16 มกราคม เมืองไทยถือเป็น "วันครู"
สำหรับที่ประเทศจีน วันครูตรงกับ 10 กันยายน ของทุกปี
10 กันยายน วันครู ณ เมืองจีน
วันครู ในภาษาจีน เรียกว่า 教师节 (เจี้ยวซือเจี๋ย) โดยยึดเอาวันที่ 10 กันยายน ของทุกปี เป็นวันครูของประเทศจีน ซึ่งเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1985 ในการประชุมของคณะกรรมการสภาผู้แทนประชาชนแห่งชาติจีน ได้อนุมัติกำหนดให้วันที่ 10 กันยายน เป็นวันครูของจีน และสืบต่อเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน
.
โดยก่อนหน้านั้น วันครูของจีน เริ่มต้นในปี 1931 ในวันที่ 6 มิถุนายน โดยต่อมา ปี1939 พรรคก๊กมินตั๋ง ได้ตั้งวันเกิดของขงจื่อ วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันครูแบบชั่วคราว , ปี1951 กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงแรงงานของจีน ได้ร่วมกันกำหนดวันที่ 1 พฤษภาคม ที่นอกจากจะเป็นวันแรงงาน ให้เป็นวันครูอีก1 วัน แต่ผลสุดท้ายก็มีการเปลี่ยนแปลง ให้วันครูของจีน ตรงกับวันที่ 10 กันยายน ดังที่กล่าวมาข้างต้น
.
สำหรับไต้หวัน ในปี 1952 เปลี่ยนวันเกิดขงจื่อ เป็นวันที่ 28 กันยายน ตามการคำนวณวันใหม่ และก็ได้กำหนดวันนี้เป็นวันครูของที่ไต้หวัน
.
ทั้งนี้ คนไทยหลายคนจะคุ้นกับคำว่า 老师 (เหล่าซือ) ในความหมายว่า ครู มากกว่าคำว่า 教师 แต่ตามหลักแล้ว จีนจะเรียกวันครูว่า教师节 แต่ถ้าใครจะเรียกว่า 老师节 ก็เข้าใจได้ครับ ในรูปนี้ อ้ายจงเลยเขียนภาษาไทย เป็นเหล่าซือเดย์ เพื่อเข้ากับไทยไทย แต่ถ้าอ่านคำภาษาจีนจริงๆของ 教师节 อ่านว่า เจี้ยวซือเจี๋ย ครับ
#อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #วันครู
มกราคม อ่านว่า 在 Nutty NihonGo Facebook 的精選貼文
คันจิ - ภาษาญี่ปุ่น อันนี้ออกสอบแน่นอน!!
『月』อ่านว่า つき / がつ / げつ
ตอนไหน ยังไงบ้าง??
ถ้าตัวเดี่ยวๆที่จะใช้ความหมายว่า
"พระจันทร์,ดวงจันทร์"
『月』จะอ่านว่า つき : tsuki
ถ้ามีตัวเลขของ"เดือน"ตามมา
เช่น 1月 หรือ 一月
いちがつ = เดือน1 = มกราคม
『月』จะอ่านว่า がつ : gatsu
ถ้าเป็นคำที่บอกช่วงเวลา
"เดือนนี้ เดือนหน้า เดือนที่แล้ว"
『月』จะอ่านว่า げつ : getsu
今月 : こんげつ : kongetsu
来月 : らいげつ : raigetsu
先月 : せんげつ : sengetsu
ฝึกจำและใช้บ่อยๆ
เพื่อความคุ้นเคย ใช้ได้แบบไม่ต้องคิด!!
มาเรียนภาษาญี่ปุ่นด้วยกัน!!
ทดลองเรียนฟรี / สมัครเรียน
คอร์ส"มินนะ โนะ นิฮงโกะ"กับนัตตี้เซนเซ!!
ได้ที่ www.OpenDurian.com/jap1_krunutty
#NuttySensei #นัตตี้เซนเซ
#ภาษาญี่ปุ่น #เรียนภาษาญี่ปุ่น
#ภาษาญี่ปุ่นกับนัตตี้ #NuttyNihongo
มกราคม อ่านว่า 在 อ้ายจง Facebook 的最佳貼文
10 กันยายน วันครู ณ เมืองจีน
วันครู ในภาษาจีน เรียกว่า 教师节 (เจี้ยวซือเจี๋ย) โดยยึดเอาวันที่ 10 กันยายน ของทุกปี เป็นวันครูของประเทศจีน ซึ่งเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1985 ในการประชุมของคณะกรรมการสภาผู้แทนประชาชนแห่งชาติจีน ได้อนุมัติกำหนดให้วันที่ 10 กันยายน เป็นวันครูของจีน และสืบต่อเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน
.
โดยก่อนหน้านั้น วันครูของจีน เริ่มต้นในปี 1931 ในวันที่ 6 มิถุนายน โดยต่อมา ปี1939 พรรคก๊กมินตั๋ง ได้ตั้งวันเกิดของขงจื่อ วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันครูแบบชั่วคราว , ปี1951 กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงแรงงานของจีน ได้ร่วมกันกำหนดวันที่ 1 พฤษภาคม ที่นอกจากจะเป็นวันแรงงาน ให้เป็นวันครูอีก1 วัน แต่ผลสุดท้ายก็มีการเปลี่ยนแปลง ให้วันครูของจีน ตรงกับวันที่ 10 กันยายน ดังที่กล่าวมาข้างต้น
.
สำหรับไต้หวัน ในปี 1952 เปลี่ยนวันเกิดขงจื่อ เป็นวันที่ 28 กันยายน ตามการคำนวณวันใหม่ และก็ได้กำหนดวันนี้เป็นวันครูของที่ไต้หวัน
.
ทั้งนี้ คนไทยหลายคนจะคุ้นกับคำว่า 老师 (เหล่าซือ) ในความหมายว่า ครู มากกว่าคำว่า 教师 แต่ตามหลักแล้ว จีนจะเรียกวันครูว่า教师节 แต่ถ้าใครจะเรียกว่า 老师节 ก็เข้าใจได้ครับ ในรูปนี้ อ้ายจงเลยเขียนภาษาไทย เป็นเหล่าซือเดย์ เพื่อเข้ากับไทยไทย แต่ถ้าอ่านคำภาษาจีนจริงๆของ 教师节 อ่านว่า เจี้ยวซือเจี๋ย ครับ
#อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #วันครู
มกราคม อ่านว่า 在 ่มกราคม อ่านออกเสียงว่าอะไร? - YouTube 的推薦與評價
มะ... มัก... มกขอทุกคนมีความสุข เพราะเสียงหัวเราะ ทำให้ทำมีความสุขขอให้สนุกๆๆๆ •#nameworwit ... ... <看更多>