"เคล็ดลับการเขียนผลงานทางวิชาการ/บริการวิชาการงานวิจัยสู่การเรียนการสอน"
สิทธิกร ศักดิ์แสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ปลุกกระแสการเขียนผลงานวิชาการที่ยึดโยงกับนักศึกษา ที่ควรควบคู่กับการวิจัยเพื่อบริการวิชาการแก่ประเทศ สังคมและชุมชน ซึ่งสนับสนุนกันอยู่ทุกวันนี้ จนอาจขาดความเชื่อมโยงนักศึกษา ทั้งๆที่เป็นสถาบันการศึกษาให้ความรู้กับนักศึกษา ที่เป็นภารหน้าที่หลัก
เคล็ดลับการเขียนผลงานวิชาการ เอกสารประกอบการสอน/ เอกสารคำสอน/ตำรา/หนังสือ/บทความทางวิชาการ/วิจัย ผมได้ทำมาตั้งแต่เริ่มต้นของการเป็นอาจารย์ โดยได้รับการเมตตาปรานีจาก อาจารย์ ดร. พีระพันธุ์ พาลุสุข (คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในขณะนั้น (ปี 2544) โดยอาจารย์ได้แปลคู่มือการเขียนตำรา ที่เป็นคู่มือภาษาฝรั่งเศส มาเป็นภาษาไทย โดยให้ผมจับจดขึ้นมาในเรื่องวิธีการเรียบเรียงและวิธีการเขียน ให้เป็นเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน/ตำรา/หนังสือ ขึ้นมา จนเกิดผลงานทางวิชาการและได้เป็นเคล็ดลับในการเขียนผลงานทางวิชาการ ดังนี้
1. เริ่มต้นด้วยการเขียน เอกสารประกอบสอน/เอกสารคำสอน ให้เรียบเรียงเอกสารให้เป็นระบบ ในแต่ละหัวข้อตามคำอธิบายรายวิชา ในแต่ละหลักสูตร เรียบเรียงหนังสือ ตำรา บทความ วิจัย/วิทยานิพนธ์ เอกสารการบรรยายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรสยวิขานั้นมารวบรวมให้เป็นระบบ แต่ถ้าเป็น "เอกสารคำสอน" มีการเรียบเรียง และมีการอ้างอิงให้เป็นระบบ โดยเน้นเรื่องที่สำคัญหรือเน้นเรื่องที่ตนถนัดหรือมีการคนเขียนเรื่องนี้มีน้อยหรือเขียนเพื่อให้เกิดแนวคิดใหม่ หรือ อธิบายขยายความ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
เริ่มจากการเขียน เอกสารประกอบสอน เช่น วิชา หลักกฎหมายมหาชน นิติปรัชญา กฎหมายปกครอง กฎหมายแพ่งลักษณะทั้วไป
เอกสารคำสอน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง กฎหมายปกครองและวิธีพิจาณาคดีปกครอง
2. เมื่อเขียนเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาเป็นตำรา หนังสือ ต่อไป ด้วยการเขียนบทความทางวิชาการ โดยนำหัวข้อในเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน ในแต่ละหัวข้อนำมาเขียนบทความวิชาการ ที่เป็นทฤษฎีนำมาวิเคราะห์ในประเด็นในทางวิชาการ เพื่อให้เกิดสิ่งแปลกใหม่หรือตอบโจทย์ในปัญหาทางสังคม และอาจมีประเด็นที่คนสนใจโดยเอาทฤษฎีในเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน มาปรับวิเคราะห์ในประเด็นที่กล่าวถึงข้างต้น เป็นที่มาของการเขียนงานงานวิจัยตามศาสตร์ ในการบูรณาการการเรียนการสอน
ซึ่งมีบทความที่เขียนลงตีพิมพ์เผยแพร่
3. การเขียนเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอนที่เป็นแนวคิดทฤษฎีนำมาศึกษาวิเคราะห์ในหัวข้อในการเรียนการสอน เขียนยทความทางวิชาการซึ่งสามารถพัฒนาเป็นหัวข้อวิจัย ได้เช่น สอนกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ซึ่งมีกฎหมายที่ในการควบคุมภายในฝ่ายปกครอง ที่สำคัญ 3 ฉบับ ทำให้เราศึกวิเคราะห์ราะห์ เป็นหัวข้อวิจัยได้ ว่า กฎหมายทั้งฉบับบนี้มันความสัมพันธ์กันอย่าง บังคับใช้อย่างไรให้สอดรับ สามารถเป็นหลักคิด แนวทางการบังคับใช้กฎหมายของฝ่ายปกครองได้
จากการเขียนผลงานทางวิชาการจะก่อประโยชน์ 2 ด้าน
1) ด้านที่ 1 ได้ผลงานวิชาการ บทความวิชาการ และได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน ทางวิชาการ และถ้าบทความนั้นมีความลุ่มลึกและสามารถเป็นบทความที่มีคุณภาพ สามารถเสนอขอตำแหน่งทางวิชาการได้
2) ด้านที่ 2 ผลงานวิชาการที่ได้รับตีพิมพ์ นั้นได้เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ เป็นเกณฑ์ประเมินประกันคุณภาพ ได้เป็นอย่างดี
4.นำผลงานทางวิชาการบทความวิชาการ/วิจัย ในแต่ละหัวข้อมาเขียนเป็นหนังสือ/ตำรา ก่อให้เกิดผลดีคือ
1) ตำรา /หนังสือจะเป็นตำราที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆได้ เพราะตำราดังกล่าว ในประเด็นหัวข้อนี้ ได้นำมาจากการเขียนบทความวิชาการ ถือว่าเป็นตำราที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยตำรานั้นต้องเขียนครอบคลุมตามคำอธิบายรายวิชา ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ( การเขียนตำราที่นำมาจากบทความวิชาการ /วิจัยนั้นต้องอ้างผลงานบทความวิชาการด้วยที่เขียนด้วยแม้ผลงานตนเองก็ต้องอ้าง)
2) หนังสือ นำบทความวิชาการ/วิจัย ที่ได้เขียนมาจัดระบบ ให้เป็นเรื่องเป็นราว ที่ก่อให้เรื่องใหม่ ที่เป็นหนังสือ ขึ้นมาแต่ต้องเป็นหนังสือที่มีแนวคิดใหม่ๆหรือนำมาเขียนเป็นเรื่องเดียวกันที่ได้เขียนบทความวิชาการมาแล้ว ( การเขียนตำราที่นำมาจากบทความวิชาการ นั้นต้องอ้างผลงานบทความวิชาการด้วยที่เขียนด้วยแม้ผลงานตนเองก็ต้องอ้าง)
จากการเขียนบทความวิชาการ พัฒนามาเป็นหนังสือ เช่น ศาสตร์แห่งการตีความกฎหมาย การปกครองแบบนิติรัฐที่ยึดหลักนิติธรรมกับปรัชญากฎหมายที่มีอิทธิพลต่อการจัดทำและการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไทย หลักพื้นฐานแห่ง
3) วิจัยก็เป็นงานที่ได้วิเคราะห์สังเคราะห์ ตามรูปแบบกระบวนการขั้นตอนการวิจัย เกิดแหล่งความรู้ใหม่นำไปใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ ในการเรียนการสอนและเป็นหลักคิดในการบังคับใช้กฎหมายให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามหลักสมควรแก่เหตุ
ตำรา/หนังสือ/วิจัย นี้สามารถขอตำแหน่งทางวิชาการาได้และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ สามารถเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับรอง ซึ่งเป็นเกณฑ์หนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา
同時也有8部Youtube影片,追蹤數超過61萬的網紅Peanut Butter,也在其Youtube影片中提到,สวัสดีค่ะทุกคนนนนน วันนี้เรากลับมาในคอนเทนท์ไอแพดอีกแล้ว สำหรับใครที่อยากหาแอปพลิเคชั่นที่ใช้สำหรับการเรียน วันนี้นัทมีมาแนะนำด้วยกัน 10 แอปด้วยกัน! ซ...
「มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์」的推薦目錄:
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 Peanut Butter Youtube 的最佳貼文
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 The Snack Youtube 的最佳貼文
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 ThaiStandupComedy Youtube 的精選貼文
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ DPU | Bangkok 的評價
- 關於มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 U-Review รีวิวสาขาธุรกิจระหว่างประเทศ CIBA มหาวิทยาลัยธุรกิจ ... 的評價
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 Facebook 的最讚貼文
โครงการทีมแพทย์อาสาค่ะ ข้อมูลตามภาพ
สแกน QR หรือ แอดไลน์ @thaicovidcare ไว้เลยนะคะ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ DPU #AntiagingDPU #AADPU
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
ทบทวนความทรงจำอีกครั้ง : "เส้นทางชีวิตการเป็นนักวิชาการของผม"
รศ.สิทธิกร ศักดิ์แสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เส้นทางในชีวิตการเป็นนักวิชาการของผม เริ่มจากการเป็นนักมวยและต่อยมวยหารายได้เรียนหนังสือด้วยตัวเองจนจบการศึกษาระดับปริญญาโทและได้ทำงานเข้าสู่การเป็นนักวิชาการ ดังนี้
1.เส้นทางชีวิตพื้นฐานที่ช่วยเสริมทำให้ผมเกิดเป็นนักวิชาการ
จากชีวิตเด็กบ้านนอกตัวเล็กๆ ในอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ปี 2529 เรียนจบชั้นประถมที่โรงเรียนวัดสมุหเขตตาราม และ
สอบเข้าเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 (ม.1)โรงเรียนสวนศรีวิทยา โรงเรียนประจำอำเภอ ในขณะเดียวกันก็ชกมวยไทยและชกมวยสากลสมัครเล่นให้โรงเรียนควบคู่กับการเรียนไปด้วย จนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 และ ปี 2536 ได้ทุนการศึกษาทุนนักกีฬามวยสากลสมัครที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ คณะนิติศาสตร์
เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต ปี 2540 ก็สอบเข้าศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา กฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยเดียวกัน ซึ่งรับอิทธิพลทางความคิดจาก ศ.(พิเศษ) ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ในการเลือกเรียนสาขากฎหมายมหาชน และได้รับทุนการศึกษาทุนกีฬามวยสากลสมัครเล่น
หมายเหตุในช่วงเป็นนักมวยไทยและนักมวยสากลสมัครเล่น
มวยไทย (ชื่อมวยไทย รุ่งศักดิ์ ส.วรพิน) ผมเริ่มชกมวย ปี 2527 และเลิกชกมวยไทย ปี 2538 ในปี 2535 -2537 ติดยอดไอ้แอ๊ดระดับประเทศ ต่อยคู่เอกราชดำเนนินและลุมพินีหลายครั้ง
มวยสากลสมัครเล่น เริ่มชกปี 2532 แชมป์โรงเรียน แชมป์จังหวัด เหรียญทองแดงเยาวชนแห่งชาติ แชมป์กีฬามหาวิยาลัยแห่งประเทศไทย 5 สมัย แชมป์กีฬาแห่งชาติและเหรียญทองแดงชิงแชมป์ประเทศไทย
2.เส้นทางชีวตินักวิชาการ
เมื่อผมได้สำเร็จการศึกษานิติศาสตรมหาบัณฑิต (ระดับปริญญาโท) สาขากฎหมายมหาชน ที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (ปี 2543) และได้เป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเวสเทริ์น) ซึ่งในช่วงสมัยผมเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยณิวัฒนา ผมก็มักจะเข้าไปหาอาจารย์ ดร.พีระพันธุ์ พาลุสข คณบดีบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในขณะนั้น (ปัจจุบันท่านอาจารย์ได้เสียชีวิต ด้วยเส้นโลหิตตีบ ในขณะที่ท่านรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์) อาจารย์สั่งสอนและส่งเสริมผมให้เขียนผลงานทางวิชาการ เริ่มต้นจากการเขียนเอกสารประกอบการสอน โดยอาจารย์ได้แปลคู่มือการเขียนตำรา ที่เป็นคู่มือภาษาฝรั่งเศส มาเป็นภาษาไทย โดยให้ผมจับจดขึ้นมาในเรื่องวิธีการเรียบเรียงและวิธีการเขียน ให้เป็นเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน/ตำรา/หนังสือและงานวิจัย ขึ้นมา
