🙌誠摯恭喜中研院翁啟惠院士榮獲2021年威爾許化學獎!
翁啟惠院士曾擔任台灣中央研究院院長,目前為生技醫療產業策進會會長,同時也是台灣第一位威爾許化學獎得主,以表彰其在化學研究的重大貢獻,特別是醣科學的革命性發展。美國威爾許基金會是化學領域最負盛名的國際獎項之一,旨在推動和鼓勵能夠造福全人類的基礎化學研究。
翁啟惠院士31歲時到美國麻省理工學院化學所攻讀博士,3年即取得博士學位,2002年更獲選為美國國家科學院院士。恭喜翁啟惠院士再次取得非凡成就!
更多關於翁啟惠院士獲獎的資訊:https://bit.ly/3yRCv0A
🙌Congratulations to Dr. Wong Chi-Huey for receiving the 2021 Welch Award in Chemistry!
Dr. Wong, the former President of Academia Sinica and current President of the Institute of Biotechnology and Medicine Industry, is the first person from Taiwan to win the Robert A. Welch Award in Chemistry for his breakthrough research on enzyme technology. Awarded by the U.S.-based Welch Foundation, this award is one of the world’s most prestigious honors in the field of chemistry, recognizing significant chemical research contributions that benefit humankind.
Dr. Wong pursued his PhD in the United States at the age of 31, and 23 years later, he was elected as a member of the U.S. National Academy of Sciences in 2002. Congratulations on another exceptional achievement, Dr. Wong!
To read more about Dr. Wong’s 2021 Welch Award: https://bit.ly/3yRCv0A
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過68萬的網紅ブレイクスルー佐々木,也在其Youtube影片中提到,【神・ルーティン】ブレイクスルー佐々木の1日【永久保存版】 https://youtu.be/4rwpG_RWwck メンバーシップ(Gold Member)登録はこちら↓ https://www.youtube.com/channel/UCORW3zZTUVdVwlY5Mnk8q9Q/join...
「united states national academy of sciences」的推薦目錄:
- 關於united states national academy of sciences 在 美國在台協會 AIT Facebook 的精選貼文
- 關於united states national academy of sciences 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最佳解答
- 關於united states national academy of sciences 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳貼文
- 關於united states national academy of sciences 在 ブレイクスルー佐々木 Youtube 的最佳解答
- 關於united states national academy of sciences 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最佳解答
- 關於united states national academy of sciences 在 ブレイクスルー佐々木 Youtube 的最佳貼文
united states national academy of sciences 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最佳解答
บิดาแห่ง Antivaxxers - นักวิจัยผู้บิดเบือนผลการทดลองวัคซีนเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง
