อักษรย่อ ชื่อย่อ ตำแหน่ง หน่วยงานต่างๆ ดังนี้
ร.พ. คือ โรงพยาบาล
ขรก คือ ข้าราชการ
กญ. คือ กองการศึกษาผู้ใหญ่
ปชส. คือ ประชาสัมพันธ์
ภ.ง.ด. คือ ภาษีเงินได้
โทร. คือ โทรศัพท์
ร. คือ รัชกาล
ป.ล. = ปัจฉิมลิขิต
กม. = กฎหมาย
พ.ร.บ. = พระราชบัญญัติ
พ.ร.ฎ. = พระราชกฤษฎีกา
พรก. = พระราชกำหนด
รธน. = รัฐธรรมนูญ
นร. = นักเรียน
นศ = นักศึกษา
จนท. = เจ้าหน้าที่
มร. = มิสเตอร์ (นาย)
สต. = สตางค์
บ. = บาท
ห.ส.น. = ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
ไปรษณีย์
ปท. = ไปรษณีย์โทรเลข
รัฐฯ = รัฐบาล
ตู้ ปณ. = ตู้ไปรษณีย์
การแพทย์
น.พ. = นายแพทย์
พ.ญ. = แพทย์หญิง
ท.พ. = ทันตแพทย์
ท.ญ. = ทันตแพทย์หญิง
ตำแหน่ง-อาจารย์
อ. = อาจารย์
รศ. = รองศาสตราจารย์
ผศ. = ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ศจ. = ศาสตราจารย์
ดร. = ด็อกเตอร์
ผอ. = ผู้อำนวยการ
การศึกษา
สปอ. = สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอ
สปช. = สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
วค. = วิทยาลัยครู
สปจ. = สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด
สปอ. = สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอ
วปอ. = วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สช. = สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
ศธ. = กระทรวงศึกษาธิการ
สปจ. = สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด
สช. = สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
สปช. = สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
การเมือง
ครม. = คณะรัฐมนตรี
รมว. = รัฐมนตรีว่าการ
ส.ส. = สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สจ. = สมาชิกสภาจังหวัด
รมต. = รัฐมนตรี
คคบ. = คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
รมช. = รัฐมนตรีช่วยว่าการ
กอรมน. = กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน
มท. = กระทรวงมหาดไทย
บริษัท หน่วยงาน สถานบันต่างๆ
ธกส. = ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ส.ท. = สมาชิกสภาเทศบาลตำบล
ส.ภ.อ. = สมาชิกสภาอำเภอ
นิด้า = สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บีโอไอ = คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
บ.ด.ท. = บริษัทเดินอากาศไทย จำกัด
กปน. = การประปานครหลวง
ททท. = การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ปตท. = การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย
กฟผ. = การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
กฟภ. = การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
กกร. = คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน
กนอ = การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ห.จ.ก. = ห้างหุ้นส่วนจำกัด
กบว = คณะกรรมการบริหารวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย
กกท. = คณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย
กสท. = การสื่อสารแห่งประเทศไทย
ธอส. = ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ทหาร ตำรวจ ยศต่างๆ
