#葉郎每日讀報 #一週大事版
──────────────
「只有瘋子、天才或是心臟很
強的賭徒才會投資連鎖電影院」
——Forbes
──────────────
在這種劇烈震盪的時節,每一週都可能是改寫電影史的歷史性時刻,比如本週:
第一次空窗期世界大戰導火線
 ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄
過去一週發生在好萊塢的最大驚奇——好萊塢主流片廠第一部跳過電影院、直接以高單價上VOD隨選平台的電影《Trolls World Tour 魔髮精靈唱遊世界》,在上架三週後創造了1億美元的銷售紀錄。因為VOD平台如Amazon和Apple的抽成遠低於電影院的約50%,也就是說成本九千多萬的《魔髮精靈唱遊世界》很可能已經在這兩天回本。
直到一個月前,全好萊塢沒有人相信VOD市場還是一回事,更別提VOD可以取代電影院通路成為一部主流片廠電影回本的途徑。
Amazon和Apple的VOD銷售連年下滑,產業規模比起2006年已經縮水62%。所有人都認為VOD是已經過氣的通路,Amazon和Apple根本已經把他們的 VOD當成可有可無的會員服務,而非賺錢的途徑。但出身電信業的NBCUniversal的執行長Jeff Shell不這麼想,他覺得VOD是好萊塢的救命藥方。
NBCUniversal目前屬於電信集團Caomcast,過去在電信業的營運經驗和靈活彈性讓他們對於VOD網路零售向來獨具信心。事實上2011年NBCUniversal就企圖「探索」好萊塢空窗期的紅線,在導演Brett Ratner的電影《Tower Heist 神偷軍團》上映三週後打算以59.99元的高單價在VOD市場零售。但該計畫遭到電影院的激烈反對並揚言抵制,讓NBCUniversal隨即打消主意。
NBCUniversal認為被當成黃昏產業的VOD足以當成對抗Netflix的武器,因為消費者願意付更高的費用在家裡看和電影院同步上映的電影,而不願等待90天後Netflix上可能有也可能沒有的不確定因素。因此他們成為理所當然在這波疫情中對「空窗期」開第一槍的勇者。
讓《魔髮精靈唱遊世界》大膽跨過紅線的,不只是NBCUniversal對於VOD的堅貞信仰,另外一個理由是他們現在財務壓力極大,願意拿任何東西出來換錢。這幾天公佈的Comcast第一季財報顯示,該公司寬頻業務和NBC電視業務都受到疫情刺激而有所增長,但NBCUniversal 的電影和主題樂園業務都受到前所未久的重擊:電影業務下滑了23%,主題樂園業務下滑了32%,等於分別蒸發了13.7億和8.7億美元。Peacock原本要當成開台大戲的東京奧運轉播也已落空,剩下的節目是否足以應戰對手Disney+、Netflix或是HBO Max仍是未知數。華爾街日報消息昨天甚至報導NBCUniversal上週已經開始討論縮減支出的計畫,其中包含了大規模的裁員。
《魔髮精靈唱遊世界》1億美元的銷售紀錄證明了NBCUniversal長久以來對於VOD市場獨有的觀點,也代表這個曾被認為是昨日黃花的通路在疫情過後很可能有全新的機會。
嚐到甜頭的NBCUniversal隨即打鐵趁熱,再祭出兩招:
第一招是和NBCUniversal同屬Comcast的售票系統Fandango近日宣佈併購Walmart旗下的VOD服務Vudu。經營自己的VOD服務,可以讓NBCUniversal 省下被Apple或是Amazon抽成的20%,獨佔1億美元銷售的100%收益。
第二招是執行長Jeff Shell在接受訪問時透露他們將繼續尋找其他適合的電影,打算讓這個電影院、VOD同步上映的做法變成長期政策。這個作法等於明白宣示從此Universal眼中沒有「空窗期」這個字眼。
正是這第二招命中了電影院業者的要害。
已經因為全面停業而焦急得團團轉的電影院,此時此刻再被長年合作的片廠落井下石,幾乎是馬上翻臉。全球最大連鎖電影院品牌AMC火速發表口氣強硬的聲明說NBCUniversal逼他們出此下策——全球的AMC影城將開始抵制Universal的所有電影,而且強調他們絕對不只是說說,不但抵制會立刻生效,而且還會包含未來跨過空窗期這條界線的任何一家片廠。美國第二大品牌Regal也隨即跟進宣佈抵制。NATO美國電影院經營者協會也發表聲明表示他們很遺憾NBCUniversal老是不事先諮詢放映業的夥伴就做出影響他們深遠的決定。