โรคหัดเคยเป็นโรคหนึ่งที่คร่าชีวิตเด็กทั่วโลกไปกว่าปีละ 2.6 ล้านคน จนกระทั่งเริ่มมีการผลิตวัคซีน MMR หรือ หัด คางทูม หัดเยอรมัน ขึ้นมาในปี 1971 โดยใช้ไวรัสมีชีวิตจากไวรัสที่ทำให้ก่อโรคทั้งสาม ทำให้อ่อนกำลังลง ปัจจุบัน วัคซีน MMR นี้เป็นวัคซีนหลักที่กว่า 100 ประเทศทั่วโลกฉีดให้เด็กกว่า 100 ล้านคนทุกปี ส่งผลทำให้อัตราการเสียชีวิตลดลงเหลือเพียง 122,000 คน ในปี 2012 ซึ่งส่วนมากเกิดขึ้นในประเทศด้อยพัฒนา
แต่ในปี 1998 งานวิจัยที่นำโดย Andrew Wakefield ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสาร The Lancet พร้อมทั้งได้ออกแถลงข่าวผลงานวิจัย ที่ได้ศึกษาเด็ก 12 คนที่มีอาการของ autism และได้ตรวจพบอาการใหม่ในเด็ก 8 จาก 12 คน ที่เรียกว่า “autistic enterocolitis” ที่ทีมนักวิจัยอ้างว่าเกิดขึ้นจากการฉีดวัคซีน และมีความเชื่อมโยงระหว่างโรคในระบบทางเดินอาหารที่พบกับการพัฒนาการที่นำไปสู่โรคออทิซึ่ม ในการแถลงข่าวนี้ Wakefield จึงได้เรียกร้องให้มีการหยุดให้ MMR vaccine โดยสิ้นเชิง จนกว่าผลกระทบจะได้รับการศึกษาอย่างถี่ถ้วน และทดแทนด้วยการฉีดวัคซีนแยกชนิดกันแทน
ซึ่งผลของงานวิจัยนี้แน่นอนว่าสร้างความสะท้านไปทั่วโลก เนื่องจากวัคซีน MMR เป็นวัคซีนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากไปแล้วในปัจจุบัน และการค้นพบความเชื่อมโยงของผลเสียของวัคซีนต่อพัฒนาการของเด็ก ที่นำไปสู่โรคออทิซึ่มนั่น แน่นอนว่าเป็นเรื่องที่ใหญ่มาก จึงได้รับความสนใจเป็นอย่างมากต่อสื่อทั่วโลก
แต่… ในเวลาที่ตามมา ความไม่ชอบมาพากลหลายๆ อย่างเกี่ยวกับ “งานวิจัย” นี้ ก็ค่อยๆ โผล่ขึ้นมาให้เห็น นักข่าว Brian Deer ได้ไปขุดพบเอกสารที่บ่งชี้ว่า Wakefield ได้มีการยื่นขอสิทธิบัตรในการทำวัคซีนแยกเข็มเดี่ยว ก่อนที่จะมีการทำงานวิจัยที่เรียกร้องให้มีการยกเลิกเข็มรวมไปแยกเป็นเข็มเดี่ยว รวมไปถึงแผนที่จะหากำไรจากการผลิตเครื่องตรวจออทิซึ่มที่อาจทำเงินได้ถึง $43 ล้านต่อปี มีการเปิดเผยให้เห็นว่าก่อนจะเกิดการทดลองนี้ขึ้น ผู้ปกครองของเด็กทั้ง 12 คนนี้กำลังติดต่อกับทนายความเพื่อที่จะดำเนินคดีต่อผู้ผลิตวัคซีน และได้มอบเงิน 55,000 ปอนด์แก่รพ. เพื่อทำงานวิจัยชิ้นนี้ นอกจากนี้ตัว Wakefield เองยังได้รับเงินกว่า 400,000 ปอนด์จากเหล่าทนายที่กำลังเตรียมคดีฟ้องผู้ผลิตวัคซีน MMR ซึ่งในกรณีนี้ในทางวิชาการนั้นจัดว่าเข้าข่าย “มีผลประโยชน์ทับซ้อน” (Conflict of Interest) ที่ Wakefield ไม่ได้แจ้งไว้แต่ในภายแรก
แม้ว่าจะไม่ถึงกับห้ามทำงานวิจัยเมื่อมีผลประโยชน์ทับซ้อนเสียทีเดียว แต่การไม่แจ้ง Conflict of Interest นั้นนับเป็น Research Misconduct ที่ค่อนข้างร้ายแรง แน่นอนว่าการมีผลประโยชน์ทับซ้อนนั้นส่งผลเป็นอย่างยิ่งต่อความเป็นกลางของผู้ทำการทดลอง ซึ่งหากผู้รีวิวได้รับรู้ถึง Conflict of Interest ล่วงหน้า และเป็นที่แน่ชัดว่าผู้ทำวิจัยนั้นได้รับผลประโยชน์บางอย่างหากผลงานวิจัยจะออกไปในทางใดทางหนึ่ง เจตนารมณ์และความเป็นกลางของผู้วิจัยย่อมจะต้องถูกนำมาตั้งคำถาม และตัวงานวิจัยจะต้องถูกพิจารณาอย่างถี่ถ้วนยิ่งขึ้น เช่นเดียวกัน ในโลกปัจจุบันผู้ผลิตวัคซีนแต่ละชนิดนั้นเป็นผู้ที่จะต้องทำงานวิจัยเพื่อยืนยันผลด้วยตัวเอง ซึ่งฝ่าย reviewer ก็จะคาดหวังมาตรฐานที่สูงกว่าเพื่อแสดงให้เห็นว่าในทุกขั้นตอนการวิจัยนั้นไม่ได้มีการ “ตุกติก” หรือแก้ผลเพื่อให้เป็นไปตามที่ต้องการ
