為什麼學了這麼多東西,人生還是沒什麼改變?
_______________________
Joe一直認為,一個好的改變,必須來自於幾個條件
1. 對自己的理解
2. 正確的現況分析
3. 量身訂做的策略
4. 定期的策略調整
5. 堅持你的方向
對了,你猜,最難的部分是哪一項呢?就我實際經驗而言,最難的其實第一項,為什麼呢?要分析現況前,我們還必須 #對自己誠實。 可是以我實際的觀察而言,其實就是無法突破的最關鍵。
#人生的不順利
#通常自己就是問題的根源
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過0的網紅墨小鯊 LAZY SHARK,也在其Youtube影片中提到,心理鯊來了?|Brian Cha啲廣告好煩?為何我們會討厭別人?或許我們只是在討厭自己的陰暗面...?|墨小鯊 LAZY SHARK #投射心理 #心理學小知識 #佛洛伊德 這次來分享一下討厭的心理 為什麼我們討厭一個人? 一個廣告? 這是我很喜歡的經典心理學派 Psychoanalysis 佛...
「self defense mechanism」的推薦目錄:
- 關於self defense mechanism 在 大人學 Facebook 的最讚貼文
- 關於self defense mechanism 在 ครูเงาะ รสสุคนธ์ กองเกตุ Facebook 的最佳解答
- 關於self defense mechanism 在 ครูเงาะ รสสุคนธ์ กองเกตุ Facebook 的精選貼文
- 關於self defense mechanism 在 墨小鯊 LAZY SHARK Youtube 的最佳解答
- 關於self defense mechanism 在 themblan Youtube 的精選貼文
- 關於self defense mechanism 在 10 Psychological Defense Mechanisms - YouTube 的評價
self defense mechanism 在 ครูเงาะ รสสุคนธ์ กองเกตุ Facebook 的最佳解答
สิ่งที่สำคัญ เวลาที่เราพูดตัวต่อตัว เรามักจะไม่ค่อยตื่นเต้น ไม่ว่าจะกับเพื่อน กับพี่กับน้อง เพราะธรรมชาติของมนุษย์จะมีการ #ประเมิน คู่สนทนาอยู่ในหัวตลอดเวลา เช่น “เขาชอบเราหรือเปล่า” “เขาฟังเราแล้วเข้าใจเราหรือเปล่า” “เขากำลังสนใจสิ่งที่เราพูดอยู่หรือเปล่า”
แต่พอมันเป็น #PublicSpeaking หรือการพูดในที่สาธารณะ มันเกิดจากการที่ มีคนฟังเยอะมาก จนไม่รู้ว่าจะไปประเมินใคร เราไม่รู้เลยว่าคนนั้นคิดยังไงกับเรา คนนี้เขาชอบเราหรือเปล่า คนโน้นมองเราโง่หรือเปล่า ต่างๆนานา
พอสมองประเมินไม่ได้ตามสัญชาตญาณ เราจะ #รู้สึกควบคุมอะไรไม่ได้ แล้วอาการตื่นตระหนกก็ตามมา
ทีนี้ คนส่วนใหญ่ต้องการการแก้แบบ “บอกมาเลยค่ะ หนูต้องพูดยังไง ต้องทำยังไง หายใจยังไง วางมือตรงไหน จะหายตื่นเต้น”
เหล่านี้ล้วนเป็นแค่วิธีปลายทาง แต่ วิธีแก้แบบเบ็ดเสร็จ คือ เราต้องเปลี่ยนตั้งแต่ #กระดุมเม็ดแรก ถ้าเม็ดแรกติดผิด มันผิดหมดเลย
กระดุมเม็ดแรก ของการขึ้นไปพูดแล้วไม่ตื่นเต้น คือกระดุมของการสั่งสมองว่า เราจะขึ้นไป #ให้ ไม่ใช่ไป #ขอ
คนส่วนใหญ่ที่คิดประเมินคนนั้นคนนี้ว่า เขาจะคิดยังไง เขาจะไม่ชอบเราหรือเปล่า มันคือ #กลไกการปกป้องตัวเอง (Self-defense Mechanism)
พอเรามีความรู้สึกว่า “กลัวคนไม่รักเรา” “กลัวเราดีไม่พอ” “กลัวเราเป็นตัวตลก” “กลัวเราไปเด๋ออยู่บนเวที” นั่นแปลว่าเราต้องการอะไร?