引發這場戰火的NBCUniversal則以聲明回應,強調他們仍然信仰電影院的體驗,並且仍然期待未來可以在電影院通路優先發行電影。他們眼前的作法只是希望在這個特殊的難關中,繼續提供居家防疫中的民眾娛樂選項。基於這個作法引發的熱烈迴響,他們認為自己做的是正確的決定。
就像暗殺奧匈帝國王儲的塞爾維亞青年,不起眼的《魔髮精靈唱遊世界》正在引爆一場毀滅性的戰爭。這才只是交火的第一天。
電影院能否撐過這場持久戰
 ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄
抵制是一場持久戰,比的是誰的氣長。問題是電影院的這一口氣真否能撐過這場終點還不知道在哪裡的疫情。
2012年中國(當時)首富王健林的房地產事業萬達集團收購美國連鎖電影院品牌AMC,隨後繼續收購美國Carmike院線、歐洲Odeon院線和Nordic Cinema Group,因而成為全世界最大連鎖電影院品牌。這是AMC敢跟擁有《Jurassic Park 侏羅紀公園》系列和《Fast & Furious 玩命關頭》系列的NBCUniversal對賭的理由。
有產業分析師認為AMC並不必然會贏,其一理由是它是最大但不是唯一,仍有其他電影院願意放映NBCUniversal電影(在此同時另外一個電影院品牌Ragel也宣佈跟進抵制),其二是AMC自己有太多體質上的麻煩,能否撐到抵制成功還很難說。佔AMC收入31%的餐飲收入近年在努力改進餐點後開始成長,但佔收入60%的電影票收入卻始終低迷,AMC怪罪景氣循環和電影本身不好,但觀眾正在離開電影院卻是事實。AMC近年為了吸引客人回流大量舉債投資改善設備,為了這波疫情AMC一方面債務重組一方面又發行了5億公司債,以便維持到11月之前的現金流。11月並不遙遠,而且就算疫情已緩仍有可能有第二波、第三波。一再傳出可能破產AMC的銀彈是否足夠讓他們打贏這場空窗期是個大問題。
Forbes的產業專家也說現在投資連鎖電影院的不是傻子就是瘋狂的天才:
Forbes的報導中推論即便夏天疫情消退之後電影院重新開門營業,也會面臨嚴重的票房下滑,因為觀眾不一定願意出門,而且電影院的座位安排仍然需要依照社交距離的規定減少可售張數。NATO美國電影院經營者協會執行長John Fithian 《Tenet 天能》如果能在7月如期上映的話,票房開低的機會不小(但會因為欠缺競爭對手而得以佔據電影院數個月繼續收成)。
按照過去流感會在10月重新開始流行的模式,COVID-19疫情很可能再度升溫,嚴重時可能導致電影院再度關門。專家認為全年下來電影票房應該會少到59%以上,如果以AMC電影院2019年的營業額54.7億美元來說,可能會驟減至23億。
中長期來說,美國人進電影院的頻率一直在下滑,電影院的收入偶見成長都是因為提高票價和爆米花價格所致。疫情只會加速這個方向,因此只有傻子才會投資電影院。作者用經典喜劇《Monty Python and the Holy Grail聖杯傳奇》中的橋段來比喻AMC抵制Universal的作法:亞瑟王砍掉擋路的敵人一隻手,對方堅稱只是一點小擦傷,直到四肢都被砍斷仍抵死不認輸,但亞瑟王早已揚長而去。那個亞瑟王叫做Netflix。另一方面,作者也一再鼓吹片廠應該利用這個時候買下電影院,以便確保票房收入,並取代長期欠缺資力的電影院老闆來下重本提升電影院體驗,藉以迎戰Netlfix。
AMC不是孤單的,全世界的電影院業者都在想盡辦法活下去:
英國連鎖電影院VUE請求房東100%減免房租以讓他們度過難關。VUE旗下全歐洲228家電影院都已經停業,唯一的例外是該公司在台灣經營的星橋國際影城。
好消息是歐洲的捷克和挪威都已經先後宣佈電影院重新開放的時程和條件。
另一個值得關注的電影院產業動向是強調用餐體驗的Alamo Drafthouse電影院執行長兼創辦人Tim League將改任執行主席,並延攬來自Starbucks星巴克Shelli Taylor擔任新執行長。許多人預測長期深耕體驗營造並擁有堅貞粉絲的Alamo Drafthouse會是電影院產業進化並生存下來的下一步,這也是他們會從餐飲品牌引入高級主管的理由。Shelli Taylor過去是星巴克在中國擴張的主將,一手將中國的星巴克版圖從500家擴展為她離職時的3000家。所以這是否還意味Alamo Drafthouse可能在疫情過後選擇更激進的擴張策略(比如併購在疫情中破產的電影院)?