สำหรับวารสาร Lancet นั้น ตัว editor-in-chief เองก็ได้ออกมาบอกในภายหลังว่า งานวิจัยของ Wakefield นั้นมีจุดบกพร่องเป็นอย่างมาก และหากเหล่า peer reviewer ได้แจ้งถึง Conflict of Interest อย่างชัดเจนแต่แรกแล้ว น่าจะไม่มีทางที่งานวิจัยนี้จะได้รับการรับรองแต่แรก
นอกไปจากนี้ Wakefield ได้ทำการเปิดแถลงข่าวต่อหน้าสื่อมวลชน ตั้งแต่ก่อนที่งานวิจัยจะได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการ ซึ่งในทางการวิจัยแล้วจัดเป็น “Science by press conference” (การทำงานวิจัยผ่านการแถลงข่าว) ซึ่งขัดต่อหลักการงานวิจัยที่ควรจะเป็น นั่นคือนักวิจัยควรจะมีหน้าที่ได้รับการยอมรับและติติงและยืนยันผลจากนักวิจัยด้วยกันก่อนที่จะนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน เพราะงานวิจัยนั้นควรจะทำไปเพื่อหาความจริง ไม่ใช่เพื่อชื่อเสียง และเมื่อพิจารณาจาก Conflict of Interest ของ Wakefield ที่กล่าวเอาไว้ล่วงหน้าแล้วนั้นก็ยิ่งทำให้อดตั้งคำถามถึงแรงจูงใจที่แท้จริงของผู้วิจัยไม่ได้
แต่ที่สำคัญที่สุดก็คือ งานวิจัยที่ผู้อื่นพยายามทำต่อมาในเบื้องหลังนั้น ไม่ได้ค้นพบผลที่ยืนยันการค้นพบเดิมของ Wakefield แต่อย่างใด ในปี 2005 BBC ได้อ้างอิงถึงงานวิจัยหนึ่งที่ได้ทดลองตรวจเลือดเด็กที่มีอาการออทิซึ่ม 100 คน และ 200 คนที่ไม่มีอาการ และพบว่ากว่า 99% นั้นไม่ได้มีเชื้อโรคหัดเท่าๆ กันทั้งสองกลุ่ม Institute of Medicine (IOM), United States National Academy of Sciences, CDC, UK National Health Service ต่างก็ไม่พบความเชื่อมโยงใดๆ ทั้งสิ้นระหว่างโรคออทิซึ่มและ MMR ในประเทศญี่ปุ่นซึ่งมีการฉีดวัคซีนสามอย่างนี้แยกจากกัน ก็ไม่ได้พบว่ามีอัตราการเกิดออทิซึ่มแตกต่างจากประเทศอื่นที่ใช้ MMR รวมกันแต่อย่างใด นอกไปจากนี้ รีวิวต่างๆ ในวารสารงานวิจัยทางการแพทย์ก็ไม่เคยพบความเชื่อมโยงระหว่างวัคซีนกับออทิซึ่ม หรือแม้กระทั่งโรคระบบทางเดินอาหาร และก็ไม่เคยมีใครค้นพบ “autistic enterocolitis” ที่ Wakefield อ้างอิงถึงในงานวิจัยแต่อย่างใด
ผลสุดท้าย UK General Medical Council (แพทยสภาของอังกฤษ) ก็ได้เปิดการไต่สวน และได้ตัดสินว่า Andrew Wakefield ได้ทำความผิดร้ายแรง ฐานไม่สุจริต 4 กระทง ใช้ประโยชน์จากเด็กที่มีพัฒนาการต่ำ 12 กระทง ทำการทดลองที่ไม่จำเป็นและไร้ความรับผิดชอบต่อเด็กในการทดลอง การทดลองไม่ได้ผ่านบอร์ดคณะกรรมการจริยธรรม และไม่ยอมเปิดเผยถึงผลประโยชน์ทับซ้อน และ GMC ได้ระบุว่า Wakefield นั้น “ล้มเหลวโดยสิ้นเชิงต่อความรับผิดชอบในหน้าที่ของแพทย์ผู้ให้คำปรึกษา” จึงได้ถอด Andrew Wakefield ออกจากทะเบียนแพทย์ และยึดใบประกอบโรคศิลป์ในประเทศอังกฤษ
