวาดกลัว และเชื่อกันว่าบทนี้ทำให้นึกถึง Psycho ของอัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก ที่ถือว่าสดใหม่มากในการกำจัดตัวเดินเรื่องออกไปตั้งแต่ช่วงแรกของหนัง เมื่อบท ซิดนีย์ ยังว่างอยู่ โปรดิวเซอร์อย่าง บ็อบ ไวน์สตีน จึงติดต่อนักแสดงหญิงอีก 2 คนที่เวลานั้นยังไม่ดังเช่นกันคือ รีส วิทเธอร์สปูน และ แคลร์ เดนส์ แต่ทั้งคู่ตอบปฏิเสธ จนกระทั่งบทตกมาเป็นของ เนฟ แคมป์เบลล์ ที่กำลังฮอตจากซีรีส์ Party of Five
.
พอได้นักแสดงเรียบร้อย ปัญหาต่อมาคือการหาหน้ากากสีขาวดูน่ากลัวที่เหมาะสมกับคำบรรยายในบทหนัง ซึ่งบังเอิญว่าระหว่างหาโลเคชั่นถ่ายหนัง ทั้งผู้กำกับและโปรดิวเซอร์ไปสะดุดตากับหน้ากากชิ้นหนึ่งที่แขวนอยู่บนผนังห้องนอนเด็ก เป็นหน้ากากที่ดูเหมือนได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปภาพ The Scream อันโด่งดังของ เอ็ดเวิร์ด มุงค์ แต่ปัญหาอีกอย่างคือพวกเขาไม่รู้จะตามหาเจ้าของลิขสิทธิ์อย่างไร จึงเลือกดัดแปลงหน้ากากดังกล่าว(ลอก) ด้วยการขยายช่องดวงตาและปากให้ยาวขึ้น หยิบอัลบั้ม The Wall ของ Pink Floyd และผีในการ์ตูนเรื่อง Betty Boop มาผสมอีกหน่อย จนดูเหมือนคนที่ทั้งร้องไห้และร้องกรี๊ดในเวลาเดียวกัน
.
พอเวส คราเวน เริ่มถ่ายทำฉากแรกก็ถูก บ็อบ ไวน์สตีน เข้ามาก้าวก่ายในฐานะโปรดิวเซอร์ เขาแสดงความกังวลว่าฉากเปิดหนังมันโหดร้ายกับเด็กสาวมากไปไหม, แถมวิกผมที่ใส่ให้ ดรูว์ แบร์รี่มอร์ ก็ไม่โดนใจเอาเสียเลย, ไหนจะเสื้อผ้าของเธอที่น่าจะแซ่บกว่านี้สักหน่อย, และไอ้หน้ากากฆาตกรนี่มันดูติงต๊องมากเลยนะ เอางี้แล้วกัน ลองไปหาหน้ากากมาสัก 7 แบบแล้วถ่ายทำมัน 7 รอบไปเลย
.
แน่นอนว่าการที่คนระดับสูงลงมาวุ่นวายกับกองถ่ายย่อมไม่เป็นที่ปลาบปลื้มสำหรับ เวส คราเวน ผู้ซึ่งหัวเสียอย่างมาก เขาเลือกจะเมินคำขอของไวน์สตีน แล้วถ่ายทำฉากเปิดหนังต่อในแบบที่ตัวเองคิดไว้ แล้วตัดต่อส่งกลับไปให้ไวน์สตีนดูอีกรอบ ซึ่งพอไวน์สตีนดูก็ยอมรับว่าตัวเขาคิดผิดไป แล้วให้อิสระกับเวส คราเวน ทำงานเต็มที่ โดยไม่เข้ามาวุ่นวายอีกเลย ทำให้การถ่ายทำหนังตั้งแต่นั้นราบรื่นจนปิดกองถ่าย
.
แต่ใช่ว่าการเข้ามายุ่งของไวน์สตีน จะมีแต่การตัดสินใจแย่ ๆ เพราะหนึ่งในการตัดสินใจสุดยอดเยี่ยมของไวน์สตีนคือการเปลี่ยนชื่อหนังจาก Scary Movie เป็น Scream โดยได้แรงบันดาลใจมาจากเพลงฮิตของไมเคิล แจ็คสัน ซึ่งในเวลานั้นทั้งวิลเลียมสันและคราเวน ไม่พอใจชื่อหนังใหม่มาก ๆ และมองว่ามันเป็นชื่อที่โง่เง่าสิ้นคิดเหลือเกิน แต่ภายหลังทั้งคู่ก็ยอมรับว่าการตัดสินใจเปลี่ยนชื่อหนังเป็นสิ่งที่ดีงามอย่างมาก
.