另外一家跟電影院業緊密相關的企業是Imax。Imax第一季財報顯示業績嚴重下滑56%,但該公司強調他們有充裕的現金足以稱過這場世界級的災難。Imax執行長Rich Gelfond 認為美國正在上演的AMC大戰Univeral的戲碼,Imax認為這場仗的標的與他們無關,因為《Trolls World Tour 魔髮精靈唱遊世界》本來就不是Imax會演的電影。但他認為電影院和片廠的衝突並沒有那麼高,因為要吸引觀眾回來這兩方缺一不可,大家都在努力協調試圖達成這個不可能的任務。他特別提及導演Christopher Nolan正不眠不休地想辦法讓他的新片《天能》在電影院放映:「我不知道全美國還有誰比Christopher Nolan更努力要讓電影院開門並在電影院發行他的電影」
Imax之所以老神在在,是因為該品牌最重要的市場——中國的電影院應該很快就有機會重新開門營業,因為中國政府需要電影院替商場帶來人潮、刺激經濟回溫。
另一方面,早了三個月開打的中國版「空窗期」大戰,電影院業者似乎處於上風:
原定今年1月上映的《囧媽》開第一槍跳過電影院直接在多個西瓜視頻首映之後,隨後又有《肥龍過江》在愛奇藝首映。當時也引發中國電影院業者聯名寫信向國家電影局求援,並揚言抗議日後的出品電影。但這個亞洲戰場的戰局本週突然有了新的局勢——路透社報導中國官方近期告訴電影業者將收緊「空窗期」的管理,避免再有中國電影跳過電影院直接上網路平台。在此同時中國國家電影局長局長王曉輝也在電影系統應對疫情視訊會議上公開說出「要維護院線電影窗口期規則」以及「加強對院線電影網絡播出的通盤規劃等字眼」。中國各省開始推出對電影院的扶持政策,包含各種補貼、貸款、獎勵等項目。
不具名的愛奇藝高層喊冤的說詞和NBCUniversal也大同小異:「我們的出發點仍然相同,就是讓人們看到好電影」。中國政府的介入將使電影院業者得到遲來的保護(正義?),而發行商和網路影音平台則再失商機。至少中國市場的空窗期是回來了。
光環退去的美國眾神
 ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄
過去一週的另一個個歷史性的時刻:2021年的奧斯卡獎將(暫時)接受他們長期視為無物的網路電影。
為了讓今年受疫情影響無法在電影院上映的電影也有報名參賽的機會,美國影藝學院宣佈明年的奧斯卡遊戲規則調整,將首度開放未經電影院放映的電影報名。即便堂堂美國影藝學院,在聲明稿的開頭仍須向電影院的基本教義派重申信他們的仰純度:「學院堅信沒有比電影院更偉大的方式體驗電影的魔法」,但疫情使他們不得不暫時破例。
不過影藝學院依舊劃清界線,要求必須原本訂有上映日期的電影才可以報名,同時排除本來就為了電視放映而拍攝的電視電影。對於尚未有發行商(因而沒有上映日期)的獨立製作來說要如何符合資格也是大問題。不過至少這個規定會讓許多還在猶豫要等明年或是今年就上串流的電影終於可以放心做決定。
對奧斯卡來說這個暫時的退讓是痛苦的,因為他們把自己定義為電影院體驗的最高聖殿,並且一直在重兵部署阻止Netflix進入這個聖殿。但這一年的「暫時」,很可能會開啟為時更長、更深遠的討論。討論那個他們現在連想都不敢想的問題:為什麼不?
為什麼不永遠接受網路電影?如果繼續排除網路電影,奧斯卡會不會越來越不相關?