และที่สำคัญผมโชคดีที่ได้ทำวิทยานิพนธ์ กับ ศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพทูรย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ท่านสอนวิธีการเขียนวิทยานิพนธ์ วิธีคิดค้นคว้าด้วยตนเอง ทำให้ผมพื้นฐานในการเขียนและเรียบเรียงผลงานทางวิชาการ จนเกิดผลงานทางวิชาการและได้เป็นเคล็ดลับในการเขียนผลงานทางวิชาการที่ผมเขียนผลงานทางวิชาการให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งผมได้รับโอกาสเข้าอบรมประกันคุณภาพการศึกษามาตลอด จนทำให้ผมได้มีรายชื่อที่สามารถเป็นประธานผู้ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ในสถาบันการศึกษา ของ สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) และผมก็ได้เขียนผลงานทางวิชาการตามที่กำหนดตามประกันคุณภาพการศึกษามาตลอด จึงเกิดประโยชน์ของตัวผมเองและตัวสถาบันที่ทำงาน และที่สำคัญจงมีความสุขกับการทำงานต้องคิดว่า "การทำงานเยอะยิ่งได้ความรู้เยอะ" สามรถพัฒนาตนเองได้เร็วกว่าคนอื่น อย่าคิดว่าตัวเองทำงานแล้วคนอื่นไม่ทำงานและคิดน้อยใจแล้วไปว่าคนอื่นโวยวายไป นั่นคือ "สิ่งที่บั่นทอนจิตใจเราทำให้เราไม่สามารถที่จะพัฒนาไปข้างหน้าได้เลย"
ผมเริ่มทำงาน เป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาครั้งแรก วันที่ 16 ตุลาคม 2544 ผมเสียเวลา 3 ปีกับการรับงานบริหาร คือ เป็นหัวหน้าแผนกวินัยและพัฒนานักศึกษา ที่มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเวสเทริ์น) จังหวัดสุพรรณบุรี (ปี 2544-2546) และได้ลาออกไปช่วยเพื่อนทำหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตและเป็นเลขานุการ คณะนิติศาสตร์ วิทยาลัยสันตพล จังหวัดอุดรธานี (ปี 2546-2548) อยู่ดูแลหลักสูตรจนได้รับรองมาตรฐาน แล้วก็เริ่มเขียนผลงานทางวิชาการ คือ การเขียนตำรากฎหมายเบื้องต้น เอกสารประกอบการสอนวิชา นิติปรัชญา บทความ
ปลายปี 2548 เริ่มมีปัญหากับผู้บริหารสถาบัน (ปัญหาที่ผมออกรายโทรทัศน์ท้องถิ่น วิพากษณ์การทำงานของตำรวจ การทำงานของรัฐบาลทักษิณ ในเชิงหลักวิชาการ แต่ได้การถูกเรียกให้ไปพบผู้บริหารวิทยาลัย ให้ผมทำหนังสือขอโทษต่อรัฐบาลผ่านผู้ว่าราชการจังหวัด แต่ผมยืนยันที่จะไม่ทำหนังสือขอโทษ โดยระบุว่าถ้าผมพูดอะไรล่วงละเมิดหรือหมิ่นประมาท ดำเนินทางกฎหมายต่อผมได้เลย จึงเกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างผมกับผู้บริหาร) ประจวบกับคิดอยากกลับบ้าน อยากอยู่ใกล้แม่ จึงลาออกมาอยู่ วิทยาลัยตาปี (ปัจจุบัน เป็นมหาวิทยาลัยตาปี) จังหวัดสุราษฎ์ธานี (ปี 2548) ผมมาอยู่มหาวิทยาลัยตาปี ก็เขียนผลงานทางวิชาการโดยการสนับสนุนจาก ท่านอาจารย์ รองศาสตราจารย์ ดร.โกเมศขวัญเมือง คณบดี ในการเขียนผลงานทางวิชาการ เอกสารประกอบการสอน ตำรา และบทความทางวิชาการ และ
