HODL精神的考驗:519黑色星期三虛擬貨幣大暴跌
📌https://earning.tw/news-0520/
相信昨晚大家都不好過,比特幣、以太幣和大多數的虛擬貨幣皆從高點跌落5成,而目前市場仍處於動盪之中,尚未有明確的方向。
.
對於此次暴跌主因眾說紛紜,可能是中國互聯網金融協會等三大機構禁止金融及支付機構處理虛擬貨幣業務、內蒙古發改委表示將持續對虛擬貨幣挖礦進行高壓監管抑或是Defi平台Venus的大額壞帳,都可能是此次暴跌的原因,但最大的主因可能是,投資者信心不足引發的恐慌性拋售,近期自美股領跌與馬斯克停止比特幣購車服務後開始,每日便皆會出現一到兩則利空消息,一點一滴地蠶食著投資者們HODL的精神,最終導致了519的大暴跌。
.
CZ、馬斯克、Michael Saylor也分別表達了對目前市場走勢的看法。
.
📢TG文章、好康訂閱群 https://t.me/lazyeconomics
❤️TG討論群 https://t.me/joinchat/iY_9imPnwYQ1MmM1
❤️Line討論群 http://bit.ly/bitcoin-station
.
【幣安Binance】終身折抵20%手續費:https://www.binance.com/tw/register?ref=BJP6U95K
【派網Pionex】每月抽獎:https://www.pionex.com/zh-TW/sign?r=8b7f5F4A
【FTX】終身折抵5%手續費:https://ftx.com/#a=lazyeco
【MAX-只有現貨,台幣出入金推薦】最高折抵60%手續費:https://max.maicoin.com/signup?r=LAZYECOA
venus defi 在 動區動趨 BlockTempo - 由社群而生的區塊鏈媒體 - Media for Blockchain Facebook 的最佳解答
#BNB #幣安 #DeFi #創新高
【BNB創 645 美元新高!幣安智能鏈 DeFi 發功,PancakeSwap、Venus領漲皆破歷史前高】
🚀幣安平台幣 BNB 又刷新歷史高點,來到 645.57 美元,全網 TVL 已來到 465.1 億美元。
這都要歸功於 BSC 的 DeFi 項目持續活躍,由 Venus、PancakeSwap 兩大巨頭領漲,其中 Venus(XVS)在近一週內飆升逾 148%,也創下新高 146 美元。
-
#同場加映
① 幣安將推出自家「NFT交易平台」支援BSC、以太坊;宣布不再支援 OMNI 網路的USDT
https://pse.is/3euhnc
② 以太幣首破3,000美元!市值超車美國銀行、迪士尼,價格較去年同期漲達1,350%
https://pse.is/3dykpl
-
✅ 即時新聞鎖定 #動區Telegram
https://t.me/blocktemponews
✅ 每日新聞精選訂閱 #LINE:
https://line.me/R/ti/p/%40kgx9780p
✅ 右轉動區 #千人投資討論群:
https://line.me/ti/g2/htySqS7SoKOuGGFx4Gn9dg
venus defi 在 คุยการเงินกับที Facebook 的最佳解答
Chain ต่างๆบนโลก Defi มีอะไรบ้าง ?
ในการใช้งานของระบบ Defi นั้นค่อนข้าวมีรายละเอียดมากสำหรับเพื่อนๆที่เข้ามาศึกษาใหม่ๆ เรื่อง Chain ของ Defi ก็เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่สำคัญเช่นกันดังนั้นสิ่งที่เพื่อนๆควรต้องรู้ มีดังต่อไปนี้
- Defi เป็นการนำ Application ทาง Financial Service มา Run บน Blockchain ซึ่ง Blockchain ที่รองรับการ Run ของ Application นั้นๆก็มีหลาย Blockchain ซึ่งเพื่อนๆจำเป็นต้องรู้ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดเกิดขึ้น
- Blockchain แต่ละ Blockchain มี Consensus เป็นของตัวเองโดย Consensus คือกติกาในการนำข้อมูลของทรัพย์สินของเราไปบันทึกในบัญชีสาธารณะที่ทุกคนเห็น โดยบัญชีสาธารณะนี้สามารถดูได้ผ่านทาง Blockchain Explorer
- Blockchain 1 ระบบจะมี Network ในการโอนเหรียญของตัวเอง โดยหากโอนผิด Network เหรียญนั้นก็จะส่งไปไม่ถึงปลายทางนั่นเอง และใน 1 network จะกำนหดให้มีการจ่ายค่าธรรมเนียมในการทำธุรกรรม โดยค่าธรรมเนียมระบบนี้ จะต้องจ่ายเป็นเหรียญของระบบ เรียกว่า Utillity Token
รายละเอียดของ Chain ต่างๆมีดังนี้
1. Ethereum Chain ( ETH Chain ) เป็น chain ที่มี Total Value lock สูงที่สุดในปัจจุบัน (20/4/2021 ) เป็น Chain แรก ในยุคบุกเบิกในการพัฒนาให้มีการนำ Application มา Run บน Blockchain ในปัจจุบันเรียกว่า Smart Contract เนื่องจาก Ethereum มีการ Conesensus แบบ Proof of work บวกกับมีการกระจายตัวของ Node ที่มากระดับหนึ่ง ทำให้การพยายามแก้ไข Smart contract เป็นไปได้ยากมาก ดังนั้น Ethereum Chain จึงเป็น Chain หนึ่งที่มีความเป็น Decentralized ในตัวเองสูงมาก บวกกับ ความเป็นผู้บุกเบิก ทำให้มูลค่า Total Value locked ของ Ethereum Chain ยังคงนำหน้า Chain อื่นๆมาตลอดจนถึงปัจจุบัน