這世界上有千百種頒獎典禮,奧斯卡偏偏成為典禮中的典禮,成為全世界最多人同時收看的直播電視有它的理由——在社群直播發明之前,奧斯卡是全世界的觀眾得以一窺這些背後有各自光環的明星,像我們一樣哭、一樣笑、一樣跌倒的唯一場合。奧斯卡讓這些神明更像人,更可以親近,也因此這個年度盛會活生生就像每年只會發生一次的神仙下凡。
這同時也是為什麼奧斯卡頒獎典禮收視率為什麼一去不回的理由。有了Facebook、Instagram、YouTube和Twitch等等直播平台,美國眾神們根本天天下凡了。
這波疫情成為全世界的神仙天天開直播開示信徒的。其中當然也有振奮人心的案例,比如在澳洲拍戲時確診的Tom Hanks夫婦一直在分享他們生病和復原的經驗,甚至還進一步捐出他們的血液來作為疫苗研究之用。
但這只是極少數正面案例。多的是像Elon Musk這樣言行乖張的名人被社群網路放大之後被看穿光環的案例。比如說我們的老朋友Madonna:
最近一直在IGTV上推播防疫日記的Madonna開始出現詭異的言行,比如宣佈她已經檢驗出COVID-19抗體,所以她打算明天開車出去玩,「呼吸一下COVID-19的新鮮空氣」。然而並沒有證據證明有抗體就足以對COVID-19免疫,請大家千萬不要學習Madonna同學。
衛報昨天刊出的分析就認為疫情正在將明星「去神格化」。社群媒介上如潮水般湧現的明星直播,原本應該要縮短我們跟明星之間的距離,最後卻達到相反的效果:我們看清楚了他們的奢豪生活跟我們完全不一樣,同時也看清楚了這種災難時刻過去獨攬注意力的他們根本派不上任何用場。這些神治不好我們的病。
同樣發生這個效應的是這幾年快速崛起的網紅們,本來每天賣臉蛋、賣話題、賣產品的網紅們最近這兩個月什麼注意力都分不到,預計將會是網紅經濟的一個轉折點。慢走~
|新聞出處|
4/26~5/2一週大事
AMC Theatres Refuses to Play Universal Films in Wake of 'Trolls: World Tour'(https://bit.ly/2VKvrCx)
‘Trolls World Tour’ Breaks Digital Records and Charts a New Path for Hollywood (https://on.wsj.com/)
Comcast’s Results Suffer as Coronavirus Hits Theme Parks, Movie Business(https://on.wsj.com/3cYBM39)
Only Fools, Mad Geniuses, And Daredevils Would Invest In A Theater Chain( https://bit.ly/3aRChdW)
Alamo Drafthouse Gets New CEO, Tim League to Become Executive Chairman(https://bit.ly/2KP4tU3)
China to tighten rules to stop movies from premiering online (https://reut.rs/2KJsVWU)
Oscars Rule to Allow Films to Skip a Theatrical Release This Year(https://nyti.ms/3d2FSXN)
Tom Hanks’ Blood Is Being Used to Develop Coronavirus Vaccine (https://bit.ly/2VKQHbz)
Madonna Says She Has Coronavirus Antibodies, Wants to ‘Breathe in the COVID-19 Air’(https://bit.ly/2YmXCt7)
‘There’s a sense that celebrities are irrelevant’: has coronavirus shattered our fame obsession?(https://bit.ly/2z0wO7d)
2012 oscars 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最佳解答
"ถ้าไม่มี The Dark Knight แล้ว มันอาจเป็นไปไม่ได้เลยที่จะทำหนังฟอร์มยักษ์เนื้อหาจริงจัง เพราะผู้คนก็จะเอาแต่พูดว่า 'มันมีด้านมืดมากเกินไป ใครจะไปอยากดู' แต่เมื่อเรายก The Dark Knight เป็นตัวอย่างแล้วบอกว่า 'ดูนั่นสิ หนังที่มีด้านมืดกว่า และทำเงินได้เป็นพันล้าน' มันช่วยได้อย่างมาก ทั้งยังบอกอีกด้วยว่า มันมีความเป็นไปได้ที่จะสร้างหนังที่มีด้านมืดหม่น แต่ผู้คนก็ยังไปชมกัน" คำกล่าวยกย่อง The Dark Knight จากปาก แซม เมนเดส ผู้กำกับ Skyffall แสดงให้เห็นชัดเจนว่าผลงานหนังซูเปอร์ฮีโร่ของคริสโตเฟอร์ โนแลน พลิกโฉมวงการหนังบล็อกบัสเตอร์มากขนาดไหน สตูดิโอไม่สามารถดูแคลนรสนิยมของผู้ชมได้อีกต่อไป
.