ในขณะเดียวกันท่านอาจารย์ โกเมศ ขวัญเมือง ท่านได้เสนอให้ผมเป็นผู้ช่วย ส.ส. (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์ พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดชุมพร) ให้ผมเข้าเรียนรู้งานในฝ่ายนิติบัญญัติในฐานะอนุกรรมาธิการป้องกันและปรามปรามการทุจริตประพฤติมิชอบสภาผู้แทนราษฎร ทำให้ผมได้พบนักกฎหมาย ที่เป็นนักการเมือง นักวิชาการที่เข้ามาเป็นกรรมาธิการที่มีความรู้ทางกฎหมายโดยเฉพาะทางด้านกฎหมายมหาชน ทำให้ผมมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการเขียนตำรา/บทความความ และทางกรรมาธิการมีการจัดอบรมเสวนาให้ความรู้กฎหมายแก่ประชาชน ผมได้รับแต่งตั้งเป็นวิทยากรของคณะกรรมาธิการเพื่อบรรยายกฎหมายทำให้ผมต้องค้นคว้าเอกสารเพิ่มมากขึ้นและสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ผมได้ความรู้เพิ่มมากขึ้นทำให้ผมสามารถเขียนผลงานวิชาการได้อีก
ในเดือนตุลา 2550 ผมก็เสนอขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ผศ.) และซึ่งในขณะนั้นผมได้รับมอบหมายให้ทำหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชนด้วย (หลักสูตร ปโท) และจัดทำหลักสูตรสำเร็จ เปิดดำเนินการผมทำหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการบริหารหลักสูตรฯ หน้าที่ของผมต้องทำงานดูแลหลักสูตรเกือบทั้งหมด ไม่ว่าเป็นด้านการจัดเอกสาร การจัดทำงบประมาณ และประสานงานต่างๆ รวมไปถึงการจัดตารางเรียนตารางสอน ประสานงานอาจารย์ผู้สอน ปโท ในช่วงเวลานี้เองผมได้เขียนผลงานทางวิชาการเสนอต่ออาจารย์ที่มาสอนพิเศษในหลักสูตร ป.โท ทำให้ผมมีความรู้เพิ่มมากขึ้นและมีงานเพิ่มมากขึ้น เข่น ความรู้ในการเขียนบทความ เขียนตำรา เขียนงานวิจัย
และในขณะเดียวกัน (ปี 2551-2553) ผมได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการไกล่ข้อพิพาทคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน ต่อมาได้รับการแต่งตั้งอนุกรรมาธิการคณะเดียวกัน ในคณะกรรมาธิการการยุติธรรมการตำรวจ วุฒิสภา อีกตำแหน่งหนึ่ง
ในคณะอนุกรรมาธิการทำหน้าท่ียกร่างกฎหมายไกล่ข้อพิพาทในชั้นสอบสวน และได้รับทุนวิจัยจากสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ด้วยกันในเวลานั้น ผมจึงรู้เรียนงานจากประสบการณ์ประชุม การสัมมนา ต่างๆ
และสิ่งที่สำคัญในช่วงเวลานั้น ผมทำงาน 7 วัน คือ 3 วัน จันทร์ อังคาร พุธ อยู่กรุงเทพฯ (วันหยุดผมจันทร์ อังคาร ส่วนวันพุธ ขออนุญาติโดยมีหนังสือขอตัวจากวุฒิสภา) 4 วัน พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ทำงานที่มหาลัยตาปี ผมใช้ชีวิตแบบนี้ 3 ปี (2551-2553) เต็มในการทำงานแบบไม่มีวันหยุด อยู่ในแหล่งข้อมูลที่สำคัญ ห้องสมุดรัฐสภา ทำให้มีโอกาสค้นคว้าเอกสารและเขียนงานวิจัย เขียตำรา เขียนบทความวิชาการ และหนังสือเพิ่มมากขึ้น เกิดตำราและหนังสือที่ได้ตีพิมพ์หลายเล่ม รวมไปถึงบทความที่ได้รับตีพิมพ์มากกว่า 30 เรื่อง
เดือนตุลา ปี 2554 (ผมใช้เวลาอีก 4 ปี หลังจากได้รับตำแหน่ง ผศ. ซึ่งผมขอ ผศ.ปี กย.2550) ผมก็ยื่นเสนอขอตำแหน่งรองศาสตราจารย์ (รศ.) และได้ผ่านการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยตาปี ในปี 56 มีผลย้อนหลัง ปี 2554 และขณะเดียวกันผมได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการสำนักวิจัยควบคู่กับผู้อำนวยการบริการวิชาการ