“กลัวเด๋อ” —แปลว่าเราต้องการ—> “ดูเจ๋ง”
“กลัวเป็นตัวตลก” —แปลว่าเราต้องการ—> “ดูน่าเชื่อถือ”
“กลัวเขาไม่ชอบเรา” —แปลว่าเราต้องการ—> “ให้เขาชอบเรา”
“กลัวพูดผิด” —แปลว่าเราต้องการ—> “เป็นคนถูก”
จากใคร? จาก #คนอื่น
เราต้องการความคิดเห็นของ “คนอื่น” มายืนยันความ “เจ๋ง” หรือ “ไม่เจ๋ง” ของเรา …มันผิดตั้งแต่ต้นเลย
กลับกัน ถ้าสมมติเราขึ้นไปพูดด้วยจิตของการเป็น #ผู้ให้ ล่ะ
แทนที่จะคิดว่า “วันนี้เราจะมารายงาน” “วันนี้จะ ต้อง เอางานไปนำเสนอหัวหน้า”
แทนที่จะไปขอว่า “เขาจะ Approve เราไหม” “เขาจะอนุมัติเราหรือเปล่า” ก็ไม่รู้
แทนที่จะไปขอให้เขาชมว่า เราเก่ง เราเจ๋ง อย่างนั้นอย่างนี้
ลองพลิกมือจาก “ผู้ขอ” ขึ้นเป็น “ผู้ให้” ดูสักนิด มือผู้ขอกับมือผู้ให้มันสูงกันคนละระดับ #ใจคนก็เช่นกัน
เมื่อไหร่ที่เราทำตัวเป็น #ผู้ขอ ขอการอนุมัติจากคนอื่น เราจะรู้สึก ตัวเล็ก ตลอดเวลา เจ้านายเราก็จะเป็นคนที่ ตัวใหญ่กว่าเรา เสมอ พอเราไปหาเจ้านายในแบบตัวเล็ก “เราทำถูกไหมนะ” “เขาจะชอบเราไหมนะ” ก็จะตื่นเต้น พรีเซนต์ผิดๆถูกๆ ลืมเนื้อหา ลืมบท ต่างๆมากมาย
แต่ถ้าเราไปแบบ “ผู้ให้” ล่ะ
ไปแบบผู้ให้เป็นอย่างไร? เราก็จะเตรียมตัวไปแบบเต็ม 100% คนที่อยากไป #ให้ คนอื่น จะเตรียมตัวไปแบบ 50-50 เหรอ อันนั้นไม่ใช่ เพราะมันแสดงว่าเราไม่รับผิดชอบคนฟังของเรา ไม่ได้ตั้งใจจะให้เขาจริงๆ ถูกไหม
แต่ถ้าเรา #รัก คนฟังของเราก่อน
เราจะเตรียมตัวไปก่อนแล้วว่า ฉันอยากให้เขา #ได้ อะไร
เช่น ตอนนั้นครูเคยไปพูดให้กับคนฟังประมาณ 3,000 คน เวทีใหญ่มาก จัดแสงสี มีคนดูรอบ 4 ด้าน คนเยอะมาก ครูประเมินไม่ได้หรอกว่าใครจะชอบหรือไม่ชอบครู ใครจะเฉยๆ กลางๆ บวกบ้าง ลบบ้าง ตอนนั้นครูไม่สนใจเลยค่ะ ครูคิดอย่างเดียวเลย คือ บอกตัวเองว่า
“วันนี้ สิ่งที่ฉันรู้ ฉันมี ฉันเป็น ฉันสามารถ ฉันจะมาแชร์ให้กับคนเหล่านี้ที่นั่งอยู่ตรงนี้ ให้เขาได้รู้ ได้มี ได้เป็น ได้สามารถ ได้เอาไปปรับใช้ในชีวิตได้จริง ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น”
เช่นถ้าครูเงาะไปสอนเรื่องการพูด ก็ “ขอให้สิ่งที่จะพูดนี้ ไปช่วยให้การพูดของเขา ดีขึ้น ในชีวิตของเขา กับคู่ครองคนรัก กับครอบครัวของเขา” เป็นต้น
#ตั้งจิตให้ถูกต้องตั้งแต่ก่อนขึ้นพูด
ฉันมาให้ เขาไม่ชอบฉันไม่เป็นไร เพราะฉันรักฉันและฉันก็ปรารถนาดีต่อเขา ถ้าผิดพลาดก็อ่อนโยนต่อตัวเองบ้าง เท่านี้ใจเราก็จะใหญ่ขึ้น ที่เหลือก็แค่ใส่ให้เต็มให้เค้าได้สิ่งที่ดีที่สุดในขณะที่ได้ฟังสิ่งที่เราตั้งใจเตรียมมาเพื่อ #เขา