"มันคงเป็นเรื่องน่าเศร้าถ้าหนังเนื้อหาจริงจังกลายเป็นหนังเล็กมาก และหนังฟอร์มยักษ์ถูกสร้างขึ้นเพื่อความบันเทิงโดยไม่มีสาระอะไรเลย แต่สิ่งที่โนแลนพิสูจน์ให้เห็นก็คือ เราสามารถสร้างหนังฟอร์มยักษ์ ที่ทั้งระทึกขวัญและให้ความบันเทิง แถมมีสาระเกี่ยวกับโลกที่เราอาศัยอยู่" แซม เมนเดส ตอกย้ำชัดเจนถึงอิทธิพลของ The Dark Knight ต่ออุตสาหกรรมหนังฮอลลีวูดยุค 2010's ได้เป็นอย่างดี
.
นั่นเป็นแค่ประเด็นหนึ่งหลังความสำเร็จของ The Dark Knight เพราะสิ่งที่ทรงอิทธิพลยิ่งกว่านั้นคือการทำให้การประกาศผลรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ที่เคยเข้าชิงได้เพียง 5 เรื่อง ต้องเปลี่ยนกฎในปีต่อมา เพิ่มจำนวนหนังเข้าชิงเป็นขั้นต่ำ 5 เรื่องแต่ไม่เกิน 10 เรื่อง เพียงเพราะกระแสหลัง The Dark Knight ไม่ได้เข้าชิงออสการ์ในปีนั้น และนำมาซึ่งการเพิ่มความหลากหลายของสมาชิกที่มีสิทธิ์โหวตรางวัลออสการ์อีกด้วย
.
ย้อนกลับไปเมื่อปี 2008 ก่อนเข้าสู่เทศกาลประกาศผลรางวัลออสการ์ The Dark Knight เดินหน้าสร้างปรากฎการณ์ต่าง ๆ มากมาย ตั้งแต่การเป็นหนังทำรายได้สูงสุดประจำปี 2008 เฉพาะในอเมริกาคือทำเงินไป 530 ล้านเหรียญฯ ทิ้งห่าง Iron Man อันดับรองมาถึง 212 ล้านเหรียญฯ หนังได้รับคำวิจารณ์ระดับดีเยี่ยม ไม่ต้องพูดถึงกระแสตอบรับจากคนดูที่แทบจะเป็นปรากฎการณ์บอกต่อแห่งปี ในช่วงฤดูกาลประกาศรางวัล The Dark Knight ยังติด Top 10 หนังแห่งปีจากสถาบันภาพยนตร์อเมริกัน, โนแลนมีชื่อเข้าชิงผู้กำกับยอดเยี่ยม ของสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์อเมริกา, หนังยังเข้าชิง PGA ซึ่งเป็นรางวัลที่มักอ้างอิงกับออสการ์เสมอ
.
เรียกว่าแทบจะปูทางพร้อมสำหรับการติด 1 ใน 5 หนังเข้าชิงรางวัลออสการ์ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมปี 2008 ในปีที่มีตัวเต็งนอนมาอย่าง Slumdog Millionaire, Milk, Frost/Nixon, และ The Curious Case of Benjamin Button ซึ่งยังเหลือสล็อตว่างอีก 1 ตำแหน่งเพียงพอที่จะให้ The Dark Knight เบียดเข้าไป แต่ปรากฎว่าตำแหน่งนั้นตกเป็นของ The Reader หนังม้ามืดนอกสายตาที่ฮาร์วีย์ ไวน์สตีน โหมโปรโมทจนแซงโค้งเข้าชิงจากการแสดงของ เคท วินสเล็ต
.