ตร. = ตำรวจ
ก.ตร. = กรมตำรวจ
สน. = สถานีตำรวจนครบาล
สน.ภ. = สถานีตำรวจภูธร
ต.ช.ด. = ตำรวจตระเวนชายแดน
สวญ. = สารวัตรใหญ่
สวส. = สารวัตรสืบสวน
ท.ส. = นายทหารคนสนิท
บช.น. = กองบัญชาการตำรวจนครบาล
ผบ.สูงสุด = ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
บช.ภ. = กองบัญชาการตำรวจภูธร
ผบ.ทบ. = ผู้บัญชาการทหารบก
ร.ด. = รักษาดินแดง
ผบ.ทบ. = ผู้บัญชาการทหารบก
ปปป. = คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ผบ.ทร. = ผู้บัญชาการทหารเรือ
ปปส. = คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ผบ.ทอ. = ผู้บัญชาการทหารอากาศ
สวป. = สารวัตรปราบปราม
ผบก.ป. = ผู้บังคับการกองปราบปราม
อส. = อาสาสมัคร
อ.ตร. = อธิบดีกรมตำรวจ
อื่นๆ…
จีบา = สถาบันบริหารธุรกิจ-จุฬา
สปอ. = องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างเอเชียอาคเนย์
อตก. = องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
ร.พ.ช. = สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท
ร.ส.พ. = องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
อ.ส.ม.ท. = องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย
อ.ส.ท. = องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สปอ. = องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างเอเชียอาคเนย์
อสร. = องค์การผลิตอาหารสำเร็จรูป
อย. = คณะกรรมการอาหารและยา
อสค. = องค์การส่งเสริมการเลี้ยงโคนมแห่งประเทศไทย
สมช. = สภาความมั่นคงแห่งชาติ
สวช. = สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ผกค. = ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
ที่มา https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/99578.html
「คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค」的推薦目錄:
- 關於คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
- 關於คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的精選貼文
- 關於คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค | Bangkok - Facebook 的評價
- 關於คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 Story 6 อำนาจหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 1 的評價
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的精選貼文
เม็ดไข่มุกชานม ไม่ได้ทำให้เป็นนิ่วในถุงน้ำดีนะครับ ... ที่เห็นแชร์ภาพกันของคุณหมอท่านนึง นั่นท่านแค่บอกว่า นิ่วมันดูคล้ายเม็ดไข่มุก (ไม่ใช่กินไข่มุก แล้วมันจะไม่ย่อย แล้วเข้าไปอยู่ในถุงน้ำดี)
รวมๆ คือ เม็ดไข่มุกชานม กินได้ ไม่ได้จะอันตราย แต่ต้องระวังอย่าชานมไข่มุกมากเกินไป เพราะแคลอรี่สูงมาก และเด็กเล็กก็ไม่ควรให้กินด้วย เพราะอาจจะสำลักเอาเม็ดไข่มุกเข้าไปติดหลอดลมเอาได้ครับ
---------------
(เอาบทความเก่าที่เคยเขียนไว้มาให้อ่านกันอีกที)
เม็ดไข่มุกที่เราคุ้นเคยกันนั้นทำมาจากแป้งมันสำปะหลัง ซึ่งสามารถย่อยได้ตั้งแต่ในปากของเราแล้ว
การกินไข่มุกที่ใส่ในชานมยี่ห้อต่างๆ นั้น ไม่ต้องกลัวเรื่องการจะไปก่อตัวเป็นนิ่ว เพียงแต่ว่าบางครั้งการผลิตอาจทำให้เม็ดไข่มุกมีความเหนียวหนึบเกินไป อาจทำให้ย่อยยาก และเสี่ยงต่อการลงมาอุดหลอดลม โดยเฉพาะเด็กๆ นั่นเอง
