"แบงค์ แม่ไม่เคยสอนให้แบงค์เป็นคนแบบนี้นะ"
ใช่แม่ไม่เคยสอนให้แบงค์เป็นคนแบบนี้ แต่ทั้งชีวิตแบงค์แม่ก็ทำให้เห็นแล้ว ว่าเป็นคนดีน่ะมันอยู่ไม่รอดหรอก สิ่งสำคัญสำหรับชีวิตเราน่ะมันก็คือเงิน"
"แต่แม่ยอมไม่มีเงินดีกว่าให้ลูกไปทำเรื่องแย่ๆ"
"ไม่มีเงินแม่โอเคจริงๆเหรอ?"
แบงค์ย้อนถามแม่ที่สุขภาพไม่สู้ดีแถมยังต้องทำงานอย่างตรากตรำ ไหนจะหาเงินมารักษาตัวก็ยังแทบจะไม่ไหว ไหนจะหาเงินมาส่งเสียให้ลูกได้เรียนโรงเรียนดีดี แม้ลูกจะได้ทุนก็ตาม แต่ด้วยสุขภาพของแม่ ลูกอย่างแบงค์ก็คงจะอยู่เฉยๆไม่มีเงินไม่ได้ เพราะแม่คือคนสำคัญในชีวิตที่เค้าจะต้องดูแล แบงค์สรุปบทเรียนชีวิตของแม่ที่ทำงานหนักมาตลอดชีวิตว่าเป็นคนดีมันไม่รอดหรอก!!!
จากการโกงข้อสอบเล็กๆน้อยๆในโรงเรียนก็ลามปามกลายเป็นการโกงข้อสอบระดับโลกอย่างการสอบ STIC และสุดท้ายกำลังจะมาลงเอยที่การโกงข้อสอบ GAT PAT ระดับประเทศที่มันไม่ใช่การโกงเล็กๆแล้ว มันคือ อาชญากรรม และความผิดทางคดีอาญา
อาชญากรมักเริ่มทำจากเรื่องเล็กๆก่อน เริ่มจากลักเล็กขโมยน้อยไปจนถึงขโมยไปจนถึงโจรกรรม หรือแม้แต่นักการเมืองคนโกงชาติคนคอรัปชั่นก็ตาม โดยมากก็เริ่มจากเรื่องเล็กๆน้อยๆหรือเริ่มจากการรับสินบนด้วยของขวัญเล็กๆน้อยๆ ไปจนถึงรับเงินคอมมิชชั่น
ฉลาดเกมส์โกง กำลังนำเสนอเรื่องราวของการโกงที่ลุกลามไปจนถึงอาชญากรรม ที่ตัวละครเองก็มีเหตุผลในการรองรับการก่อการร้ายในเรื่อง
หลายๆคนอาจจะบอกว่า ดีชั่วอยู่ที่ตัวทำสูงต่ำอยู่ที่ทำตัว แบงค์เองเริ่มจากการพยายามเป็นเด็กดี ขยัน ทำทุกอย่างเพื่อแบ่งเบาภาระแม่ แต่ด้วยโครงสร้างทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาไปจนถึงการสาธารณสุขที่ทุกอย่างต้องใช้เงินมหาศาล และดูทรงแล้ว แบงค์เองก็แทบจะไม่มีโอกาสที่จะไปหาเงินทองมากมายมาใช้จ่ายเพื่อรักษาแม่และจ่ายเพื่อการศึกษาของตัวเองได้ การตัดสินใจเดินทางเข้าสู้ด้านมืดมันก็มีเหตผลรองรับ ทั้งหมดทั้งปวงเราอาจจะบอกว่าโครงสร้างทางสังคมมันเป็นแบบนี้จริงๆ
.