ส่วนตัววารสาร Lancet เองก็ได้ยื่น full retraction ถอดถอนงานวิจัยนี้ออกไป โดยตัว co author 10 จาก 12 คนในงานวิจัยนี้ก็ได้ออกมายื่นขอ retract เช่นเดียวกัน โดยกล่าวว่าแม้การค้นพบจะตั้งคำถามที่น่าสนใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของวัคซีน แต่ตัวงานวิจัยนั้นไม่สามารถยืนยันถึงความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทั้งสองได้แต่อย่างใด
แต่แม้ว่างานวิจัยจะถูกถอดถอน ผู้ทำวิจัยจะถูกปลดจากวิชาชีพไปแล้ว แต่ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยลวงโลกนี้ก็ได้เกิดขึ้นไปแล้ว มีการประเมินว่างานวิจัยที่ตีพิมพ์โดย Lancet นี้ อาจจะเป็น “ข่าวลวงโลกที่ร้ายแรงที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20” เพราะนับแต่นั้นมา ทั้งในอังกฤษและไอร์แลนด์ต่างก็พบว่ามีผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนเพิ่มมากขึ้น จนโรคหัดและคางทูมเริ่มกลับมาระบาดอีกครั้งหนึ่งในหมู่ผู้ที่ปฏิเสธวัคซีน และกระแส Anti-vaccine หรือที่เราเรียกกันว่า “Antivaxxers” ก็เริ่มจุดติดนับแต่นั้นเป็นต้นมา และหนึ่งในข้อกล่าวอ้างของผู้ที่ปฏิเสธวัคซีนที่แพร่หลายมากที่สุดก็คือ “วัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม” ซึ่งก็เริ่มต้นมาจากงานวิจัยลวงโลกของ Andrew Wakefield นี้นั่นเอง จนในทุกวันนี้ ชาวอเมริกันจำนวนมากที่สามารถเข้าถึงวัคซีน mRNA ใหม่ที่ป้องกันโควิด-19 กลับปฏิเสธที่จะรับวัคซีนฟรีจากความกลัววัคซีน ที่ Andrew Wakefield เป็นผู้ก่อ
ส่วนเจ้าตัวก่อเรื่องเองนั้น… แน่นอนว่าเขาก็ยังคงปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยยังยืนยันผลเดิมว่าวัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม และเขาเองนั้นไม่ได้มีผลประโยชน์ทับซ้อนใดๆ ทั้งสิ้น แต่เขาต้องเป็นจำเลยของสังคม เขามีปากเสียงกับ Brian Deer นักข่าวผู้เปิดโปงและแฉเขาอยู่บ่อยๆ ซึ่ง Deer ก็ได้ออกมาตอบโต้ว่า “ถ้าคิดว่าไม่จริงก็ฟ้องมาสิ มาพิสูจน์กันเลย แล้วถ้าผมโกหกคุณก็จะกลายเป็นคนที่รวยที่สุดในอเมริกา” ซึ่งที่ผ่านมา Wakefield ก็ได้ถอนการฟ้องร้องคดีหมิ่นประมาทไปทุกกรณี และ Brian Deer ก็ได้รับรางวัลเป็น UK's specialist journalist of the year ใน the British Press Awards จากกรณีเปิดโปง Wakefield นี้