นี่คือการเอาใจเราไปอยู่กับ #ผู้ฟัง แล้วมันจะลดอาการ #SelfConscious คืออาการตื่นเต้นไม่รู้ว่าจะเอามือไม้ไปอยู่ตรงไหนดี ได้อีกด้วย
ลองนำเทคนิคนี้ไปฝึกฝนลองใช้กันดูนะคะ ขอให้ทุกคน ได้ #OwnYourStage ทั้งในการพรีเซนต์ การทำงาน การขาย และทุกเวทีการพูดในชีวิตของทุกคนนะคะ
—
มาเปลี่ยนทุกการนำเสนอผลงาน
ให้เป็นการนำเสนอความก้าวหน้าในอนาคต
คอร์สออนไลน์
Professional Public Speaking
#สิ่งที่คุณจะได้
✅การพูดในที่สาธารณะ ในที่ประชุม การพูดต่อหน้าคนเยอะๆ
รู้จักโครงสร้างการเล่าเรื่องที่ดี ทำให้เรื่องที่เราเล่า หรือ นำเสนอนั้นน่าสนใจ
✅โน้มน้าวให้คนฟัง เปิดใจรับฟัง ไอเดีย หรือสินค้าเรา
✅เปิด ปิดเรื่องยังไงให้น่าสนใจ ให้ได้ใจคนฟัง
✅จิตวิทยาการเรียงเรื่อง อะไรคือไอเดีย ถ้าคุณมีเวลานำเสนอภายใน 3 นาที จำทำยังไงให้เค้าซื้อไอเดียคุณ
ถ่ายทอดทุกเคล็ดวิชาโดย #ครูเงาะ รสสุคนธ์
Speaker เป็นวิทยากร ให้กับองค์กรระดับประเทศ
มากมายกว่า 100 องค์กร
และมากกว่า 10 ปี ในวงการบันเทิง ในฐานะ Acting Coach
มาเรียนรู้วิธีการเล่าเรื่องให้ทรงพลัง ชัดเจน
เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อผู้ฟัง และที่สำคัญ การดึง
" #เสน่ห์และตัวตนที่เป็นธรรมชาติ "
ของเราให้ออกมาได้
ราคาพิเศษ ถึงวันที่ 31 ธันวาคมนี้
สนใจทัก
🗨 ลงทะเบียนได้แล้ววันนี้ ที่ LINE @kru-ngor
📞 หรือโทร. 080-265-6266 , 096 646 6266 , 099-797-9615
self defense mechanism 在 ครูเงาะ รสสุคนธ์ กองเกตุ Facebook 的精選貼文
สิ่งที่สำคัญ เวลาที่เราพูดตัวต่อตัว เรามักจะไม่ค่อยตื่นเต้น ไม่ว่าจะกับเพื่อน กับพี่กับน้อง เพราะธรรมชาติของมนุษย์จะมีการ #ประเมิน คู่สนทนาอยู่ในหัวตลอดเวลา เช่น “เขาชอบเราหรือเปล่า” “เขาฟังเราแล้วเข้าใจเราหรือเปล่า” “เขากำลังสนใจสิ่งที่เราพูดอยู่หรือเปล่า”
แต่พอมันเป็น #PublicSpeaking หรือการพูดในที่สาธารณะ มันเกิดจากการที่ มีคนฟังเยอะมาก จนไม่รู้ว่าจะไปประเมินใคร เราไม่รู้เลยว่าคนนั้นคิดยังไงกับเรา คนนี้เขาชอบเราหรือเปล่า คนโน้นมองเราโง่หรือเปล่า ต่างๆนานา
พอสมองประเมินไม่ได้ตามสัญชาตญาณ เราจะ #รู้สึกควบคุมอะไรไม่ได้ แล้วอาการตื่นตระหนกก็ตามมา
ทีนี้ คนส่วนใหญ่ต้องการการแก้แบบ “บอกมาเลยค่ะ หนูต้องพูดยังไง ต้องทำยังไง หายใจยังไง วางมือตรงไหน จะหายตื่นเต้น”