พ่อของพัฒน์เองก็ยังบอกว่าการมีเงินทองมันก็สามารถเอาไปต่อยอดทางธุรกิจสร้างความมั่งคั่งให้ตัวเองได้ การศึกษาเองแม้จะสำคัญมาก แต่เด็กหัวไม่ดีอย่างพัฒน์ก็ยังหาทางออกด้วยการใช้เงินช่วยโกงข้อสอบ คนฐานะยากจนแต่หัวดีอย่างแบงค์หรือลินเองก็ยังปากกัดตีนถีบ ต่อให้ถีบตัวเองขึ้นมาได้ สุดท้ายก็อาจจะต้องมาทำงานเป็นลูกจ้างพัฒน์ที่เป็นลูกคนรวยอยู่ดี ไม่เชื่อลองไปดูเพื่อนในโรงเรียนเราสิ สมัยเรียนคนไหนบ้านรวย ต่อให้มันไม่ค่อยขยันเรียนหัวไม่ดี ปัจจุบันมันก็เป็นเถ้าแก่ทุกคน
.
การศึกษามันคือการลงทุน ต้นทุนทางการศึกษาสำคัญมาก แต่มันก็ใช้เงินมหาศาลเช่นกัน การอยากจะสอบได้คะแนนดีดีมันต้องใช้เงินตั้งแต่การจะติวข้อสอบเข้าไปเรียนแล้ว ครูสอนพิเศษสมัยนี้คอร์สนึงเดือนนึงไม่ใช่ถูกๆ โครงสร้างทางการศึกษาบ้านเราสอนพื้นๆแต่ข้อสอบออกมายากๆ สุดท้ายเรียนในห้องไม่พอ ถ้าไม่เรียนพิเศษก็ไม่ทันคนอื่นในสนามสอบแข่งขัน
เหนื่อยเหมือนกันนะครับ โครงสร้างทางสังคม โครงสร้างทางการศึกษาแบบนี้ มันไม่ได้ง่ายในการใชีชีวิตเลย!!
「โครงสร้างทางสังคม」的推薦目錄:
- 關於โครงสร้างทางสังคม 在 อวยไส้แตกแหกไส้ฉีก Facebook 的最佳貼文
- 關於โครงสร้างทางสังคม 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
- 關於โครงสร้างทางสังคม 在 โครงสร้างสังคมมนุษย์บนโลกเป็นอย่างไร? | 5 Minutes Podcast EP ... 的評價
- 關於โครงสร้างทางสังคม 在 โครงสร้างทางสังคม วันที่ 21 ส.ค.63 - YouTube 的評價
- 關於โครงสร้างทางสังคม 在 โครงสร้างทางสังคม l ห้องเรียนติวเข้ม ม.ปลาย (20 ส.ค. 64) - YouTube 的評價
- 關於โครงสร้างทางสังคม 在 โครงสร้างทางสังคม... - สรุปสังคมด้วยภาพ By พี่นุ๊ก | Facebook 的評價
โครงสร้างทางสังคม 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
ระบบศาล
ในแต่ละประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ต่างมีที่มาและอำนาจของฝ่ายตุลาการที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ไม่ว่าจะเป็นระบบกฎหมายที่ใช้กันอยู่ จารีตประเพณีทางการเมืองการปกครอง โครงสร้างทางสังคม ฯลฯ ของแต่ละประเทศ ดังนั้นในแต่ละประเทศจึงต้องมีการจัดแบ่งศาลให้มีความเหมาะสมกับประเทศของตน ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าในแต่ละประเทศการจัดแบ่งศาลย่อมแตกต่างกันออกไปบ้าง แต่อย่างไรก็ดีต่างก็มีวัตถุประสงค์เดียวกันคือ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมหรือความเป็นธรรมในสังคม ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงระบบศาลในโลกนี้ในทางหลักกฎหมายจะกล่าวถึงระบบศาลคู่กับระบบศาลเดี่ยว ดังนี้
1.1 ระบบศาลคู่