อีกงานหนึ่งเป็นการบริการวิชาการให้กับท้องถิ่น ซึ่งทางมหาลัยได้ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ องค์การบริหารส่วนตำบลตะเคียนทอง อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎ์ธานี โดยมอบหมายให้ผมเป็นผู้ประสานงาน ผมได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายและแผนนโยบายให้กับ องค์การบริหารส่วนตำบล (ปี2552-2556) ไปด้วย ได้วางแผนพัฒนา จนองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งนี้ได้รับรางวัลชมเชยพระปกเกล้า ในการบริหารงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล ซึ่งในช่วงที่เป็นที่ปรึกษาให้กับ องค์การบริหารส่วนตำบล ได้มีการร้องขอให้คณะนิติศาสตร์ ให้ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตะเคียนทอง ก็ได้ทำโครงการวิจัยดังกล่าว โดย มี รองศาสตราจารย์ ดร.โกเมศ ขวัญเมือง เป็นหัวหน้าโครงการ ผมเป็นผู้ร่วมวิจัยในโครงการวิจัยนี้ด้วย
ต่อมาผมได้ลาออกจากมหาวิทยาลัยตาปี เมื่อมีนาคม 2556 ผมได้มาทำงานที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (เริ่มงาน ตุลา 2556)
ในขณะที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ ราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ของรศ.ผมต้องให้ เกิดปัญหา คือ
ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ของสถาบันเอกชนต้องให้ สกอ.รับรอง ซึ่งสถาบันได้ส่งเอกสารชี้แจงให้กับ สกอ.รับรอง ช้า ทำให้ สกอ.พิจารณารับรองโดยใช้เกณฑ์ ประกาศ กพอ. เผยแพร่ผลงานวิชาการ 2556 มาพิจารณาเผยแพร่ผลงานผม ทั้งที่ผมเผยแพร่ผลงาน ปี 2552 แต่เอาเกณฑ์ปี 56 มาพิจารณา และสภามหาวิทยาลัยแห่งนั้นไม่นำเสนอเอกสารพิจารณายืนยันให้กับผม ทำให้ ทำให้สกอ.ไม่รับรอง ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ในส่วนของการเผยแพร่ผลงาน แต่รับรองผลงานวิชาการทั้งหมด
ทำให้ต้องยื่นเสนอ รศ.ใหม่ คือ ด้วยการ การเขียนผลงานเผยแพร่ คือ บทความวิจัย 2 เรื่อง (ส่วนงานวิจัย หนังสือ ตำรา รับรองใช้ได้ )
ผมจะยื่นใหม่ในปี 2557 ในสถาบันใหม่ก็ยื่นไม่ได้ เพราะไม่มีระเบียบการขอและการเทียบตำแหน่งทางวิชาการของมหาลัยรอวรับ และต้องรอให้ระเบียบออกมารองรับ
และผมได้ยื่น รศ. เสนอใหม่ ในปี 2558 แต่คณะได้พิจารณาว่าผมเผยแพร่ผลงานซ้ำผิดจรรยาบรรณ เสนอให้มหาวิทยาลัยพิจารณา มหาวิทยาลัยได้ทำหนังสือขอหารือ ไปที่ สกอ. ซึ่ง ใช้เวลาพิจารณาตอบข้อ หารือ มาถึง มหาลัย ปลายปี 2559 ว่าไม่ได้มีการซ้ำซ้อน เพราะการเผยแพร่ใหม่ คือ บทความวิจัย ไม่ใช่บทความรายงานวิจัย ถ้าบทความรายงานวิจัยเผยแพร่ได้ครั้งเดียว แต่บทความวิจัย คือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของการงานวิจัย และทำให้ผมเสียเวลาไป ปี กว่า
และสุดท้าย มหาวิทยาลัย รับการยื่น รศ. เป็นทางการในเดือนธันวาคม 2559 ส่งให้ผู้ทรงอ่าน บทความวิจัย 2 เรื่อง ผลงานการอ่านส่งมาครบ ในต้นปี 2562
ปัญหาต้องเกิดอีกครั้ง คือ มีคนร้องเรียนถึงรักษาการอธิการบดีว่าผลงานผมเผยแพร่ซ้ำและเผยแพร่ผลงาน นั้นมีชื่อผม คนเดียว แต่งานวิจัย ทำกันหลายคน ให้ผมทำหนังสือชี้แจง และผมได้ทำหนังสือชี้แจงต่อมหาลัย
คือ ผมได้เผยแพร่ ผลงานบทความวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งงานวิจัย และเผยแพร่ในส่วนงานวิจัยในบทหรือส่วนที่ผมรับผิดชอบ ไม่ได้เขียนในส่วนที่ไม่ได้รับผิดชอบ ส่วนบทความรายงานวิจัยที่ผมเขียนไปครั้งแรกที่เผยแพร่ใน ปี 2552 นั้นเสนอชื่อไปทุกคนที่ทำวิจัย
และต่อมาผ่านมาอีก 3 เดือน มีหนังสือให้ผมทำหนังสือชี้แจงและให้ผู้วิจัยร่วม ทำหนังสือยินยอมว่าไม่มีส่วนร่วมในการเขียนบทความวิจัย รับทราบและยินยอมการเขียนบทความวิจัยนี้ ผมต้องใช้ความพยายามประสานงานกับผู้ร่วมวิจัย โดยให้ภรรยาไปรับเอกสารจากผู้ร่วมวิจัย ซึ่งนับว่าเป็นเรื่องที่เป็นภาระอย่างมาก แต่ภรรยาก็สามารถเอาเอกสารนั้นมาได้ทั้งหมด เสนอต่อมหาวิทยาลัย