ผลกระทบเบื้องต้นกลายเป็นที่ถกเถียงอย่างมาก เริ่มตั้งแต่ยอดคนดูการประกาศผลรางวัลที่ต่ำสุด 2 ปีติดต่อกัน นับตั้งแต่ปี 1980 (หากไม่นับปี 2003 ซึ่งปีนั้นออสการ์จัดงานหลังสหรัฐฯ เริ่มโจมตีอิรักเพียง 3 วัน) โดยข้อสันนิษฐานที่ถูกหยิบยกมาอ้างอิงมากที่สุดคือผู้ชมไม่สนใจจะดูการประกาศผลรางวัลที่พวกเขาแทบไม่รู้จักหนังเข้าชิงสักเรื่อง โดยหนังเข้าชิงภาพยนตร์ยอดเยี่ยมที่ทำเงินมากที่สุดในปีนั้นคือ The Curious Case of Benjamin Button ยังทำเงินก่อนประกาศรางวัลแค่หลัก 104 ล้านเหรียญฯ, รองมาคือ Slumdog Millionaire 45 ล้านเหรียญฯ ส่วน 3 เรื่องที่เหลือทำเงินรวมกันยังแค่ 38 ล้านเหรียญฯ เท่านั้น
.
ทำให้ 4 เดือนต่อมาหลังการประกาศผลรางวัลออสการ์ปี 2009 ทาง AMPAS ได้ออกแถลงการณ์ประกาศเพิ่มจำนวนหนังเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมจากเดิม 5 เรื่องเป็น 10 เรื่อง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 1945 (ก่อนหน้านั้นในช่วงยุค 30's ถึงต้นยุค 40's สามารถเข้าชิงได้ 8-12 เรื่อง) ซึ่งทำให้รางวัลออสการ์ปี 2010 เริ่มมีความหลากหลายของหนังที่เข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม มีตั้งแต่หนังใหญ่แบบ Avatar, มีพื้นที่ให้แอนิเมชั่นดี ๆ แบบ Up, โดยที่หนังเล็ก ๆ อย่าง An Education ก็ยังมีพื้นที่ได้เข้าชิงถ้าหากคุณภาพดีพอ ซึ่งความเปลี่ยนแปลงนี้ยังส่งมาถึงปี 2011 ที่แอนิเมชั่น Toy Story 3 และบล็อกบัสเตอร์ระดับ Inception ยังคงเข้าชิงโดยไม่เบียดพื้นที่ของหนังอินดี้แบบ Winter's Bone
.
ก่อนที่ในปี 2012 จะมีการเปลี่ยนแปลงกฎอีกครั้งเล็กน้อย โดยเปลี่ยนจากเข้าชิง 10 เรื่อง เป็นสูงสุดไม่เกิน 10 เรื่อง โดยใช้เกณฑ์การตัดคะแนนโหวตมาช่วยคำนวณหนังเข้าชิงรอบสุดท้าย
.
นับตั้งแต่ความเปลี่ยนแปลงเริ่มต้นขึ้น เราจึงได้เห็นหนังชนะรางวัลออสการ์สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมตลอด 11 ปีที่ผ่านมามีความหลากหลายมากขึ้น ปัจจัยเสริมที่สำคัญคือการปรับสมดุลสมาชิก AMPAS ที่มีสิทธิ์โหวตรางวัล จากเดิมที่เป็นชายผิวขาวสูงอายุ (มีผลต่อรสนิยมการโหวตหนังแน่นอน) ค่อย ๆ เพิ่มความหลากหลายทางเพศ/สีผิว/เชื้อชาติ/และอายุที่น้อยลงมา ซึ่งความเปลี่ยนแปลงล้วนเป็นการปรับตัวตามยุคสมัย อาจจะบอกว่าเป็นการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของเรตติ้งก็ได้ เพราะคงไม่มีใครสนใจจะติดตามผลรางวัลที่ควบคุมโดยชายแก่ผิวขาวไปตลอด
.
ส่วนตัวแล้วเราเชื่อว่าในแต่ละปี มันมีหนังที่คุณภาพดีพอจะเป็นผู้ชนะไม่มากหรอก อาจจะ 2-3 เรื่องที่เบียดกันในโค้งสุดท้าย แต่การที่หนังสามารถเข้าชิงได้ถึง 10 เรื่องนั้น เป็นปัจจัยเสริมสำคัญในแง่การเปิดกว้างพื้นที่ให้คนดูหนังได้ทำความรู้จักหนังเรื่องอื่น ๆ ไปด้วย ออสการ์อาจจะมีพื้นที่ให้หนังทำเงินประจำปีที่คุณภาพอยู่ในระดับดีพอสมควรมาเข้าชิงเพื่อดึงเรตติ้งคนดู แต่มันก็เป็นผลดีต่อหนังเล็ก ๆ คุณภาพดีได้เป็นที่รู้จักมากขึ้นหากได้อยู่ในเวทีรางวัลที่มีคนสนใจติดตามจำนวนมาก เพราะอย่างที่รู้กันว่าในแง่การตลาดนั้น พอแปะชื่อหนังเข้าชิงออสการ์ก็มีผลบวกต่อยอดขายแผ่น DVD หรือในปัจจุบันก็เพิ่มยอดคนดูในสตรีมมิ่งได้ไม่ยาก ถ้าเรามองออสการ์เป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมหนังก็ถือเป็นเรื่องน่ายินดีอยู่แล้ว
.