เหล่านี้ล้วนเป็นแค่วิธีปลายทาง แต่ วิธีแก้แบบเบ็ดเสร็จ คือ เราต้องเปลี่ยนตั้งแต่ #กระดุมเม็ดแรก ถ้าเม็ดแรกติดผิด มันผิดหมดเลย
กระดุมเม็ดแรก ของการขึ้นไปพูดแล้วไม่ตื่นเต้น คือกระดุมของการสั่งสมองว่า เราจะขึ้นไป #ให้ ไม่ใช่ไป #ขอ
คนส่วนใหญ่ที่คิดประเมินคนนั้นคนนี้ว่า เขาจะคิดยังไง เขาจะไม่ชอบเราหรือเปล่า มันคือ #กลไกการปกป้องตัวเอง (Self-defense Mechanism)
พอเรามีความรู้สึกว่า “กลัวคนไม่รักเรา” “กลัวเราดีไม่พอ” “กลัวเราเป็นตัวตลก” “กลัวเราไปเด๋ออยู่บนเวที” นั่นแปลว่าเราต้องการอะไร?
“กลัวเด๋อ” —แปลว่าเราต้องการ—> “ดูเจ๋ง”
“กลัวเป็นตัวตลก” —แปลว่าเราต้องการ—> “ดูน่าเชื่อถือ”
“กลัวเขาไม่ชอบเรา” —แปลว่าเราต้องการ—> “ให้เขาชอบเรา”
“กลัวพูดผิด” —แปลว่าเราต้องการ—> “เป็นคนถูก”
จากใคร? จาก #คนอื่น
เราต้องการความคิดเห็นของ “คนอื่น” มายืนยันความ “เจ๋ง” หรือ “ไม่เจ๋ง” ของเรา …มันผิดตั้งแต่ต้นเลย
กลับกัน ถ้าสมมติเราขึ้นไปพูดด้วยจิตของการเป็น #ผู้ให้ ล่ะ
แทนที่จะคิดว่า “วันนี้เราจะมารายงาน” “วันนี้จะ ต้อง เอางานไปนำเสนอหัวหน้า”
แทนที่จะไปขอว่า “เขาจะ Approve เราไหม” “เขาจะอนุมัติเราหรือเปล่า” ก็ไม่รู้
แทนที่จะไปขอให้เขาชมว่า เราเก่ง เราเจ๋ง อย่างนั้นอย่างนี้
ลองพลิกมือจาก “ผู้ขอ” ขึ้นเป็น “ผู้ให้” ดูสักนิด มือผู้ขอกับมือผู้ให้มันสูงกันคนละระดับ #ใจคนก็เช่นกัน
เมื่อไหร่ที่เราทำตัวเป็น #ผู้ขอ ขอการอนุมัติจากคนอื่น เราจะรู้สึก ตัวเล็ก ตลอดเวลา เจ้านายเราก็จะเป็นคนที่ ตัวใหญ่กว่าเรา เสมอ พอเราไปหาเจ้านายในแบบตัวเล็ก “เราทำถูกไหมนะ” “เขาจะชอบเราไหมนะ” ก็จะตื่นเต้น พรีเซนต์ผิดๆถูกๆ ลืมเนื้อหา ลืมบท ต่างๆมากมาย
แต่ถ้าเราไปแบบ “ผู้ให้” ล่ะ
ไปแบบผู้ให้เป็นอย่างไร? เราก็จะเตรียมตัวไปแบบเต็ม 100% คนที่อยากไป #ให้ คนอื่น จะเตรียมตัวไปแบบ 50-50 เหรอ อันนั้นไม่ใช่ เพราะมันแสดงว่าเราไม่รับผิดชอบคนฟังของเรา ไม่ได้ตั้งใจจะให้เขาจริงๆ ถูกไหม
แต่ถ้าเรา #รัก คนฟังของเราก่อน
เราจะเตรียมตัวไปก่อนแล้วว่า ฉันอยากให้เขา #ได้ อะไร
เช่น ตอนนั้นครูเคยไปพูดให้กับคนฟังประมาณ 3,000 คน เวทีใหญ่มาก จัดแสงสี มีคนดูรอบ 4 ด้าน คนเยอะมาก ครูประเมินไม่ได้หรอกว่าใครจะชอบหรือไม่ชอบครู ใครจะเฉยๆ กลางๆ บวกบ้าง ลบบ้าง ตอนนั้นครูไม่สนใจเลยค่ะ ครูคิดอย่างเดียวเลย คือ บอกตัวเองว่า
