ทำไม มาตรการ QE ของสหรัฐ ไม่ทำให้เกิดเงินเฟ้อ ขั้นรุนแรง /โดย ลงทุนแมน
Quantitative Easing หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า QE
คือเครื่องมือหนึ่ง ที่ธนาคารกลาง ใช้ในการกระตุ้นเศรษฐกิจ
โดยการอัดฉีดเงิน เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ระบบเศรษฐกิจ ในภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว
...Continue ReadingWhy U.S. QE measures don't cause severe inflation / by investman
Quantitative Easing aka QE
Is one tool that central banks use to stimulate the economy.
By pumping money to increase liquidity for the economic system in slowing economic progress.
But the result that many people worry about is.
Amount of money will rise in the economic system which will bring inflation.
And may be severe to severe inflation aka ′′ Hyperinflation
We have seen many countries do QE hard.
Will this lead to severe inflation in the future?
Investing man will try to analyse it.
╔═══════════╗
Blockdit is a platform of source of thinkers.
Help to update the situation in video article format.
Including podcasts to listen to on the go.
Try it out at Blockdit.com/download
╚═══════════╝
First, let's understand the meaning of Hyperinflation.
Hyperinflation is a condition where product prices rise quickly.
Makes the country's money value go down dramatically
Why the value of money goes down
As a result, lots and lots of money flowing into the economy.
Compared to the same amount of goods and services in the economic system.
Price increases product prices quickly
An example of past severe Hyperinflation incident.
Such as in Hungary and Venezuela
Hyperinflation in Hungary happened in 1946
During that time, Hungary was heavily damaged by WWI.
Especially various infrastructure systems.
The Hungarian Government has shortage of budgets in economic revival.
So I decided to print a lot of money to repair the city's home and stimulate the economy.
Making money in Hungary's system is increasing tremendously.
As much as the amount of money increases, the domestic products are still the same.
So it makes inflation rise quickly
Hungary average product prices increase to 2 times in 15 hours.
By the moment of Hyperinflation
Hungary inflation rate rises to 150,000 % within one day.
Venezuela part of year 2019
Venezuelan inflation rises to 10,000,000
The cause of this story is similar to the case of Hungary
Well there is excessive economic system injection
Both to stimulate a slowing economy from low petrol prices.
Including to use for government's populist policies
We'll see that all 2 events have one thing in common.
Well there is a huge economic system injection.
Which leads to hyperinflation
Back at present COVID crisis-19
Many countries have measures to stimulate the economy.
With lots of money pumping into the economic system
US Central Bank
Using unlimited amount of QE measures
From the original designated price of about 22 trillion baht per year.
Central Bank of Japan
It's another country that uses unlimited amount of QE measures.
From the original designated, about 24 trillion baht per year.
European Central Bank announces more projects
In acquisition of emergency assets worth over 27 trillion baht.
It will see that many countries are now pumping a lot of money into the system.
And in many countries, I used to do heavy QE before.
For example, the case of the USA.
There has been a lot of money pumping into the economic system in the past 10 years.
Since the 2008 US Real Estate Bubble crisis.
Interesting is that US inflation rates aren't adjusted to much higher like the cases of Hungary and Venezuela.
2010 US average inflation rate equates to 1.6 %
2019 US average inflation rate equates to 1.8 %
Japan is another country where xỳāng h̄nạk measures are taken.
But inflation is still at low near 0 % as well.
Why is the story like this?
This phenomenon is partly because
US and Japan central banks make QE through asset purchases.
Both bonds, shares, loan from commercial banks.
And commercial banks are responsible for re-releasing money into the economy.
But what happens is that commercial banks don't forward the money they get from central banks.
To the business and household sector as everyone thought at first.
The cause is because during economic recession or slowdown.
Household sector tends to save money rather than bring money to spend.
Due to insecure future economic
For example, in USA.
The deposit amount in the COVID-19 pre-birth system is around 416 trillion baht.
But when COVID-19 goes viral, deposits in the system increase to almost 500 trillion baht.
Within just a few months
Meanwhile, a bad economic situation.
Making selling business sector products and services difficult.
Making production and service still very much available.
Business sector may not require a loan to expand business.
Enough demand for products and services doesn't increase higher.
Well, things don't go much higher.