อย่างไรก็ตามในแต่ละปีก็ยังมีข้อถกเถียงของหนังเรื่องนั้นเรื่องนี้ไม่ได้เข้าชิงกันอยู่ แต่ในระยะยาวเราก็เชื่อว่าข้อถกเถียงอาจจะน้อยลงไปจากการเพิ่มสัดส่วนสมาชิกที่มีสิทธิ์โหวตรางวัลให้หลากหลายและคานน้ำหนักสมดุลกัน ซึ่งการปรับตัวก็เป็นหนทางหนึ่งเพื่อการอยู่รอด ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนกฎที่มีมายาวนานหลังกระแส The Dark Knight ชวดชิงออสการ์สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ที่ทำให้หลังจากนั้นเรตติ้งก็ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง แม้ช่วงหลัง ๆ การวัดเรตติ้งทางเคเบิ้ลทีวีอาจจะไม่ใช่เครื่องการันตีความนิยมเท่ากับกระแสการพูดถึงใน social network ก็ตาม
อ้างอิง
- https://www.reuters.com/article/us-oscars-television/oscars-draw-record-low-tv-ratings-idUSN2521078720080226
- https://www.escapistmagazine.com/v2/the-dark-knight-was-locked-out-of-the-oscars-but-changed-them-anyway/
- https://mediadecoder.blogs.nytimes.com/2009/06/24/oscars-to-go-with-10-nominees-for-best-picture-instead-of-five/
- https://www.thewrap.com/dark-knight-oscar-legacy-christopher-nolan/
- https://upload.wikimedia.org/wikipedia/en/timeline/fbbe88ddfbe6485f28cf8dc46e00f100.png
#หนังโปรดของข้าพเจ้า
2012 oscars 在 半瓶醋 Facebook 的最讚貼文
宥:
絕對值得大家進影廳,在大銀幕與環繞音效的環境,享受這技術精湛的偉大作品。
要我說,克里斯多福·諾蘭(Christopher Nolan)的【敦克爾克大行動】(Dunkirk,2017)就是非常難啃的實驗性戰爭片,更有那種「技術宅」鑽牛角尖的成分在其中;而【1917】雖然實驗性也極強,但卻一點也不減其中強大的娛樂效果。
【1917】:89分-救人,永遠來得及!
(1917,2020)
#第92屆奧斯卡金像獎
故事講述在一次世界大戰的西方戰線,兩名英國士兵,布雷克與史考菲,接到緊急命令,必須在一天之內,徒步穿越危機四伏的「無人區」,走到前線去向部隊傳達退命令,避免友軍的一千六百多條人命落入敵人的陷阱。
整部電影(幾乎是)一鏡到底,將視角聚焦於兩個穿越戰場的小兵,讓觀眾身歷其境地走過這片「死亡之地」,你會看到除了戰火留下的滿目瘡痍,以及無數的生靈曝屍荒野,什麼也沒有。
不同於【搶救雷恩大兵】(Saving Private Ryan,1998)那種死亡與暴力的血腥當下,讓你看到一個個士兵轉眼間就在你面前死去;本片更多是寫實地呈現這片已被「堅壁清野」的不毛地帶,讓觀眾知道,原來戰爭的可怕,不在於死亡與危險的本身,而在於事過境遷後的「無人生還」,是在那足以燎原、寸草不生的「仇恨」!