“วันนี้ สิ่งที่ฉันรู้ ฉันมี ฉันเป็น ฉันสามารถ ฉันจะมาแชร์ให้กับคนเหล่านี้ที่นั่งอยู่ตรงนี้ ให้เขาได้รู้ ได้มี ได้เป็น ได้สามารถ ได้เอาไปปรับใช้ในชีวิตได้จริง ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น”
เช่นถ้าครูเงาะไปสอนเรื่องการพูด ก็ “ขอให้สิ่งที่จะพูดนี้ ไปช่วยให้การพูดของเขา ดีขึ้น ในชีวิตของเขา กับคู่ครองคนรัก กับครอบครัวของเขา” เป็นต้น
#ตั้งจิตให้ถูกต้องตั้งแต่ก่อนขึ้นพูด
ฉันมาให้ เขาไม่ชอบฉันไม่เป็นไร เพราะฉันรักฉันและฉันก็ปรารถนาดีต่อเขา ถ้าผิดพลาดก็อ่อนโยนต่อตัวเองบ้าง เท่านี้ใจเราก็จะใหญ่ขึ้น ที่เหลือก็แค่ใส่ให้เต็มให้เค้าได้สิ่งที่ดีที่สุดในขณะที่ได้ฟังสิ่งที่เราตั้งใจเตรียมมาเพื่อ #เขา
นี่คือการเอาใจเราไปอยู่กับ #ผู้ฟัง แล้วมันจะลดอาการ #SelfConscious คืออาการตื่นเต้นไม่รู้ว่าจะเอามือไม้ไปอยู่ตรงไหนดี ได้อีกด้วย
ลองนำเทคนิคนี้ไปฝึกฝนลองใช้กันดูนะคะ ขอให้ทุกคน ได้ #OwnYourStage ทั้งในการพรีเซนต์ การทำงาน การขาย และทุกเวทีการพูดในชีวิตของทุกคนนะคะ
—
มาเปลี่ยนทุกการนำเสนอผลงาน
ให้เป็นการนำเสนอความก้าวหน้าในอนาคต
“Presentation & Public Speaking”⠀
#สิ่งที่คุณจะได้
✅การพูดในที่สาธารณะ ในที่ประชุม การพูดต่อหน้าคนเยอะๆ
รู้จักโครงสร้างการเล่าเรื่องที่ดี ทำให้เรื่องที่เราเล่า หรือ นำเสนอนั้นน่าสนใจ
✅โน้มน้าวให้คนฟัง เปิดใจรับฟัง ไอเดีย หรือสินค้าเรา
✅เปิด ปิดเรื่องยังไงให้น่าสนใจ ให้ได้ใจคนฟัง
✅จิตวิทยาการเรียงเรื่อง อะไรคือไอเดีย ถ้าคุณมีเวลานำเสนอภายใน 3 นาที จำทำยังไงให้เค้าซื้อไอเดียคุณ
ถ่ายทอดทุกเคล็ดวิชาโดย #ครูเงาะ รสสุคนธ์
Speaker เป็นวิทยากร ให้กับองค์กรระดับประเทศ
มากมายกว่า 100 องค์กร
และมากกว่า 10 ปี ในวงการบันเทิง ในฐานะ Acting Coach
มาเรียนรู้วิธีการเล่าเรื่องให้ทรงพลัง ชัดเจน
เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อผู้ฟัง และที่สำคัญ การดึง
" #เสน่ห์และตัวตนที่เป็นธรรมชาติ "
ของเราให้ออกมาได้
พบกัน 10–11 ตุลาคม 63
🗨 ลงทะเบียนได้แล้ววันนี้ ที่ LINE @kru-ngor
📞 หรือโทร. 080-265-6266 , 096 646 6266 , 099-797-9615
รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก
https://www.innerpower.co.th/presentation/?utm_source=fbpagekrungor
self defense mechanism 在 墨小鯊 LAZY SHARK Youtube 的最佳解答
心理鯊來了?|Brian Cha啲廣告好煩?為何我們會討厭別人?或許我們只是在討厭自己的陰暗面...?|墨小鯊 LAZY SHARK #投射心理 #心理學小知識 #佛洛伊德
這次來分享一下討厭的心理
為什麼我們討厭一個人? 一個廣告?