Even with lots of money in the system
Another point is.
Countries with large economies like USA and Japan
Own the world's main currency with high credibility.
Most people still believe and still demand to hold these currency.
In conclusion, if you ask for QE making of big countries today.
Will it lead to severe inflation in the future?
I have to say that this problem can be difficult for big countries like USA and Japan.
But the point is, this plague crisis doesn't know when it ends.
And countries inject money log in
For a country which is economically stable as a big country, it might be careful.
Because those countries may have severe inflation, different from this case..
╔═══════════╗
Blockdit is a platform of source of thinkers.
Help to update the situation in video article format.
Including podcasts to listen to on the go.
Try it out at Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Follow up to invest manly at
Website - longtunman.com
Blockdit-blockdit.com/longtunman
Facebook-@[113397052526245:274: lngthun mæn]
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram-instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Hyperinflation
-https://nomadcapitalist.com/2014/04/20/top-5-worst-cases-hyperinflation-history/
-https://www.businessinsider.com/hungarys-hyperinflation-story-2014-4
-https://en.wikipedia.org/wiki/Hyperinflation_in_Venezuela
-https://www.thestreet.com/investing/federal-reserve-unveils-unlimited-qe-to-confront-coronavirus
-https://www.schroders.com/en/bm/asset-management/insights/economic-views/bank-of-japan-ramps-up-qe-again-amid-dismal-outlook/
-https://www.federalreserve.gov/monetarypolicy/bst_recenttrends.htm
-https://www.focus-economics.com/countries/japan/news/inflation/core-consumer-prices-hold-steady-in-june-in-annual-terms
- https://www.ecb.europa.eu/pub/projections/html/ecb.projections202006_eurosystemstaff~7628a8cf43.en.html#toc3
-https://www.economicshelp.org/blog/2900/inflation/inflation-and-quantitative-easing/
-https://fred.stlouisfed.org/series/DPSACBW027SBOGTranslated
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過67萬的網紅Kim Property Live,也在其Youtube影片中提到,ชอบมาก อยากเลี้ยงกาแฟผม : https://ko-fi.com/kimpropertylive แจกคอร์สเรียนฟรี : http://line.me/ti/p/%40spc2852x บทความอสังหา : http://www.properth.com/...
venezuela hyperinflation 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
เวเนซุเอลา ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย / โดย ลงทุนแมน
เมื่อ 60 ปีที่แล้ว คนเวเนซุเอลามีรายได้ต่อหัวมากกว่าคนไทย 11 เท่า
ปี 1960 คนเวเนซุเอลามีรายได้ต่อปี 24,130 บาท
ในขณะที่คนไทยมีรายได้ต่อปีเพียง 2,140 บาท
ถามว่าคนเวเนซุเอลา “รวย” ขนาดไหน เมื่อ 60 ปีที่แล้ว
รายได้ต่อหัว 24,130 บาทต่อปี ของคนเวเนซุเอลา
มากกว่ารายได้ต่อหัวของคนเนเธอร์แลนด์ และคนอิตาลีในช่วงเวลาเดียวกัน
และมากกว่ารายได้ต่อหัวของคนญี่ปุ่นในเวลานั้นถึง 2 เท่า
เวเนซุเอลาส่งออกน้ำมันเป็นสินค้าหลักมาตั้งแต่ปี 1917 หรือกว่า 102 ปีมาแล้ว
และเวเนซุเอลาเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งองค์การกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน หรือ OPEC
ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา ราคาน้ำมันในตลาดโลกที่ปรับขึ้นหลายต่อหลายครั้งนำรายได้มหาศาลมาให้ประเทศนี้ แต่ใครจะไปคิดว่าเรื่องนี้กลับทำให้เวเนซุเอลาประสบปัญหาทางเศรษฐกิจหลายครั้ง จนนำมาสู่สภาวะล้มละลายในปัจจุบัน
หลายคนคงพอทราบเรื่องราว การคอร์รัปชันและการดำเนินนโยบายที่ผิดพลาดของผู้นำประเทศ ซึ่งแน่นอนว่ามีส่วนสำคัญในความล้มเหลวของเวเนซุเอลาในวันนี้
แต่คำถามที่น่าสนใจก็คือ
ในอดีตช่วงหนึ่ง ประชาชนเวเนซุเอลาไม่ได้ยากจน
ในทางตรงกันข้าม คนเวเนซุเอลาในอดีต ส่วนใหญ่แล้วมีความสุขอยู่บนความมั่งคั่ง
แล้วในตอนนั้น ผู้คนในประเทศเวเนซุเอลา นำเงินจากความมั่งคั่งนี้ไปทำอะไร?