สุดท้ายหนังถูกวางโปรแกรมฉายในเดือนธันวาคม 5 วันก่อนถึงคริสมาสต์ ซึ่งปกติช่วงนั้นจะเป็นฤดูกาลของหนังครอบครัว แต่ทางสตูดิโอมองต่างออกไปว่าเพราะมีแต่หนังครอบครัวเนี่ยแหละ จึงทำให้คนที่อยากดูหนังสยองขวัญไม่รู้จะดูอะไร ปรากฎว่าทฤษฎีเลือกวันฉายเช่นนี้ทำรายได้เปิดตัวไปเพียง 6.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ใกล้เคียงจะเป็นหนังเจ๊งอยู่รอมร่อ แต่ด้วยกระแสปากต่อปาก และคำวิจารณ์อย่างดีจึงทำให้รายได้ในสัปดาห์ต่อมาสูงขึ้น และสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ ก่อนจะทำรายได้รวมทั้งหมด 103 ล้านเหรียญฯ จากทุนสร้างเพียง 14 ล้านเหรียญฯ ทำเงินสูงสุดเป็นอันดับที่ 15 ของปีในอเมริกาอย่างเหนือความคาดหมาย กลายเป็นอีกหนึ่งผลงานที่ประสบความสำเร็จของเวส คราเวน
.
อ้างอิง:
https://www.telegraph.co.uk/films/2016/12/22/scream-20-wes-craven-kevin-williamson-tore-slasher-filmapart/
https://en.wikipedia.org/wiki/Scream_(1996_film)
#หนังโปรดของข้าพเจ้า
scream wiki 在 文学YouTuberベル Youtube 的最佳解答
📕チャンネル登録はこちら→https://goo.gl/IWoCJA
新企画"意味がわかると怖い絵"の解説です。今回は"ムンクの叫び"。元々"怖い絵"の雰囲気はありますが、深く知ると多くの謎が隠されていることがわかります。ムンクは叫んでいなかった…?幻聴・幻覚の世界が表されている…?絵画解説を通して、美術館や絵画鑑賞に興味を持っていただけると嬉しいです!
📙公式サイト(ブログ)はこちら→http://bellelinwall.com/
📗部活チャンネルのMCもやってます→https://goo.gl/JgmgF3
📘SNS等
Twitter→https://twitter.com/belle_youtube
Instagram→https://www.instagram.com/belle.gokigenyou/
アメブロ→http://ameblo.jp/belle-gokigen
[BGM・SE提供]
DOVA-SYNDROME
https://dova-s.jp/bgm/
クラシック名曲サウンドライブラリー
http://classical-sound.seesaa.net/
On-Jin ~音人~
https://on-jin.com/
効果音ラボ
http://soundeffect-lab.info
世紀末芸術を代表する画家エドヴァルド・ムンクの連作"生命のフリーズ"の1テーマである"叫び(The Scream)"は、美術好き以外にも親しみの強い絵画ではないでしょうか?
😱絵文字にも使用されていますし、スプラッタ映画『スクリーム』の殺人鬼や、『ホーム・アローン』の主人公のポスターのポーズは、"叫び"にインスパイアされていると言います。
そんな現代にも影響を与え続ける名画"叫び"には、実は勘違いしていて気づかなかった事実や、謎が沢山溢れているのです!
中でも"怖い"と思う点をピックアップし、解説をしました。
【ダイジェスト】
①叫んでいるのは"ムンク"ではない!?
②中央の人物は、叫んでもいない!
③幻聴・幻覚の世界が表されている?
④絵の舞台は実在した!
⑤血の雲の中に隠されたメッセージ
"叫び"の評価やエドヴァルド・ムンクという画家の特徴についても触れています。
なお、怖い絵解説が面白いと思った方におすすめの著書はこちら
怖い絵/中野京子(文春文庫)⏩https://amzn.to/2HYdviL
何気なくで見ていた絵も、画家や時代背景を知ると立体的に感じます。
10月には本物の"叫び"(テンペラ画)が東京都美術館に初来日しますので、ぜひこれを機に絵画鑑賞にも興味を持っていただけたら嬉しいです。
<参考文献>
・Wikipedia
The Scream:https://en.wikipedia.org/wiki/The_Scream
叫び:https://goo.gl/yQrFa4
エドヴァルド・ムンク:https://goo.gl/4jk1XE
・Artpedia
https://www.artpedia.jp/edvard-munch/
・国立国会図書館レファレンス共同データベース
http://crd.ndl.go.jp/reference/modules/d3ndlcrdentry/index.php?page=ref_view&id=1000233047
#怖い絵
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/68RlKKAEF3s/hqdefault.jpg?sqp=-oaymwEbCKgBEF5IVfKriqkDDggBFQAAiEIYAXABwAEG&rs=AOn4CLDnJWZ0vDd5S1_W0Pc_qFa_9mbJqg)