ไบเดนประกาศสนับสนุนการละเว้นสิทธิบัตรของวัคซีน Covid-19 เพื่อช่วยชาติยากจน
ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ประกาศสนับสนุนการละเว้นสิทธิบัตรของวัคซีน Covid-19 เพื่อเปิดโอกาสให้ประเทศต่างๆ สามารถนำวัคซีนไปผลิตได้ในราคาถูก ฝ่ายที่เห็นด้วยต่างแสดงความยินดี บอกว่ามันจะทำให้มีคนเข้าถึงวัคซีนได้ง่ายมากขึ้นมาก และสามารถรักษาชีวิตผู้คนได้ทันท่วงที ส่วนฝ่ายที่ขัดแย้งบอกว่า มันเป็นการทำลายการแข่งขันของตลาด และจะทำให้เกิดวัคซีนปลอมแพร่หลาย
แคเธอรีน ไต้ ผู้แทนการค้าสหรัฐฯ กล่าวว่า รัฐบาลเคารพการป้องกันทรัพย์สินทางปัญญา แต่การตัดสินใจนี้เกิดขึ้นเพราะวิกฤตโควิดเป็นสถานการณ์พิเศษซึ่งต้องการมาตรการพิเศษ
มุสตากิม เด กามา ผู้แทนองค์การการค้าโลกกล่าวว่า “ผลกระทบจากการไม่ยอมปล่อยมือจากลิขสิทธิ์ของวัคซีนจะทำให้เกิดความระส่ำระส่ายและจะส่งผลไม่ใช่เพียงแค่การสูญเสียจำนวนผู้คนแต่รวมถึงการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ” เขายังว่าอีกว่า “การถือครองลิขสิทธิ์เป็นอุปสรรคใหญ่ที่จำกัดการเข้าถึงวัคซีนอย่างเท่าเทียมและเชื่อว่าหากลดข้อจำกัดนี้ได้ จะเป็นหนทางที่ไม่ใช่แค่ยับยั้ง Covid-19 แต่รวมถึงการรักษาเยียวยาจากการติดเชื้อ Covid-19”
อีกด้านหนึ่งทางด้านเอกชนได้ตอบรับการประกาศของไบเดนว่า “ท่ามกลางการแพร่ระบาดที่ร้ายแรง รัฐบาลไบเดนได้ทำการตัดสินใจที่เป็นประวัติการณ์ ซึ่งจะบ่อนทำลายการ (ผลิตวัคซีนเพื่อ) ตอบสนองต่อการแพร่โรคระบาด รวมถึงเป็นการสนับสนุนการแพร่กระจายของวัคซีนปลอม”
อนึ่งถ้าไม่มองว่าเกมส์นี้เป็นเกมส์สั้นๆ แต่มองยาวขึ้นว่าหลังจากนี้มนุษย์ยังคงต้องผลิตวัคซีนใหม่ๆ มาต่อสู้กับการกลายพันธุ์ของโควิด และเชื้อโรคอื่นๆ ซึ่งยังวิวัฒนาการเพิ่มความรุนแรงไปได้อีกมาก การแทรกแซงของสหรัฐก็จะไม่เป็นผลดีต่อการพัฒนาวัคซีน เว้นแต่จะมีมาตรฐานอื่นๆ มาช่วยเหลือผู้ผลิต
ซึ่งสถานการณ์เช่นนี้สามารถเทียบได้กับการแพร่ระบาดของเชื้อเอดส์ในช่วงทศวรรษที่ 1990 ที่บริษัทยาเปิดสงครามกับระบบสุขาภิบาลโลกซึ่งต้องการหาหนทางรักษาโรคเอดส์ที่เข้าถึงได้ง่าย
หลังจากไบเดนได้ออกมาพูดในครั้งนี้ ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกมาทวีตว่า “นี่คือการกระทำที่กล้าหาญในการต่อสู้กับโรคโควิด” และ “คำสัญญาจากประธานาธิบดีสหรัฐฯ ไบเดน, ตัวแทนการค้าสหรัฐฯ, และผู้แทนการค้าแคทเธอรีน ไต้ ในการสนับสนุนการละเว้นสิทธิบัตรวัคซีน เป็นตัวอย่างของภาวะผู้นำที่ทรงพลัง อันจะนำทางโลกในช่วงวิกฤติทางสุขภาพ”
::: อ้างอิง :::
อ้างอิง :
reuters com/business/healthcare-pharmaceuticals/biden-says-plans-back-wto-waiver-vaccines-2021-05-05/?fbclid=IwAR1D9AMqe3lFFTr9macbGY1_8sr_HxfrZrt8UpcM4gVa__m-PPQ7zOSgEBs
npr org/sections/coronavirus-live-updates/2021/05/05/993998745/biden-backs-waiving-international-patent-protections-for-covid-19-vaccines?fbclid=IwAR03vDcsqlhy3Wqm5RJvpLNygU59a62kf6ieaGr1iTmSh0EVJfNbgTm2_c8
twitter com/DrTedros/status/1390037666213900290?ref_src=twsrc%5Etfw%7Ctwcamp%5Etweetembed%7Ctwterm%5E1390037666213900290%7Ctwgr%5E%7Ctwcon%5Es1_&ref_url=https%3A%2F%2Fwww.reuters.com%2Fbusiness%2Fhealthcare-pharmaceuticals%2Fbiden-says-plans-back-wto-waiver-vaccines-2021-05-05%2F
wto patent 在 吳家揚的樂透人生 Facebook 的精選貼文
Dear MMOT學員您好:
恭賀新禧,祝全家健康、平安、錢進來、發大財。
今年MMOT開辦國內班(台北、台中班)及國外班(德國瑞士、韓國及中國大陸),歡迎您報名,並請協助轉發或推薦同仁/客戶/廠商/親朋好友等報名,提醒報名結束日期為2/13,謝謝。
德國瑞士課程:瑞士也是今年新增的國家,由合作單位BOEHMERT & BOEHMERT 的Dr. Goddar花了不少心血,安排了非常精彩的課程及參訪,參訪/上課參訪(暫訂):Novartis、Roche、Intel Patent Group或Hofbräu、EPO、Fraunhofer或Max-Planck-Innovation、Robert Bosch GmbH或Daimler Benz AG (Mercedes)、University of Freiburg或University of Basle、CERN或WTO Intellectual Property Office等。
韓國課程:韓國培訓是今年第一次舉辦,由韓國Lee International IP & Law Group規劃,合作單位主要連絡人是前韓國智慧財產局局長,參訪/上課參訪(暫訂):Korean Intellectual Property Office或 Korean Patent Court、LG Electronics或Viva Republica、Blue Hole或R Bio、SNU School of Law或Naver Campus、Pangyo Valley等。
中國大陸課程:與北京大學合作,除北京上課與參訪為主,屆時另搭配南京或廈門或深圳擇1-2個地點參加會議及參訪。
網站:https://www.mmot.org.tw
線上報名網址:https://www.mmot.org.tw/mmot/enroll
劉江彬 董事長
沈泰民 執行長
磐安智慧財產教育基金會
敬上
wto patent 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาคืออะไร
ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทรัพย์อีกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น นาฬิกา รถยนต์ โต๊ะ เป็นต้น และอสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น บ้าน ที่ดิน เป็นต้น
ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา
โดยทั่วๆ ไป คนไทยส่วนมากจะคุ้นเคยกับคำว่า "ลิขสิทธิ์" ซึ่งใช้เรียกทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท โดยที่ถูกต้องแล้วทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ที่เรียกว่า ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์
ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ไม่ใช่สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม แท้ที่จริงแล้ว ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมนี้ เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม ความคิดสร้างสรรค์นี้จะเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะเป็นกระบวนการ หรือเทคนิคในการผลิตที่ได้ปรับปรุงหรือคิดค้นขึ้นใหม่ หรือที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นองค์ประกอบและรูปร่างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังรวมถึงเครื่องหมายการค้าหรือยี่ห้อ ซื่อและถิ่นที่อยู่ทางการค้า ที่รวมถึงแหล่งกำเนิดสินค้าและการป้องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม จึงสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
- สิทธิบัตร (Paent)
- เครื่องหมายการค้า (Trademark)
- แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout - Designs Of Inegrated Circuit)
- ความลับทางการค้า (Trade Secrets)
- สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indicaion)
ความหมายของทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท
ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ลิขสิทธิ์ยังรวมทั้ง
สิทธิค้างเคียง (Neighbouring Right) คือ การนำเอางานด้านลิขสิทธิ์ออกแสดง เช่น นักแสดง ผู้บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ในการบันทึกหรือถ่ายทอดเสียงหรือภาพ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program หรือ Computer Software) คือ ชุดคำสั่งที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน
งานฐานข้อมูล (Data Base) คือ ข้อมูลที่ได้รับเก็บรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utility Model) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด
การประดิษฐ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกลของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
การออกแบบผลิตภัณฑ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับการทำให้รูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงาม และแตกต่างไปจากเดิม
ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) จะมีลักษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย
แบบผังภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบที่ทำขึ้น เพื่อแสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมต่อวงจรไฟฟ้า เช่น ตัวนำไฟฟ้า หรือตัวต้านทาน เป็นต้น
เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่
- เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ เป็นต้น
- เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับการบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น
- เครื่องหมายรับรอง (Certificaion mark) คือเครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำ เป็นต้น
- เครื่องหมายร่วม (Colective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมาบบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จำกัด เป็นต้น
ความลับทางการค้า หมายถึง ข้อมูลการค้าที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป และมีมูลค่าในเชิงพาณิชย์เนื่องจากข้อมูลนั้นเป็นความลับ และมีการดำเนินการตามความสมควรเพื่อรักษาข้อมูลนั้นไว้เป็นความลับ
ชื่อทางการค้า หมาถึง ชื่อที่ใช้ในการประกอบกิจการ เช่น โกดัก ฟูจิ เป็นต้น
สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หมายถึง ชื่อ สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทน แทนแหล่งภูมิศาสตร์ และสามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์นั้น เช่น มีดอรัญญิก ส้มบางมด ผ้าไหมไทย แชมเปญ คอนยัค เป็นต้น
ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ๔ ฉบับ คือ
- พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
- พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ ท แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
เครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗
- พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
- พระราชบัญญัติคุ้มครองแบบผังภูมิของวงจรรวม พ.ศ. ๒๕๔๓
นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีพันธกรณีตามการเจรจาทางาการค้าระหว่างประเทศ ที่จะต้องออกกฎหมายให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท ต่อไปในอนาคต
ความตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า
(Trade Related Intellectual Property Rights : TRIPs)
ภูมิหลัง
๑. ประเทศสมาชิกความตกลงแกตต์ (ซึ่งต่อมาเป็นสมาชิกก่อตั้ง WTO ในปี ๒๕๓๘) ได้เจรจาจัดทำความตกลง TRIPs ในช่วงการเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุกวัย (ปี ๒๕๓๗-๒๕๓๙) ซึ่งเป็นการนำกฎระเบียบเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาเข้ามาสู่ระบบการค้าหลายฝ่ายเป็นครั้งแรก จึงเกิดเป็นความตกลง TRIPs ภายใต้กรอบ WTO เพื่อกำหนดระดับของการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่ประเทศสมาชิก WTO แต่ละประเทศ จะต้องให้แก่ประเทศสมาชิกอื่น ๆ ความตกลงฯ ครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
· การใช้หลักการพื้นฐานของระบบการค้าและความตกลงทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างประเทศต่าง ๆ
· การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่เพียงพอ
· การใช้บังคับสิทธิทางทรัพย์สินทางปัญญาในแต่ละประเทศ
· การระงับข้อพิพาทด้านทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างประเทศสมาชิก WTO
· ระยะเวลาปรับตัวในช่วงการนำระบบใหม่มาใช้
๒. ขอบเขตความตกลง TRIPs
· ลิขสิทธิ์และสิทธิที่เกี่ยวข้อง
· เครื่องหมายการค้า รวมทั้งเครื่องหมายบริการ
· สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
· การออกแบบผลิตภัณฑ์
· สิทธิบัตร
· Layout-design (topographies) ของแผงวงจรรวม
· ความลับ รวมทั้งความลับทางการค้า
๓. ปัจจุบันการเจรจาภายใต้กรอบ WTO ในเรื่องสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการค้า เป็นการเจรจาในประเด็นตามมติของที่ประชุมรัฐมนตรีองค์การการค้าโลกครั้งที่ ๔ เมื่อปี ๒๕๔๔ ณ เมืองโดฮา ประเทศกาตาร์ (ปฏิญญารัฐมนตรีโดฮา) ดังนี้
๓.๑ ให้คณะมนตรีด้านสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการค้าหาทางแก้ไขปัญหาจากการออกมาตรการบังคับใช้สิทธิ (compulsory licensing) ตามที่ระบุไว้ในความตกลง TRIPs เพื่อให้ประเทศสมาชิกที่ไม่สามารถหรือมีความสามารถไม่เพียงพอในการผลิตยารักษาโรคสามารถซื้อยารักษาโรคในราคาถูกได้ ซึ่งความตกลง TRIPs ได้อนุญาตให้ประเทศสมาชิกออกมาตรการบังคับใช้สิทธิได้ตามความจำเป็น แต่จำกัดการใช้ดังกล่าวให้อยู่ภายในประเทศสมาชิกนั้นเท่านั้น ดังนั้น ในกรณีของยารักษาโรค ประเทศที่ไม่ใช่เจ้าของสิทธิบัตรยา จึงสามารถผลิตยาโดยไม่ต้องขออนุญาตจากเจ้าของสิทธิบัตร แต่ต้องผลิตเพื่อจำหน่าย/ใช้ในประเทศได้ในกรณีจำเป็นเท่านั้น
๓.๒ ให้เจรจาจัดทำระบบการแจ้งและจดทะเบียนพหุภาคีสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์สำหรับสินค้าไวน์และสุราให้เสร็จภายในการประชุมระดับรัฐมนตรีองค์การการค้าโลก ครั้งที่ 5 (5th MC) ในปี ๒๕๔๖ ทั้งนี้ความตกลง TRIPs มีข้อกำหนดให้คณะมนตรีฯเจรจาเรื่องนี้ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกต่อการคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์สำหรับสินค้าไวน์
๓.๓ คณะมนตรีฯพิจารณาการขยายความคุ้มครองระดับพิเศษสำหรับสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ให้ครอบคลุมสินค้านอกเหนือจากไวน์และสุรา โดยให้รายงานผลภายในสิ้นปี ๒๕๔๕
wto patent 在 WTO agrees to lift COVID vaccine patents for 5 years - YouTube 的推薦與評價
The WTO has finally agreed to lift all COVID vaccine patents for a period of 5 years. However, experts say the deal has come too late. ... <看更多>