และได้ผ่านการประชุมพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ อีกครั้ง ผ่านคณะกรรมพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ ผ่านสภาวิชาการ และวันนี้ 17 กันยายน 2562 ผ่านสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแต่งตั้งให้ผม ดำรงตำแหน่ง “รองศาสตราจารย์” อีกครั้ง มีผลย้อนหลังปี เดือนธันวาคม 2559
สรุป นับได้ว่าตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ของผมได้รับการอนุมัติ จากสภามหาวิทยาลัย 2 ครั้ง และภายใต้กฎหมาย 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติสถาบันเอกชน พ.ศ .2546 กับพระราชบัญญัติราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยปัญหาทึ่เกิดจากเทคนิคที่ไม่ได้เกิดจากปัญหาคุณภาพของผลงานเลยสักนิดเดียว แต่เป็นปัญหาในเรื่องทางเทคนิครูปแบบขั้นตอน (เงื่อนไข)
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 Peanut Butter Youtube 的最佳貼文
สวัสดีค่ะทุกคนนนนน วันนี้เรากลับมาในคอนเทนท์ไอแพดอีกแล้ว สำหรับใครที่อยากหาแอปพลิเคชั่นที่ใช้สำหรับการเรียน วันนี้นัทมีมาแนะนำด้วยกัน 10 แอปด้วยกัน! ซึ่งมีทั้งแบบฟรีและเสียตังค์เลยนะคะ หากใครมีแอปอื่นแนะนำ อย่าลืมคอมเมนท์บอกนัทด้วยน๊าา Enjoy watching!?
และสำหรับใครที่กำลังสนใจจะซื้อ iPad มาใช้สำหรับการเรียนนะคะ วันนี้นัทมีโปรโมชั่นมาฝากกันเยอะแยะเลย!
✏️✏️ขอรับสิทธ์ส่วนลด 500 บาท เมื่อซื้อ iPad พร้อมเครื่อง รุ่นใดก็ได้ พร้อมซื้อเคส และติดฟิลม์ ที่ร้าน แจ้งว่ามาจาก Peanut Butter ไปใช้ริการได้เลยจ้า (iPad + Case+Film )= Discount 500.
❤️หมดเขต 14 กันยายน 2019
✏️✏️ใช้บริการซื้อสินค้าที่ร้าน ครบ 13,000 บาท รับกระเป๋าสุดชิคไปด้วยเมื่อเป็นกระเป๋า Limited
เฉพาะสาขา มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 30 คนแรก
❤️หมดเขต 14 กันยายน 2019 หรือจนกว่าของจะหมด
สาขา UStore by SPVi ทั้งหมด 11 สาขา (นัทแนบรูปสาขาให้ด้านล่างด้วยนะคะ?)
https://drive.google.com/file/d/1nb6G81Tff2zZuYk2Y_XOOI_FYwjIitvJ/view?usp=sharing
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต บริเวณตรงข้ามโรงอาหารกลาง
Mon-Fri : 08.00-17.00 น. Sat : 09.00-17.00 น.
Tel : 095-3725536 , 02-9020606
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใต้ตึกคณะบริหารใหม่ ติด ถ.งามวงศ์วาน.
Mon-Fri : 08.00-17.00 น. Sat : 09.00-16.00 น.
Tel : 095-3725538 , 02-9551590
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ใต้อาคารเฉลิมพระเกียรติ 7
Mon-Fri : 08.00-17.00 น. Sat : 08.00-16.00 น. Sun : Close
Tel : 095-3725541
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตท่าพระจันทร์ ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Mon-Fri : 09.00-17.30 น. Sat-Sun : 10.00-16.00 น.
Tel : 095-3725535 , 02-6235800
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตรังสิต ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Mon-Fri : 9.00-18.00 น. Sat : 11:00-16.00 น.
Tel : 095-3725532 , 02-5643249
มหาวิทยาลัยบูรพา ข้างโรงแรมเทาทอง
Mon-Fri : 08.00-17.00 น. Sat : 09.00-17.00 น.