ระบบศาล (Dual Court System) คือ ระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยคดีแพ่งและคดีอาญาเป็นหลักเท่านั้น ส่วนการพิจารณาวินิจฉัยคดีปกครองให้อยู่ในอำนาจหน้าที่ของศาลปกครอง ซึ่งมีระบบศาลชั้นต้นและศาลสูงสุดของตนเอง มีระบบผู้พิพากษาและองค์กรบริหารงานบุคคลเป็นเอกเทศต่างหากเป็นอิสระจากระบบศาลยุติธรรมโดยผู้พิพากษาศาลปกครองจะมีคุณสมบัติเฉพาะและมีความเชี่ยวชาญทางกฎหมายปกครองเป็นพิเศษ ระบบนี้ใช้อยู่ในประเทศที่ใช้ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law) เช่น ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม อิตาลี เยอรมัน ออสเตรีย สวีเดน และฟินแลนด์ เป็นต้น ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงประเทศที่ใช้ระบบ “ศาลคู่” แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มประเทศที่จัดตั้งศาลปกครองเป็นเอกเทศจากศาลยุติธรรม กลุ่มประเทศที่จัดตั้งศาลปกครองเป็นเอกเทศจากศาลยุติธรรมโดยมอบอำนาจในการวินิจฉัยชี้ขาดคดีปกครอง และกลุ่มประเทศที่จัดตั้งศาลปกครองเป็นเอกเทศจากศาลยุติธรรม โดยศาลปกครองมีอำนาจหน้าที่ 3 อย่าง
ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้วประเทศที่ใช้ระบบศาลคู่ส่วนมักจะเป็นประเทศที่ใช้ระบบประมวลกฎหมายหรือเรียกว่า “ระบบกฎหมายซิวิลลอว์” (Civil Law System) บางประเทศ ระบบศาลจะจัดแบ่งเป็น “ระบบศาลคู่” ซึ่งระบบศาลที่อำนาจการพิจารณาคดีหรือเขตอำนาจศาลจะไม่ตกอยู่กับศาลเพียงศาลเดียว แต่จะถูกกระจายไปยังศาลที่ตั้งขึ้นมาให้สอดคล้องกับลักษณะของกฎหมายเป็นหลัก โดยส่วนมากก็จะแบ่งออกเป็นกฎหมายปกครอง กฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่นๆที่ไม่ใช่กฎหมายทั้งสองที่กล่าวมา ประเทศที่ใช้ระบบศาลคู่ มีข้อสังเกต ดังนี้
1. ระบบกฎหมายในประเทศนั้นจะมีการแบ่งเป็นเอกชนกับมหาชนค่อนข้างชัดเจน ในทางตรงกันข้ามประเทศที่ไม่มีการแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน อย่างเช่น ประเทศอังกฤษ หรือแบ่งแยกไม่ชัดเจน อย่างเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา จะไม่ใช้ระบบศาลคู่
2. ในประเทศที่ใช้ระบบศาลคู่จะมีลักษณะพิเศษอย่างน้อย 2 ประการ ดังนี้
1) จะมีศาลที่มีเขตอำนาจที่กำหนดขอบเขตไว้เป็นการเฉพาะและศาลที่กำหนดเขตอำนาจไว้เป็นการทั่วไป (พูดง่ายๆคือศาลที่มีเขตอำนาจเหนือข้อพิพาททุกอย่างที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลที่กำหนดอำนาจไว้เป็นการเฉพาะ) และ
2) จะมีองค์กรทำหน้าที่ชี้ขาดเขตอำนาจระหว่างศาล
เหตุผลหลัก ของข้อ 1) และ 2) ก็เพื่อความชัดเจนและความมั่นใจว่าข้อพิพาทจะต้องได้รับการชี้ขาดโดยศาลหนึ่งศาลใดอย่างแน่นอน ประเทศที่ใช้ระบบศาลคู่ เช่น ประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมนี ประเทศเบลเยียม ประเทศอิตาลี ประเทศไทย เป็นต้น
1.2 ระบบศาลเดี่ยว