Network ที่ใช้ในการโอนเหรียญ : ERC-20
เหรียญที่ใช้ในการจ่ายค่าธรรมเนียมระบบ : ETH
มี Consensus แบบ POW ( Proof of work ) ในอนาคตมีแผนที่จะเปลี่ยนเป็น POS ( Proof of stake )
ตัวอย่าง Defi บน ETH chain : UniSwap ShushiSwap Compound Curve 1inch Alpha Kulap
Blockchain Explorer : https://etherscan.io/
2. Binance Smart Chain ( BSC Chain ) เป็น chain ที่สร้างโดย Binance ที่เป็น Centralized Exchange ที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน เกิดขึ้นจากความคิดที่จะแก้ปัญหาค่าธรรมเนียมในระบบของ Ethereum Chain ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากจากปัญหาการ Scaling ปริมาณ Miner ที่เติบโตไม่ทัน ปริมาณ Transaction ที่หนาแน่นขึ้นเรื่อยๆ Binance จึงมีแนวคิดในการ เปลี่ยน Consensus เป็น POA เพื่อแก้ปัญหานี้ขึ้นและเกิดเป็น BSC Chain
Network ที่ใช้ในการโอนเหรียญ : BEP-20
เหรียญที่ใช้ในการจ่ายค่าธรรมเนียมระบบ : BNB
มี Consensus แบบ POA ( Proof of Authority )
ตัวอย่าง Defi บน BSC chain : PancakeSwap Venus Autofarm Alpha Alpaca Warden
Blockchain Explorer : https://www.bscscan.com/
3. Huobi ECO Chain ( HECO Chain ) เป็น chain ที่สร้างโดย Huobi ที่เป็น Centralized Exchange อันดับสอง ในโลกปัจจุบัน โดย Huobi มีความคิดที่จะแก้ปัญหาค่าธรรมเนียมในระบบที่สูง โดยที่ยังคงความเป็น Decentralized อยู่บ้าง Huobi จึงเลือกที่จะใช้ Consensus แบบ HPOS ซึ่งเป็นการแบ่ง Transaction ครึ่งหนึ่งไปยืนยันแบบ POW และอีกครึ่งหนึ่งยืนยันแบบ POS จนเกิดเป็น HECO ให้เราได้ใช้กัน
Network ที่ใช้ในการโอนเหรียญ : HECO
เหรียญที่ใช้ในการจ่ายค่าธรรมเนียมระบบ : HT
มี Consensus แบบ HPOS ( Hybridge Proof of stake )
ตัวอย่าง Defi บน HECO chain : Mdex
Blockchain Explorer : https://hecoinfo.com/
4. Terra Chain เป็น chain ที่สร้างโดยกลุ่มคนชาวเกาหลี และ run บน Multi blockchain ของ COSMOS
โดย Terra มีแนวคิดในการใช้ Consensus แบบ DPOS หรือก็คือเลือกผู้ที่ทำการยืนยัน Transaction ของระบบขึ้นมายืนยัน โดยจะใช้การโหวตโดยวิธี POS หรือก็คือใช้ LUNA Token ของระบบไป Stake กับผู้ที่เราเลือกที่จะให้ยืนยันนั้นๆ วิธีนี้ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยให้ค่าธรรมเนียมของระบบ Terra chain ยังคงไม่สูงมากจนถึงปัจจุบัน
Network ที่ใช้ในการโอนเหรียญ : Terra
เหรียญที่ใช้ในการจ่ายค่าธรรมเนียมระบบ : UST
มี Consensus แบบ DPOS ( Delegated Proof of stake )
ตัวอย่าง Defi บน Terra chain : Mirror Anchor
Blockchain Explorer : https://finder.terra.money/
โดยบาง Defi โปรเจคเดียวกันอาจสร้างอยู่มากกว่า 1 chain ก็ได้เช่น Alpha Fulcrum Mdex Cream เป็นต้น สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับ Consensus รูปแบบต่างๆผมจะนำมาเขียนในบทความต่อๆไป รอติดตามกันได้เลยครับ
แอดตอง