QGEN - HR Practice Provider
Coming of Age ของรัฐวิสาหกิจยุคใหม่
พระราชบัญญัติการพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 ได้ให้นิยามของ “รัฐวิสาหกิจ” ว่า
1. องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล กิจการของรัฐตามกฎหมายที่จัดตั้งกิจการนั้น หรือหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ
2. บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่กระทรวงการคลังมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละห้าสิบ
เนื่องด้วยรัฐวิสาหกิจเป็นองค์กรของรัฐ หรือมีรัฐเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ซึ่งถือว่าเป็นองค์กรที่มีความมั่นคงสูง เมื่อรวมกับการบริหารงานโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะแสวงหาผลกำไรแบบเอกชน ส่งผลให้เงินเดือนหรือค่าตอบแทนสูง รัฐวิสาหกิจจึงเป็นตัวเลือกแรก ๆ ที่คนอยากร่วมงานด้วย ยกตัวอย่างรัฐวิสาหกิจที่ได้รับความนิยม เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เป็นต้น
จากลักษณะของรัฐวิสาหกิจ รัฐถือเป็นเจ้าขององค์กร ส่งผลให้พนักงานรัฐวิสาหกิจต้องระมัดระวังในการแสดงออกทางการเมือง ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานและการเติบโตของพนักงานในองค์กร แต่เมื่อเจาะลึกลงไปในรายละเอียดของผลสำรวจ พบว่า กลุ่มพนักงานที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปีลงไป พร้อมที่จะมีแสดงออกทางการเมือง รวมถึงเชื่อว่าการแสดงออกทางการเมืองของพนักงานเป็นที่สิ่งที่สามารถทำได้
ด้วยเหตุนี้ QGEN Consultant จึงมองว่า เมื่อผ่านไปประมาณ 5 – 10 ปี พนักงานรัฐวิสาหกิจที่เป็นคนรุ่นใหม่ มีจำนวนมากขึ้น อาจจะส่งผลให้องค์กรรัฐวิสาหกิจก้าวเข้าสู่ยุค Coming of Age และเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมการทำงานภายในองค์กร ให้เกิดความหลากหลายในด้านของแนวคิดและความเชื่อทางการเมืองที่มากขึ้น
#QGroup
#QGEN
#QResearch
「รัฐวิสาหกิจ เช่น」的推薦目錄:
- 關於รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 HR - The Next Gen Facebook 的最佳貼文
- 關於รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
- 關於รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 กระทรวงการคลัง : Ministry of Finance - “รัฐวิสาหกิจหาวิธีดันการ ... 的評價
- 關於รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 เรื่อง การถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การจัดตั้ง-ร่วมทุน 的評價
- 關於รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 อนาคต “กรุงไทย” หลังพ้นรัฐวิสาหกิจ - YouTube 的評價
รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 Facebook 的最讚貼文
ปท. สื่อสารกับรัฐบาล ประเด็น 64 รัฐวิสาหกิจ พลังงาน เช่น น้ำ ไฟ ขสมก. ให้รักษาไว้เป็นสมบัติชาติ (นาทีที่ 16)
รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
ความแตกต่างระหว่างอำนาจบังคับบัญชากับอำนาจกำกับดูแล
1)ในแง่นิติบุคคล
อำนาจบังคับบัญชา เป็นความสัมพันธ์ภายในนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนเดียวกัน เช่น ภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ หรือ ภายในองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นต้น
อำนาจกำกับดูแล เป็นความสัมพันธ์ระหว่างนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน กับนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน เช่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นต้น
2) ในแง่ที่มาของการใช้อำนาจ