Tel : 095-3725542
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา ใต้อาคารหอสมุดคลังความรู้มหิดล
Mon-Fri : 08.30-17.30 น. Sat : 08.30-16.30 น.
Tel : 095-3725540 , 02-8002558
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สุวรรณภูมิ โซน Plaza ตรงข้าม True Coffe
Mon-Fri : 08.30-17.00 น. Sat-Sun : Close
Tel : 095-3725534 , 02-7055190
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง อาคาร M-Square ชั้น 3
Mon-Fri : 08.30-17.30 น. Sat : 08.30 -16.30 น. Sun : Close
Tel : 065-5243910
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ตั้งอยู่ใต้อาคาร 79
Mon-Fri : 08.30-17.30 น. Sat : 08.30 -16.30 น. Sun : Close
Tel : 065-524-3912
มหาวิทยาลัยนเรศวรใต้คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์
Mon-Fri:08.30-17.30 Sat:08.30-16.30 Sun:Close
โทร.065-524-3912
?Find me more?
IG : https://www.instagram.com/peanut.bt
Facebook : https://www.facebook.com/peanut.butterstation/
Contact for Work : [email protected]
#ipadpro #ipad2018 #appforstudent
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 The Snack Youtube 的最佳貼文
ชี้เป้า Ep.2 เราจะพาไปที่ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ๆ จีโน่เรียนจบมา ซึ่งมีสาวๆ สวยๆ ให้เปิดวาร์ปมากมาย จะสวยสมคำล่ำลือมั้ยไปชมกันเลยครับ
วาร์ป
แป้ง ► https://www.facebook.com/pongpang.smile.12
ตะวัน ►https://www.instagram.com/tawantawantawannnn
โย ► https://www.facebook.com/YOtywannasiri
จิ๊ฟ ► https://www.facebook.com/jiffrey.tnt
ชมพู่ ► https://www.instagram.com/chompuay
เง้ก ► https://www.facebook.com/ngekk.duangroetai
เบน ► https://www.facebook.com/nayben.asu.7
-------------------------------------------------
***Facebook Fanpage ***
The snack ► https://web.facebook.com/TheSnackOfficialPage/
-------------------------------------------------
***สั่งซื้อสินค้า (เสื้อและริสแบนด์)***
Facebook ► https://www.facebook.com/theskashop
Line ID ► @Theskashop
-------------------------------------------------
***Facebook สมาชิก The Snack***
ปอนด์ ► https://www.facebook.com/Pond.YouTube?fref=tsFacebook
จีโน่(ยีน) ► https://www.facebook.com/GenoPM?fref=tsFacebook
โอ๋โจ้ ► https://www.facebook.com/rtstudio.beati?fref=ts
สตาร์ท► https://web.facebook.com/start.supanat
-------------------------------------------------
***Instagram สมาชิก The Snack***
ปอนด์ ► https://www.instagram.com/pond_nitis/
จีโน่(ยีน) ► https://www.instagram.com/gnpm/
โอ๋โจ้ ► https://www.instagram.com/vman_tsf/
สตาร์ท► https://www.instagram.com/1994.start/
-------------------------------------------------
ขอบคุณที่รับชมและกดติดตามด้วยนะครับ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 ThaiStandupComedy Youtube 的精選貼文
คลิปบางส่วนจากงาน
“สัมมนาเชิงวิชาการ เพื่อขับเคลื่อนการศึกษาด้วยระบบ 4.0 ดีเซลคอมมอนเรลไดเร็คอินเจคชั่น” ณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 U-Review รีวิวสาขาธุรกิจระหว่างประเทศ CIBA มหาวิทยาลัยธุรกิจ ... 的推薦與評價
รีวิวสาขาธุรกิจระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ติดตามการให้คะแนน U-Review Score และอ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่ U-Review เปิดมุมมองใหม่ เลือกคณะมหาวิทยาลัยด้วยข้อมูล ... ... <看更多>
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 在 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ DPU | Bangkok 的推薦與評價
#Dek66 ออกแบบอนาคตได้ตามใจ ที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ DPU เปิดโอกาสให้น้อง ๆ เลือกเรียนคณะที่ชอบ สาขาที่ใช่ มีให้ครบทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ จบไปเตรียมโดดเด่นในสายงานยุคดิจิทัลกันได้เลย ... ... <看更多>