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ ซีรีส์บทความ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอน เวเนซุเอลา
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
ที่มีแต่ความรู้มากมาย
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
ถ้าถามว่าผู้นำประเทศทำอะไรผิด นอกจากคอร์รัปชัน อาจเป็นสิ่งที่ทุกคนนึกไม่ถึง
เรื่องแรกก็คือ “การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่” หรือ Fixed Exchange Rate
จุดเริ่มต้นหายนะของประเทศนี้ เริ่มในช่วงปี 1964 - 1983 ซึ่งเป็นช่วงที่รัฐบาลเวเนซุเอลาได้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
โดยตั้งค่าเงินของประเทศไว้สูงกว่าความเป็นจริงเป็นระยะเวลานาน
ซึ่งเรียกในทางเศรษฐศาสตร์ว่า Prolonged Currency Overvaluation
สาเหตุสำคัญคือ ในช่วงทศวรรษ 1970 เป็นช่วงที่ราคาน้ำมันในตลาดโลกพุ่งสูงอย่างมาก
น้ำมันเป็นสินค้าส่งออกหลักในระบบเศรษฐกิจของเวเนซุเอลา
รัฐบาลจึงมีเงินตราต่างประเทศมากพอที่จะกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
การที่ค่าเงินสูงกว่าความเป็นจริง ส่งผลให้สินค้านำเข้ามีราคาถูกกว่าความเป็นจริง
เมื่อเป็นเช่นนี้
ชาวเวเนซุเอลาจึงไม่จำเป็นต้องผลิตสินค้าเอง
เอาเงินที่ได้จากการขายน้ำมัน มาจับจ่ายใช้สอยสินค้านำเข้าจากต่างประเทศในราคาถูก
รวมถึงสินค้าฟุ่มเฟือยจากยุโรป และสินค้าอิเล็กทรอนิกส์จากญี่ปุ่น
การใช้จ่ายที่มากเกิน ทำให้อัตราการออมของชาวเวเนซุเอลาลดต่ำลง
เพราะเชื่อว่าเขาจะมีอำนาจซื้อสินค้าคุณภาพดีจากทั่วโลกแบบนี้ไปเรื่อยๆ
เมื่อเป็นเช่นนี้การลงทุนภาคเอกชนของเวเนซุเอลาก็แทบไม่เกิดขึ้น..
ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว การลงทุนภาคเอกชน คือปัจจัยสำคัญที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตในระยะยาว
ตลอดเวลาในช่วงทศวรรษ 1970 อัตราการลงทุนภาคเอกชนของเวเนซุเอลา อยู่ที่อัตราต่ำกว่า 25% ของ GDP
ปัจจัยที่ทำให้อัตราการลงทุนต่ำ มีหลายสาเหตุ ทั้งอัตราการออมต่ำ และภาคเอกชนไม่มั่นใจในระบบเศรษฐกิจของประเทศ ลงทุนผลิตอะไรไป ก็อาจขายไม่ออก
แม้การนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศได้ราคาถูก จะทำให้วัตถุดิบมีราคาถูกไปด้วย แต่สินค้าสำเร็จรูปก็มีราคาถูกไม่แพ้กัน
นั่นหมายความว่า หากเอกชนสักแห่งต้องการลงทุนตั้งโรงงานผลิตสินค้า เช่น สบู่ หรือเสื้อผ้า
ต้องมั่นใจว่าจะสามารถผลิตออกมาแล้วสามารถแข่งขันกับสินค้านำเข้าได้
แต่อีกสิ่งหนึ่งที่ทำลายบรรยากาศการลงทุนภาคเอกชนอย่างมากก็คือ นโยบายประชานิยมของรัฐบาล..