ปัจจุบัน Andrew Wakefield ได้ย้ายไปอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากเหล่าสาวก Antivaxxer อยู่จนถึงทุกวันนี้ เป็นหนึ่งในแกนนำที่คอยเรียกร้องต่อต้านกม. ที่จะบังคับให้คนฉีดวัคซีนอยู่เสมอ รวมไปถึงเป็นผู้กำกับภาพยนต์สารคดีลวงโลกเรื่อง Vaxxed: From Cover-Up to Catastrophe และเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ที่ได้รับจากความโด่งดังอันเกิดจากงานวิจัยลวงโลกเช่นนี้อยู่ต่อไป
หมายเหตุ: ปัจจุบันไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ใดๆ ทั้งสิ้น ที่สามารถเชื่อมโยงการเกิดโรคออทิซึ่ม กับการฉีดวัคซีน
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://en.wikipedia.org/wiki/MMR_vaccine
[2] https://en.wikipedia.org/wiki/Lancet_MMR_autism_fraud
[3] https://en.wikipedia.org/wiki/Andrew_Wakefield
united states national academy of sciences 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳貼文
➥【SARS-CoV-2透過非結構蛋白「NSP14」關閉宿主的蛋白質合成以助其逃脫宿主的先天性免疫反應】致病性病毒要能克服宿主所產生的第一型干擾素(type 1 interferon,IFN-1)抗病毒先天性免疫反應才能在宿主身上造成感染,而干擾宿主的蛋白質合成是病毒常採行的策略。
SARS-CoV-2的非結構蛋白「NSP14」具有核糖核酸外切酶(exoribonuclease,ExoN)和N7甲基轉移酶(N7-methyltransferase,N7-MTase)的活性,是病毒複製不可或缺的蛋白。耶魯大學研究團隊進一步發現,SARS-CoV-2可透過NSP14關閉宿主的蛋白質合成。
而ExoN或N7-MTase的活性部位若發生突變,NSP14便會喪失其關閉宿主合成蛋白質的能力。此外,NSP14−NSP10複合物的形成,會增強NSP14關閉宿主合成蛋白質的能力。
綜合而言,SARS-CoV-2透過NSP14關閉宿主的蛋白質合成,抑制了IFN-1所活化的干擾素刺激基因(interferon-stimulated genes,ISGs)的表現,進而關閉宿主的先天性免疫反應。
此研究增進了醫學界對SARS-CoV-2致病機轉的了解,有助...完整轉譯文章,詳連結:http://forum.nhri.org.tw/covid19/virus/j_translate/j2654/ ( 財團法人國家衛生研究院 吳綺容醫師摘要整理)
📋 (PNAS )Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America - 2021-06-15
Translational shutdown and evasion of the innate immune response by SARS-CoV-2 NSP14 protein
■ Author:Jack Chun-Chieh Hsu 1, Maudry Laurent-Rolle, Joanna B Pawlak, et al.
■ Link:https://www.pnas.org/content/118/24/e2101161118.long
〈 國家衛生研究院-論壇 〉
➥ COVID-19學術資源-轉譯文章 - 2021/06/17
衛生福利部
疾病管制署 - 1922防疫達人
疾病管制署
財團法人國家衛生研究院
united states national academy of sciences 在 ブレイクスルー佐々木 Youtube 的最佳解答
【神・ルーティン】ブレイクスルー佐々木の1日【永久保存版】
https://youtu.be/4rwpG_RWwck
メンバーシップ(Gold Member)登録はこちら↓
https://www.youtube.com/channel/UCORW3zZTUVdVwlY5Mnk8q9Q/join
メンバーへのリターン
・メンバー限定に質の高い情報を動画配信(月8本まで)
・佐々木の個人LINE IDを配布(先着5000名限定)
・月1度、佐々木に個別で質問・相談する権利(先着5000名限定)
・佐々木のYouTube戦略をコミュニティにて月1度配信
■今回紹介したオススメ勉強道具
タイムロッキングコンテナ
https://amzn.to/2UBrS43
MOLDEX 使い捨て耳栓
https://amzn.to/2Va0hXi
参考文献
Ophir, E., Nass, C., & Wagner, A. D. (2009). Cognitive control in media multitaskers. Proceedings of the National Academy of Sciences for the United States of America. 2009. doi: 10.1073/pnas.0903620106.