นอกจากนี้ เคยมีรายงานจากประเทศเยอรมันที่บอกว่า เม็ดไข่มุกนี้อาจจะก่อมะเร็ง และกลายเป็นข่าวใหญ่ไปทั่วโลก ทำนองว่าเป็นเรื่องที่ฟันธงแล้ว ทำให้มีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดย นักวิจัยของมหาวิทยาลัย University Hospital Aachen โดยเอาเม็ดไข่มุกไม่ระบุยี่ห้อจากตัวแทนจำหน่ายชาวไต้หวัน และพบว่ามีสารเคมี เช่น สไตรีน (styrene) และ อะซิโตฟีโนน (acetophenone) และสารอื่นๆที่จับอยู่กับธาตุโบรมีน ทางนักวิจัยเลยบอกว่ามันน่าจะเป็นสารประกอบกลุ่ม โพลีคลอรีนเนตเต็ตไบฟีนีล (พีซีบี PCBs polychlorinated biphenyls)
ซึ่งสารพีซีบีนี้ เป็นที่ทราบกันมานานแล้วว่า สามารถทำให้เกิดมะเร็งในสัตว์ทดลองได้ และสารพีซีบีนั้นสัมพันธ์กับมะเร็งตับและมะเร็งผิวหนังของคนงานที่สัมผัสกับสารเหล่านี้ และเมื่อเป็นข่าวขึ้นมา คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ของทางรัฐบาลประเทศไต้หวัน ก็ได้ทำการพิสูจน์หาข้อเท็จจริง ได้เก็บตัวอย่างเม็ดไข่มุก 22 ตัวอย่างจาก 7 ผู้ผลิต ซึ่งผลที่ได้นั้น ไม่พบว่ามีสารสไตรีน ขณะที่พบสารกลุ่มโบรมีนเนตเต็ทไบฟีนิลและอะซิโตฟีโนน แต่มีปริมาณน้อยมาก จนไม่ต้องกังวลต่อสุขภาพ
ด้านองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกานั้น (U.S. FDA) ก็ออกมาระบุเพิ่มเติมว่า สารหอมระเหย กลุ่มอะซิโตฟีโนนและสารสไตรีนนั้น ไม่นับว่าเป็นสารกลุ่มพีซีบี เพราะมันไม่ได้มีส่วนประกอบเป็นคลอรีนหรือไบฟีนิล ความจริงแล้ว ทั้งสารกลุ่มอะซิโตฟีโนนและสไตรีนนั้น ได้รับอนุญาตอย่างถูกกฎหมายให้เติมลงไปในอาหารได้ด้วยซ้ำ เพื่อแต่งกลิ่นให้กับอาหาร
รายงานของทางเยอรมันไม่ได้ระบุเลยว่า สารที่มีโบรมีนอยู่ (ที่พบในไข่มุก) นั้นเป็นสารอะไรกันแน่ และพบปริมาณเท่าไหร่ ซึ่งเป็นเรื่องซีเรียสมากเพราะการที่บอกว่ามันอันตรายหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับว่าปริมาณสารเคมีที่พบนั้นมีมากพอที่จะเป็นพิษหรือไม่
เอาเข้าจริงๆ แล้ว รายงานจากทางเยอรมันเอง ก็ยังไม่ได้ถูกตีพิมพ์ในวารสารวิจัยที่เป็นที่ยอมรับ ไม่ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญในวงการว่ามีความถูกต้องแม่นยำเพียงพอ
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
"ไข่มุก (ในชานม) ไม่ได้ก่อมะเร็งครับ"
เรื่องไข่มุกชานมก่อมะเร็ง กลับมาแชร์กันใหม่อีกแล้ว จริงๆ เรื่องนี้มันตั้งแต่ปี 2555 และก็เคยชี้แจงไปแล้วว่า ไม่ได้มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นเช่นนั้นจริง อย่าตกใจกันครับ ... คราวนี้ เลยเอาข้อมูลจากวารสาร Wellness ของมหาวิทยาลัย University of California Berkeley (http://www.berkeleywellness.com/…/ar…/tapioca-pearl-problems) เมื่อ July 26, 2013 มาสรุปให้ฟังกันนะครับ ดูเนื้อหาด้านล่างนะ
คนไทยเราน่าจะคุ้นเคยกับเม็ด "ไข่มุก" ขนมเม็ดกลมๆ สีดำๆ เคี้ยวเด้งๆ ที่อยู่ในชานมเย็น สไตล์ไต้หวัน ที่เข้ามาในบ้านเราได้หลายปีแล้ว เม็ดไข่มุกนี้หลักๆ จะทำจากแป้งมันสำปะหลัง
ปัญหาคือ เมื่อปี 2012 (พ.ศ. 2555) มีรายงานจากประเทศเยอรมันที่บอกว่า เม็ดไข่มุกนี้อาจจะก่อมะเร็ง และกลายเป็นข่าวใหญ่ไปทั่วโลก ทำนองว่าเป็นเรื่องที่ฟันธงแล้ว ?