這是我很喜歡的經典心理學派
Psychoanalysis 佛洛伊德
很多時我們用不同的心理防禦機制
Self-Defense Mechanism
來逃避自身的過去, 陰影, 負能量等等...
雖然潛意識這回事 既看不到又摸不著
科學又暫時無法證實真有這個東西存在
但我相信人類的心理, 思考模式,
大腦仍有很多未被發掘的地方
你相信潛意識存在嗎?
By the way, 我認同不喜歡看的可以不要看的
唔鍾意又要睇真係諗唔明 (笑
兩樣野, 一係努力skip廣告或者
付費 YouTube 的無廣告計劃吧 XD
- - - ღ - - - ღ - - - ღ - - - ღ - - - ღ - - -
【過三爆四|一對一線上輔導】
▸ https://forms.gle/zDQSMhvMPgoUPFen9
【預約免費理財需要分析|投資理財交流群組】
▸ https://forms.gle/LhnSAYi6j8pmg4wVA
=== 本集傳送門 ===
// ღ // ღ // ღ //
==== 更多墨小鯊 LAZY SHARK ===
大學鯊系列
▸ https://reurl.cc/9XAeQx
副學鯊系列
▸ https://reurl.cc/OqaZeg
心理鯊系列
▸ https://reurl.cc/VXZAqb
電影鯊系列
▸ https://reurl.cc/8nAEOd
日常鯊系列
▸ https://reurl.cc/v1bY41
// ღ // ღ // ღ //
=== 金主歡迎 ===
▸ https://streamlabs.com/tsukishima_hitomi
▸ https://payme.hsbc/mozishark
// ღ // ღ // ღ //
=== 社交平台 ===
Instagram ▸ https://www.instagram.com/moziii_5/
Facebook ▸ https://www.facebook.com/ozishark
// ღ // ღ // ღ //
=== 本集內容 ===
#BrianCha #車志健 #討厭別人
#陰暗面 #潛意識 #精神分析學
#投射心理 #projection #freud
#selfdefensemechanism
#人形頹廢鯊魚 #墨小鯊
#gpa爆4 #心理學 #社科
#哲學 #文學院 #社會學
#bytheway #唔鍾意咪quit
- - - ღ - - - ღ - - - ღ - - - ღ - - - ღ - - -
self defense mechanism 在 themblan Youtube 的精選貼文
Today, I crack down on the practice of self-deprecation as a defense-mechanism.
As we expand into unity-consciousness, self-deprecation just becomes deprecation. So as we should not insult others, we should not insult ourselves, either.
----------------------------
The song in my intro and outro was done by Hyper Potions, and it is called Time Trials. You can check out the full song here: https://youtu.be/mnfNWe-HHsI.
self defense mechanism 在 10 Psychological Defense Mechanisms - YouTube 的推薦與評價
We often turn to our coping mechanisms when dealing with stressful situations. Here are 10 psychological defense mechanisms that people rely ... ... <看更多>