---------------------------------------
00:00 intro
00:38 第4位:全ての誘惑を視界から取り除く
02:03 第3位:全ての雑音を聴覚から取り除く
03:30 第2位:30分以上休憩しない
04:11 第1位:3時間ずつのブロックで勉強する
05:33 まとめ
united states national academy of sciences 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最佳解答
本集廣告與「圖文不符上課囉」合作播出
阿滴志祺在你家!人氣 YouTuber 線上開班
減少摸索期的不安,直接享受經營樂趣 🥊
【攻心剪輯術】+【YouTuber 的 36 堂課】熱烈販售中!
——
#攻心剪輯術 教你事前規劃+事後剪輯心法,影片不白拍,效率 level up!
✓器材設置:房間即影棚!教你篩選最合用的高 CP 器材
✓拍攝規劃:強化你的故事結構,讓人把影片一路看完
✓後製剪輯:350 部影片的斷捨離之道,通通告訴你!
#YouTuber的36堂課 帶你突破頻道盲點,手把手從基礎教你經營個人品牌!
✓籌措頻道:規劃頻道的必學知識,帶你做第一支影片
✓探索經營:破解後台抓住粉絲,每支影片都人氣發燒
✓穩定擴張:系列影片 feat 網紅,觀眾翻倍的爆棚策略
✓人氣變現:YouTuber 變現秘訣,業配營收原來這樣賺!
——
現在就進入網站,看試閱影片、了解課程如何幫助你吧!
即日起到 7/25,購買課程輸入折扣碼再享【八折優惠】喔~
攻心剪輯術【HHrdcutcut】
👉🏻 https://bit.ly/HHrdcutcut
YouTuber 的 36 堂課 【HHYouTuber】
👉🏻 https://bit.ly/HHYouTuber
本集節目內容由志祺七七頻道製作,不代表「圖文不符上課囉」立場。
--
✔︎ 成為七七會員(幫助我們繼續日更,並享有會員專屬福利):http://bit.ly/shasha77_member
✔︎ 體驗志祺七七文章版:https://blog.simpleinfo.cc/shasha77
✔︎ 購買黃臭泥周邊商品: https://reurl.cc/Ezkbma 💛
✔︎ 訂閱志祺七七頻道: http://bit.ly/shasha77_subscribe
✔︎ 追蹤志祺IG :https://www.instagram.com/shasha77.daily
✔︎ 來看志祺七七粉專 :http://bit.ly/shasha77_fb
✔︎ 如果不便加入會員,也可從這裡贊助我們:https://bit.ly/support-shasha77
(請記得在贊助頁面留下您的email,以便我們寄送發票。若遇到金流問題,麻煩請聯繫:service@simpleinfo.cc)
#美國週期蟬 #週期蟬
各節重點:
00:00 前導
01:39《YouTuber 的 36 堂課》廣告段落
02:29 一般的蟬生活習性是什麼?
03:36 週期特別長的週期蟬
04:44 週期蟬為何在地底下那麼久?
05:51 為什麼一次出現十億隻?
06:30 美國居民的困擾
07:26 週期蟬不是害蟲?
08:42 美國人吃蟬歷史悠久?
09:57 我們的觀點
10:43 提問
10:59 結尾
【 製作團隊 】
|企劃:宇軒
|腳本:宇軒
|編輯:土龍
|剪輯後製:Pookie
|剪輯助理:歆雅
|演出:志祺
——
【 本集參考資料 】
→Paleoclimatic Influences in the Evolution of Periodical Cicadas (Insecta: Homoptera: Cicadidae: Magicicada spp.), The American Midland Naturalist, Vol. 120, No. 1 (Jul., 1988), pp. 183-193 (11 pages):https://bit.ly/2UWvnSr
→Liebhold, A. M., Bohne, M. J., and R. L. Lilja. 2013. Active Periodical Cicada Broods of the United States. USDA Forest Service Northern Research Station, Northeastern Area State and Private Forestry.
→Sota, Teiji, et al. "Independent divergence of 13-and 17-y life cycles among three periodical cicada lineages." Proceedings of the National Academy of Sciences 110.17 (2013): 6919-6924.
→Berlocher, Stewart H. "Regularities and irregularities in periodical cicada evolution." Proceedings of the National Academy of Sciences 110.17 (2013): 6620-6621.