การศึกษาที่ว่านั้นทำโดยนักวิจัยของมหาวิทยาลัย University Hospital Aachen โดยเอาเม็ดไข่มุกไม่ระบุยี่ห้อจากตัวแทนจำหน่ายชาวไต้หวัน และพบว่ามีสารเคมี เช่น สไตรีน (styrene) และ อะซิโตฟีโนน (acetophenone) และสารอื่นๆที่จับอยู่กับธาตุโบรมีน ทางนักวิจัยเลยบอกว่ามันน่าจะเป็นสารประกอบกลุ่ม โพลีคลอรีนเนตเต็ตไบฟีนีล (พีซีบี PCBs polychlorinated biphenyls) ... ซึ่งสารพีซีบีนี้ เป็นที่ทราบกันมานานแล้วว่า สามารถทำให้เกิดมะเร็งในสัตว์ทดลองได้ และสารพีซีบีนั้นสัมพันธ์กับมะเร็งตับและมะเร็งผิวหนังของคนงานที่สัมผัสกับสาร
พอเป็นข่าวเช่นนั้น คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ของทางรัฐบาลประเทศไต้หวัน ก็ได้ทำการพิสูจน์หาข้อเท็จจริง ได้เก็บตัวอย่างเม็ดไข่มุก 22 ตัวอย่างจาก 7 ผู้ผลิต ซึ่งผลที่ได้นั้น ไม่พบว่ามีสารสไตรีน ขณะที่พบสารกลุ่มโบรมีนเนตเต็ทไบฟีนิลและอะซิโตฟีโนน แต่มีปริมาณน้อยมาก จนไม่ต้องกังวลต่อสุขภาพ
ส่วนองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกานั้น (U.S. FDA) ก็ได้ให้ความเห็นในเรื่องนี้ว่า สารหอมระเหย กลุ่มอะซิโตฟีโนนและสารสไตรีนนั้น ไม่นับว่าเป็นสารกลุ่มพีซีบี เพราะมันไม่ได้มีส่วนประกอบเป็นคลอรีนหรือไบฟีนิล
ความจริงแล้ว ทั้งสารกลุ่มอะซิโตฟีโนนและสไตรีนนั้น ได้รับอนุญาตอย่างถูกกฎหมายให้เติมลงไปในอาหารได้ด้วยซ้ำ เพื่อแต่งกลิ่นให้กับอาหาร
สรุปประเด็นตรงนี้ก็คือ ทั้งกลุ่มนักวิจัยเยอรมันและรวมถึงสื่อมวลชนด้วย ได้เข้าใจผิดว่าสารที่พบในเม็ดไข่มุกนั้นเป็นสารประกอบที่เป็นอันตราย ซึ่งไม่ได้เป็นเช่นนั้น
รายงานของทางเยอรมันไม่ได้ระบุเลยว่า สารที่มีโบรมีนอยู่ (ที่พบในไข่มุก) นั้นเป็นสารอะไรกันแน่ และพบปริมาณเท่าไหร่ ซึ่งเป็นเรื่องซีเรียสมากเพราะการที่บอกว่ามันอันตรายหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับว่าปริมาณสารเคมีที่พบนั้นมีมากพอที่จะเป็นพิษหรือไม่
เอาเข้าจริงๆ แล้ว รายงานจากทางเยอรมันเอง ก็ยังไม่ได้ถูกตีพิมพ์ในวารสารวิจัยที่เป็นที่ยอมรับ ไม่ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญในวงการว่ามีความถูกต้องแม่นยำเพียงพอ
คำสรุปสำหรับเรื่องนี้ก็คือ อย่าไปตื่นกลัวกันว่าเม็ดไข่มุกชานมจะก่อมะเร็งครับ ยังสามารถบริโภคได้เหมือนเดิม เพียงแต่ก็ต้องระวังเรื่องกินเครื่องดื่มหวานพวกนี้แล้วจะได้แคลอรี่สูงเกิน แถมเด็กเล็กก็ไม่ควรให้กินด้วย เพราะถ้าสำลัก เม็ดไข่มุกอาจพลาดเข้าไปติดหลอดลมได้ครับ
ข้อมูลจาก http://www.berkeleywellness.com/…/ar…/tapioca-pearl-problems
--------------------------
สนใจหนังสือ "อ๋อ! มันเป็นอย่างนี้นี่เอง" ติดต่อสั่งซื้อได้ที่เว็บไซต์ สนพ. มติชน http://www.matichonbook.com/…/matichonb…/newbooks/-2997.html
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 Story 6 อำนาจหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 1 的推薦與評價
Story 6 อำนาจหน้าที่ของสำนักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 1. 2.3K views 1 year ago. VDO Consumer Protection. VDO Consumer Protection. ... <看更多>
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 在 สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค | Bangkok - Facebook 的推薦與評價
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. ถูกใจ 77890 คน · 245 คนกำลังพูดถึงสิ่งนี้ · 5872 คนเคยมาที่นี่.... ... <看更多>