ระบบศาลเดี่ยว (Single Court System) คือ ระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยคดี ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีปกครอง โดยให้ผู้พิพากษาซึ่งมีคุณสมบัติและความรู้ทางกฎหมาย “เป็นการทั่วไป” (Generalist) เป็นผู้พิจารณาวินิจฉัยคดีปกครอง ระบบนี้ใช้อยู่ในประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายแบบคอมมอนลอว์ (Common Law) เช่น อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์แบบเดียวกับอังกฤษ เหตุผลของระบบศาลเดี่ยวอยู่ที่ว่า บุคคลมีความเสมอภาคกันตามกฎหมาย และต้องตกอยู่ภายใต้บังคับของหลักกฎหมายเดียวและขึ้นศาลเดียวกัน ระบบนี้จึงไม่มีความแตกต่างระหว่างเอกชนกับฝ่ายปกครอง ซึ่งหมายถึงเจ้าหน้าที่รัฐหรือหน่วยงานของรัฐ โดยถือว่าทั้งเอกชนและฝ่ายปกครองอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์อันเดียวกัน จึงต้องถูกพิจารณาพิพากษาโดยศาลยุติธรรม เป็นระบบหลักเพียงระบบเดียวที่มีถึงชั้นศาลฎีกาและอยู่ในสังกัดของฝ่ายตุลาการ ศาลปกครองจึงมิได้แยกออกเป็นเอกเทศ แต่ล้วนอยู่ในระบบศาลยุติธรรมโดยเป็นส่วนหนึ่งหรือแผกหนึ่งของศาลยุติธรรม ซึ่งมีอำนาจหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง หรือคดีประเภทอื่น ผู้พิพากษาในคดีปกครองในระบบศาลเดี่ยวจึงมีคุณสมบัติและความรู้ในทางกฎหมายเป็นการทั่วไป ระบบศาลนี้ถือว่าศาลปกครองชั้นต้นเป็นศาลชำนาญพิเศษ มีอำนาจพิจารณาคดีปกครองเป็นการเฉพาะแยกต่างหากจากศาลชั้นต้นอื่น แต่มีศาลยุติธรรมสูงสุดหรือศาลฎีกาทำหน้าที่ควบคุมคำพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นและศาลล่างทุกศาล ตามระบบศาลเดี่ยวนี้ คู่ความฝ่ายใดที่ไม่พอใจคำพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นอาจอุทธรณ์หรือฎีกาต่อศาลสูงเหมือนกับคู่ความในคดีอื่นๆ
โครงสร้างทางสังคม 在 โครงสร้างทางสังคม วันที่ 21 ส.ค.63 - YouTube 的推薦與評價
![影片讀取中](/images/youtube.png)
โครงสร้างทางสังคม วันที่ 21 ส.ค.63. 22K views · 3 years ago ...more. DLTV13 Channel. 10.6K. Subscribe. 10.6K subscribers. 327. Share. Save. ... <看更多>
โครงสร้างทางสังคม 在 โครงสร้างทางสังคม l ห้องเรียนติวเข้ม ม.ปลาย (20 ส.ค. 64) - YouTube 的推薦與評價
![影片讀取中](/images/youtube.png)
โครงสร้างทางสังคม คืออะไร ? การจัดระเบียบทางสังคมมีกี่แบบ ? กระบวนการการขัดเกลาทางสังคมมีกี่วิธี ? และสถาบันทางสังคมที่สำคัญๆ มีอะไรบ้าง ... ... <看更多>
โครงสร้างทางสังคม 在 โครงสร้างสังคมมนุษย์บนโลกเป็นอย่างไร? | 5 Minutes Podcast EP ... 的推薦與評價
ไปหาคำตอบเรื่อง โครงสร้างสังคม มนุษย์ ไปกับคุณรวิศได้ใน 5M EP. ... 3 การทดลอง ทาง จิตวิทยาที่ท้าทายความเข้าใจในจิตใจมนุษย์ | Mission To The Moon ... ... <看更多>