อำนาจบังคับบัญชาเป็นอำนาจทั่วไปที่เกิดจากการจัดระเบียบภายในของรัฐ ภายในหน่วยงานของรัฐแต่ละแห่ง ความสัมพันธ์ของบุคลากรจะเป็นความสัมพันธ์ตามลำดับชั้นในรูปปิรามิด เจ้าหน้าที่แต่ละคนซึ่งอยู่ที่ฐานปิรามิด จะขึ้นตรงต่อเจ้าหน้าที่คนหนึ่งและต้องปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งหรือคำบังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ผู้นี้โดยเคร่งครัด และเจ้าหน้าที่ผู้นี้เองก็จะขึ้นตรงต่อเจ้าหน้าที่เหนือตนขึ้นไป และต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนตามคำสั่ง คำบัญชาของเจ้าหน้าที่เหนือตนขึ้นไป เป็นเช่นนี้ตลอดสาย จนถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นซึ่งอยู่ที่ยอดปิรามิด และจะเป็นผู้รับผิดชอบงานทั้งหมดของหน่วยงาน ด้วยเหตุนี้เองการการควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาโดยผู้บังคับบัญชาจึงไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายให้อำนาจไว้อย่างชัดแจ้ง และผู้บังคับบัญชาจะปฏิเสธไม่ตรวจสอบคำวินิจฉัยสั่งการของผู้ใต้บังคับบัญชา โดยอ้างว่าไม่มีกฎหมายให้อำนาจไว้ไม่ได้- อำนาจบังคับบัญชา เป็น “อำนาจตามกฎหมายทั่วไป” ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายกำหนดโดยเฉพาะ
อำนาจกำกับดูแล เป็นอำนาจที่เกิดขึ้นโดยกฎหมาย กล่าวคือ รัฐ องค์กรส่วนกลางจะกำกับดูแลหรือมอบให้ส่วนภูมิภาค กำกับดูแล หน่วยงานเหล่านี้
-การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ
-รัฐวิสาหกิจหรือ
-องค์การมหาชนหรือ
-หน่วยอื่นของรัฐที่อยู่ภายใต้กำกับดูแลของฝ่ายบริหารหรือ
-หน่วยงานทึ่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครอง
และกำกับดูแลได้ต่อเมื่อ “กฎหมายให้อำนาจไว้อย่างชัดแจ้ง และเพียงเท่าที่กฎหมายกำหนดไว้” เท่านั้น “ไม่มีการกำกับดูแลโดยปราศจากอำนาจตามกฎหมาย และไม่มีการกำกับดูแลเกินขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้”
3) ในแง่ขอบเขตอำนาจการตรวจสอบการกระทำ
อำนาจบังคับบัญชา เป็นอำนาจที่เปิดโอกาสให้ผู้บังคับบัญชาสามารถควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาสามารถควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ใต้บังคับบัญชาของตนได้อย่างสิ้นเชิง คือ สามารถตรวจสอบการกระทำต่างๆของผู้ใต้บังคับบัญชาของตนได้ทั้งในแง่ “ความชอบด้วยกฎหมาย” และ “ความเหมาะสม” ผู้ใต้บังคับบัญชาจึงไม่มีอิสระโดยปราศจากการควบคุมของผู้บังคับบัญชาได้
อำนาจกำกับดูแล โดยปกติกฎหมายจะให้อำนาจรัฐหรือองค์การปกครองส่วนกลางและส่วนภูมิภาคกำกับดูแล ตรวจสอบ
-องค์การปกครองท้องถิ่นหรือ
-รัฐวิสาหกิจ หรือ
-องค์การมหาชน หรือ
-หน่วยอื่นของรัฐที่อยู่ภายใต้กำกับดูแลของฝ่ายบริหารหรือ
-หน่วยงานทึ่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครอง
ในจัดทำบริการสาธารณะมิให้กระทำนอกวัตถุประสงค์และขัดแย้งกฎหมาย คือ “การตรวจสอบความชอบด้วยฎหมาย” ทั้งนี้เพื่อรักษาความเป็นอิสระของหน่วยงานอยู่ภายใต้การกำกับดูแล อันเป็นหลักการกระจายอำนาจไว้ ทั้งที่เป็นการกระจายอำนาจทางอาณาเขตกับการกระจายอำนาจทาวเทคนิค/กิจการและบริการ
4) ในแง่ลักษณะผลของออกคำสั่งการในการใช้อำนาจ
อำนาจบังคับบัญชา โดยหลักการมีคำสั่งใดๆ ตามอำนาจบังคับบัญชาไม่ถือว่าเป็นคำสั่งทางปกครอง ยกเว้นกรณีแต่งตั้งโยกย้าย
อำนาจกำกับดูแลของผู้กระทำดูแลที่สั่งการไปยังองค์กรหรือบุคคลที่ถูกกำกับดูแลจะเป็น “คำสั่งทางปกครอง” ทุกกรณี
รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 เรื่อง การถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การจัดตั้ง-ร่วมทุน 的推薦與評價
รัฐวิสาหกิจ ตามนิยามของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 (ครอบคลุมรัฐวิสาหกิจทุกประเภท เช่น รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังถือหุ้นโดยตรงเกินกว่าร้อยละ 50. ... <看更多>
รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 อนาคต “กรุงไทย” หลังพ้นรัฐวิสาหกิจ - YouTube 的推薦與評價
... 50 มีการตีความของกฎหมายว่าไม่ได้มีสถานะเป็น รัฐวิสาหกิจเช่น กัน ทำให้มีการตั้งคำถามถึงสถานะของธนาคารกรุงไทย ตอนนี้ว่าเป็นอย่างไร ... ... <看更多>
รัฐวิสาหกิจ เช่น 在 กระทรวงการคลัง : Ministry of Finance - “รัฐวิสาหกิจหาวิธีดันการ ... 的推薦與評價
รัฐวิสาหกิจ หาวิธีดันการลงทุนภาครัฐพยุงเศรษฐกิจ สู้ผลกระทบโควิด” นางปานทิพย์ ศรีพิมล ... มีโครงการลงทุนขนาดใหญ่ที่เบิกจ่ายล่าช้า เช่น ... <看更多>