เมื่อน้ำมันมีราคาสูง รัฐบาลได้ใช้เงินอย่างมหาศาลไปกับการลงทุนในสาธารณูปโภค สร้างถนน สร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า กำหนดราคาพลังงานในราคาถูก เพิ่มเงินเดือนให้ข้าราชการ และจ้างข้าราชการเพิ่มเป็นจำนวนมาก
รวมไปถึงการออกกฎหมายแรงงาน ทั้งการเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ และการปกป้องแรงงาน
หากนายจ้างจะพักงานหรือไล่ลูกจ้างจากงาน จะต้องเสียค่าชดเชยสูงมาก
เมื่อฝั่งนายจ้างต้องแบกรับค่าแรงที่สูง แต่แลกมากับแรงงานไร้ประสิทธิภาพที่ไม่สามารถไล่ออกได้ บวกกับผลิตสินค้าออกมาก็ไม่สามารถสู้ราคากับสินค้านำเข้าได้
สิ่งที่เกิดขึ้น ภาคเอกชนจึงเลือกที่จะไม่ผลิตอะไรเลย
ประสิทธิภาพในภาคการผลิตของประเทศนี้จึงลดลงเรื่อยๆ
สินค้าในท้องตลาดของเวเนซุเอลา ส่วนใหญ่จึงเป็นสินค้าที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ
โดยรายได้หลักของประเทศ มาจากการส่งออกน้ำมัน ซึ่งคิดเป็น 95% ของสินค้าส่งออกทั้งหมด
ทุกอย่างพึ่งพิงน้ำมันเพียงอย่างเดียว ทำให้เรื่องนี้เป็นเหมือนระเบิดเวลาที่นับถอยหลังรอวันหายนะ
แล้วสิ่งนั้นก็เกิดขึ้น
ราคาน้ำมันลดต่ำลง
จากราคา 35.5 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล ในปี 1980
ลดลงอยู่ที่ 13.5 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล ในปี 1985
ในขณะที่อัตราการลงทุนภาคเอกชนก็ลดต่ำลงเรื่อยๆ
จาก 25% ของ GDP ในช่วงทศวรรษ 1970
เหลือไม่ถึง 15% ของ GDP ในช่วงทศวรรษ 1980
ในช่วงแรก บริษัทน้ำมันของรัฐยังมีกำไรหลงเหลืออยู่ รัฐบาลจึงยังมีเงินมาใช้จ่ายในสวัสดิการต่างๆ แต่เนื่องจากปัญหาคอร์รัปชันที่ฝังรากลึก รวมกับโครงการประชานิยมมากมาย
ท้ายที่สุด รัฐบาลก็ต้องไปขอกู้เงินจาก IMF
แต่ IMF ไม่ให้กู้ง่ายๆ IMF ย่อมต้องอยากได้เงินต้นคืน ซึ่งต้องมีเงื่อนไขให้รัฐบาลที่กู้ปฏิบัติตาม
ดังนั้น รัฐบาลเวเนซุเอลาจึงจำเป็นต้องมีมาตรการปรับเปลี่ยนนโยบายทางเศรษฐกิจ
คือการควบคุมค่าใช้จ่าย ลดสวัสดิการ และลดค่าเงินเพื่อสะท้อนกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
การลดค่าเงินในตอนนั้น ทำให้ค่าเงินโบลิวาร์อ่อนค่าลงทันที
สินค้านำเข้าที่เคยมีราคาถูกจึงมีราคาสูงขึ้นหลายเท่าตัว
สิ่งที่เกิดขึ้นทันทีก็คือ “ภาวะเงินเฟ้อ”
อัตราเงินเฟ้อปี 1985 อยู่ที่ระดับ 11.4%
อัตราเงินเฟ้อปี 1989 อยู่ที่ระดับ 84.5%
ภาวะเงินเฟ้อส่งผลร้ายแรง จนก่อให้เกิดการจลาจลในปี 1989 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 300 คน
และเมื่อไม่ตัดสวัสดิการกับคนส่วนใหญ่
ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ ความเหลื่อมล้ำ..
ความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาที่มีมานานในสังคมเวเนซุเอลา
การคอร์รัปชันอย่างหนัก ทำให้รายได้หลักจากน้ำมันตกอยู่ในมือของกลุ่มผู้นำ ข้าราชการ และเครือข่ายเอกชนที่ใกล้ชิดกับรัฐบาล
ผลลัพธ์ก็คือ ประเทศเวเนซุเอลามีผู้ที่อยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจนถึง 55.6% ของประชากรทั้งประเทศ ในปี 1997
ซึ่งจริงๆ แล้วในจุดนั้น ถ้ารัฐบาลเลือกเดินทางที่ถูกต้อง ก็น่าจะแก้ปัญหาได้ และไม่สายเกินไป
แต่เหมือนโชคชะตาทำให้ประเทศนี้ต้องกลับไปเดินในทางที่ผิดอีกครั้ง..
ในปี 1998 ประชาชนได้เลือก อูโก ชาเบซ นักการเมือง “ขวัญใจคนจน” ขึ้นมาเป็นประธานาธิบดี
ช่วงเวลานั้นทุกอย่างเป็นใจให้เวเนซุเอลา ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกพุ่งสูงอย่างต่อเนื่อง
จากราคา 12.3 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล ในปี 1998
เพิ่มมาที่ 105.9 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล ในปี 2013
ความได้เปรียบจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้รัฐบาลใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยอีกครั้ง ทั้งสวัสดิการต่างๆ และการนำเข้าสินค้า
โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่บิดเบี้ยวอยู่แล้ว
ถูกซ้ำเติมด้วยการกำหนดราคาสินค้าพื้นฐานในระดับต่ำ ทำให้ภาคเอกชนยิ่งอยู่ไม่ได้
การลงทุนภาคเอกชนลดลงไปมากกว่าเดิม จนอยู่ต่ำกว่า 10% ของ GDP ในช่วงทศวรรษ 2000
จำนวนบริษัทเอกชนที่ประกอบธุรกิจกว่า 13,000 แห่ง ในปี 1999
เหลือเพียง 4,000 แห่ง ในปี 2016
บัดนี้ เวเนซุเอลาต้องนำเข้าแม้แต่สินค้าพื้นฐาน อย่างอาหารและยา
นอกจากนั้น รัฐบาลยังได้ทำการยึดเปโตรเลออส เดอ เวเนซุเอลา บริษัทผู้ผลิตน้ำมันที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ มาเป็นของรัฐบาล
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลขาดการลงทุนในระบบการผลิตและสำรวจ ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันลดลงอย่างต่อเนื่อง
และแล้ว ประธานาธิบดีชาเบซก็จากไปในปี 2013
โดยมีผู้สืบทอดตำแหน่ง คือ ประธานาธิบดีนิโคลัส มาดูโร
มรดกของประเทศที่บิดเบี้ยวถูกทิ้งไว้ให้ มาดูโร พร้อมกับฝันร้ายครั้งใหญ่สุดของประเทศนี้ที่กำลังจะเกิดขึ้น
ในปี 2016 ราคาน้ำมันลดลงอย่างหนักมาอยู่ที่ระดับ 40.7 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล
แล้วทุกอย่างก็วนมาที่ลูปเดิม และหนักกว่าเดิม..
เวเนซุเอลาเผชิญภาวะเงินเฟ้ออย่างหนัก เพราะรัฐบาลแทบไม่เหลือเงินตราต่างประเทศแล้ว
ค่าเงินโบลิวาร์จึงอ่อนค่าลงอย่างรุนแรง
ในขณะที่สินค้าแทบทุกอย่าง จำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศ
อัตราเงินเฟ้อ ปี 2017 อยู่ที่ระดับ 493.6%
อัตราเงินเฟ้อ ปี 2018 อยู่ที่ระดับ 929,789.5%
อัตราเงินเฟ้อ ปี 2019 คาดว่าอยู่ที่ระดับ 10,000,000%
ลองนึกภาพว่าถ้าเราตื่นขึ้นมา ทุกคนไม่ว่าจะเป็น หมอ ครู วิศวกร นักบิน พนักงาน ทุกๆ คนในประเทศนี้ เงินที่ฝากอยู่ในบัญชีธนาคารไม่มีค่า ทุกอย่างกลายเป็นศูนย์ เอาเงินไปซื้ออะไรก็ไม่ได้
สิ่งที่ตามมาก็คือ ประชาชนกว่า 4.5 ล้านคนต้องอพยพออกนอกประเทศ
และประชาชนที่อยู่ในประเทศก็แทบไม่เหลืออะไร
ไม่เหลือแม้แต่ความหวัง..