→Broods, Cicada -University of Connecticut: https://cicadas.uconn.edu/broods/
→Cicada swarms in Washington, DC, appear to show up on the weather radar. Not everyone agrees:https://cnn.it/3wR25Sm
→【維基百科】Periodical cicadas:https://bit.ly/3rpqPAa
→【維基百科】Brood X:https://bit.ly/3hNivaa
→【科學人雜誌】17年之癢:https://bit.ly/3kzZcmo
→美東17年蟬來襲!你不知道的華府「蟬」文化:https://bit.ly/3ew7x6T
→從地心竄出:17年一出10億隻的美國「蟬爆日」:https://bit.ly/3hQKUfy
→地下躲了17年 它們不忍了! 數兆神祕生物入侵美國1/3領土 科學家建議「食用」:https://bit.ly/2W16sO3
→【公視】蟄伏 17 年 美東十億隻「週期蟬」將破土求偶 :https://bit.ly/3ziZ6Ub
→【地球圖輯隊】仲夏不寧靜 「 17 年蟬」大舉回歸美國 :https://bit.ly/3hQdduD
→【天下獨立評論】美東 17 年蟬來襲!你不知道的華府「蟬」文化 :https://bit.ly/36JXabn
→【EET TAIWAN】北美「蟬爆日」週期為什麼是質數? :https://bit.ly/3zao348
→【香港 01】「 週 期 蟬」襲美國 民眾找食譜把蟬入菜 FDA:對海 鮮過敏者別吃 :https://bit.ly/3hOJ5iV
→【自由時報】蟄伏 17 年!週期蟬入侵白宮記者包機 延誤歐洲行:https://bit.ly/3irZKIj
→【自由時報】台灣蟬與熊蟬的傳奇一生 :https://bit.ly/3rmilts
→【 Boundary stones】 Cicadas: Time Traveling Trouble Makers:https://bit.ly/3hOubcv
→【維基百科】Predator satiation:https://bit.ly/3zhUvSy
→看見一堆小綠卵...在家遇到「荔枝椿象」怎麼辦?被毒液噴到小心皮爛眼瞎!用●●水噴1分鐘就死掉:https://bit.ly/3BjMLkA
【 延伸閱讀 】
→【環境資訊中心】美國部分周期蟬感染「迷幻真菌」 出現瘋狂交配行為:https://bit.ly/3hWoSrT
\每週7天,每天7點,每次7分鐘,和我們一起了解更多有趣的生活議題吧!/
🥁七七仔們如果想寄東西關懷七七團隊與志祺,傳送門如下:
106台北市大安區羅斯福路二段111號8樓
🟢如有引用本頻道影片與相關品牌識別素材,請遵循此規範:http://bit.ly/shasha77_authorization
🟡如有業務需求,請洽:hi77@simpleinfo.cc
🔴如果影片內容有誤,歡迎來信勘誤:hey77@simpleinfo.cc
united states national academy of sciences 在 ブレイクスルー佐々木 Youtube 的最佳貼文
ツイッター
https://twitter.com/BreakthroughSSK
【参考文献】
シーナ・アイエンガー(2010),『選択の科学』, 文藝春秋.
・ Lui, K. F. H., & Wong, A. C. N. Does media multitasking always hurt? A positive correlation between multitasking and multisensory integration. Psychonomic Bulletin & Review. 2012. DOI: 10.3758/s13423-012-0245-7.
・ NPR. Multitasking may not mean higher productivity. Aug. 28 2009.
・ Ophir, E., Nass, C., & Wagner, A. D. (2009). Cognitive control in media multitaskers. Proceedings of the National Academy of Sciences for the United States of America. 2009. doi: 10.1073/pnas.0903620106.
・ Rogers, R. & Monsell, S. (1995). The costs of a predictable switch between simple cognitive tasks. Journal of Experimental Psychology: General. 1995;124:207-231.
・ Rubinstein, Joshua S.; Meyer, David E.; Evans, Jeffrey E. (2001). Executive Control of Cognitive Processes in Task Switching. Journal of Experimental Psychology: Human Perception and Performance. 2001;27(4):763-797.