電影透過兩個為了拯救友軍而鋌而走險、穿越火線的小兵,與德軍種種「至人死地」、「不留活口」的手段作為強烈的對比。雖然是同一場戰爭,但是從「希望」和「仇恨」這兩種不同的立場出發,便呈現出「殺人」與「殺人」的巨大差異。
我不敢說【1917】的故事是多有深度或內涵,不過除了令人不安的戰爭場面之外,本片在文戲的安排確實也都有其用意,包括主角二人對於戰爭獎章價值的辯論、櫻桃樹的談話、法國村莊的奇遇,乃至於那烽火無阻的兄弟情,多少都象徵了人在面臨戰亂時的各種處世態度。
至於大家最關注的表現手法方面,這次的【1917】則可以說是山姆·曼德斯(Sam Mendes)前所未有的巔峰!除了簡單但卻不膚淺的故事之外;更重要的是,所有技術方面的成果,包括羅傑·狄金斯(Roger Deakins)的攝影、湯瑪斯·紐曼(Thomas Newman)的配樂,乃至於場景、服裝的美術設計等等,都只能用「精湛」來形容。(本片絕對應該拿一個「最佳攝影」)
電影的後段,畫面看著男主角心急如焚地在壕溝邊跑,後面的士兵開始往戰場上衝,配上磅礡而悲壯的背景音樂,雖然鏡頭是如此的沉穩,但當時的氛圍簡直讓人緊張得咬牙切齒。因為你知道隨著時間一分一秒的過去,那一個一個往前衝的士兵全都是去送死,而那全都是男主角的責任。我想前面鋪陳了那麼久,描述了這麼多戰爭的殘酷,所有的劇情設計、呈現手法,都意在將張力堆疊、累積到最後這一段,要觀眾感受到,那讓人喘不過氣的「來不及」的壓力!
光就這段的營造,本片就可以說是娛樂性十足了。
眾所周知的,導演初期其實是以【美國心玫瑰情】(American Beauty,1999)這樣文藝向的劇情片而受到影壇關注;即便是接下來也有拍黑道片或戰爭片,但【非法正義】(Road to Perdition,2002)、【鍋蓋頭】(Jarhead,2005)這樣緩慢深沉的故事節奏與對鏡頭語言的重視,仍被認為是藝術性較強的創作者。而一直到【007:空降危機】(Skyfall,2012)時,他便展現出了對於商業娛樂片與眾不同的眼光,在華美的畫面與精彩的動作場面之間找到了完美的平衡點。即便接下來的【007:惡魔四伏】(Spectre,2015)不甚理想,但開頭那將近五分鐘的長鏡頭,也已經可以看出山姆·曼德斯在技術、娛樂,以及視覺美學上的野心,他絕對不只是一個自溺、軟綿綿的文藝青年。之後能有【1917】這樣的大膽嘗試,也不會太出乎意料。
要我說,克里斯多福·諾蘭(Christopher Nolan)的【敦克爾克大行動】(Dunkirk,2017)就是非常難啃的實驗性戰爭片,更有那種「技術宅」鑽牛角尖的成分在其中;而【1917】雖然實驗性也極強,但卻一點也不減其中強大的娛樂效果。
在我看來,【1917】最不簡單的是,在這個無腦爆米花大片氾濫的世道,還有電影人願意老老實實地用「畫面」來說故事。而看完電影之後,相信我,山姆·曼德斯以及其團隊所展現的深厚的說故事功力,比任何華而不實的運鏡、剪接和空洞的感官刺激,都來得震撼人心!絕對值得大家進影廳,在大銀幕與環繞音效的環境,享受這技術精湛的偉大作品。
#宥影評 #1917 #SamMendes #KrystyWilsonCairns #GeorgeMacKay #DeanCharlesChapman #RogerDeakins #ThomasNewman
#92ndAcademyAwards #Oscars
#最佳影片 #BestPicture 提名/ #最佳導演 #BestDirector 提名/ #最佳原創劇本 #BestOriginalScreenplay 提名/ #最佳原創音樂 #BestOriginalScore 提名/ #最佳音效剪輯 #BestSoundEditing 提名/ #最佳音效 #BestSoundMixing 獲獎/ #最佳美術設計 #BestProductionDesign 提名/ #最佳攝影 #BestCinematography 獲獎/ #最佳化妝與髮型設計 #BestMakeupAndHairstyling 提名/ #最佳視覺效果 #BestVisualEffects 獲獎
延伸閱讀:
【電影名人堂-山姆·曼德斯】
https://www.facebook.com/…/a.23331224867…/2595720207128476/…
【山姆曼德斯真的在學諾蘭嗎?】
https://www.facebook.com/…/a.14320876868…/2978615552172271/…
【007:空降危機 - 黎明、鏡子、新龐德】
https://www.facebook.com/…/a.13747545358…/1950455061654997/…