เรื่องราวทั้งหมดคือบทเรียนของประเทศ ซึ่งครั้งหนึ่งเคย “รวย” กว่าไทย ถึง 11 เท่า
แต่ในวันนี้กลับกลายเป็นประเทศล้มละลาย
ซึ่งเราคนไทยสามารถเรียนรู้เพื่อไม่ให้ประเทศเดินทางไปสู่จุดนั้น
นอกจากเวเนซุเอลาแล้ว
ยังมีอีก 1 ประเทศในทวีปแอฟริกา ที่ประสบปัญหาเงินเฟ้อรุนแรงเช่นเดียวกัน
ทั้งที่ประเทศนี้ก็อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่ามากมาย
ประเทศที่ชื่อว่า “สาธารณรัฐซิมบับเว”..
ติดตาม ซีรีส์ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอนต่อไปได้ในสัปดาห์หน้า
โหลดแอป Blockdit เพื่ออ่านซีรีส์ตอนก่อนหน้านี้ ได้ที่ Blockdit.com/download
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
ที่มีแต่ความรู้มากมาย
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
References
-Inflation and hyperinflation in Venezuela (1970s-2016), Marta Kulesza
-เล่าเรื่องเมืองน้ำมัน, ดร.ไสว บุญมา
-https://en.wikipedia.org/…/List_of_countries_by_past_and_pr…
-https://fred.stlouisfed.org/series/FXRATEVEA618NUPN
-https://www.statista.com/…/change-in-opec-crude-oil-prices…/
-https://data.worldbank.org/indicator/NE.GDI.FPRV.ZS…
-https://data.worldbank.org/indicator/SI.POV.NAHC…
-https://www.statista.com/…/371…/inflation-rate-in-venezuela/
venezuela hyperinflation 在 通勤學英語 Facebook 的精選貼文
#15mins世界頭條
分享15mins.today 每日世界頭條
挑戰原文: http://money.cnn.com/2017/01/09/news/economy/venezuela-minimum-wage-increase-hyperinflation/index.html?iid=hp-toplead-intl
Share your daily dose of headline news at www.15mins.today
venezuela hyperinflation 在 Kim Property Live Youtube 的最讚貼文
ชอบมาก อยากเลี้ยงกาแฟผม : https://ko-fi.com/kimpropertylive
แจกคอร์สเรียนฟรี : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
บทความอสังหา : http://www.properth.com/
สนใจสัมมนา : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
จากราชา สู่ยาจก ด้วยฝีมือรัฐบาล.. | บทเรียน วิกฤตเวเนซุเอลา
ดูเเล้วชอบ อยากดูต่อ ติดตามด้วยเน้อ
ตรงนี้ https://goo.gl/segwTS
รับความรู้ฟรี
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
มีคำถาม / สอบถาม
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
★☆★ เรียนรู้เพิ่มเติม ★☆★
บทความอสังหา : http://www.properth.com/
รับความรู้ผ่าน LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
สำหรับติดต่อ : kim.chatchawan[at]gmail.com
★☆★ SOCIAL MEDIA ★☆★
Facebook : https://www.facebook.com/kim.properth/
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
Blog : http://www.properth.com/
Instagram : https://www.instagram.com/kimpropertylive
★☆★ สนใจสัมมนา ★☆★
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
คอร์สทั้งหมด : https://goo.gl/gQyd4i
รายละเอียดสัมมนา : http://www.properth.com/property-investment
#วิกฤตเศรษฐกิจ
References
https://www.longtunman.com/13752
https://www.bbc.com/thai/international-47927397
https://www.bbc.com/thai/features-45879926
http://www.investerest.co/economy/venezuela-crisis/
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=57668&filename=index
https://themomentum.co/hyperinflation-venezuela/
https://tradingeconomics.com/venezuela/gdp
https://economictimes.indiatimes.com/news/international/business/imf-sees-venezuela-inflation-at-10-million-per-cent-in-2019/articleshow/66139421.cms
https://www.longtunman.com/21974
https://www.bloomberg.com/news/articles/2020-01-04/venezuela-s-international-reserves-reach-a-thirty-year-low
https://www.bbc.com/thai/international-46994549