BREAKING: จีนเจอปัญหา ขาดแคลนไฟฟ้าหนัก กระทบการส่งมอบ สินค้าทั่วโลก
จีนกำลังเจอกับวิกฤติด้านพลังงาน ที่ทำให้ประเทศขาดแคลนไฟฟ้า และส่งผลกระทบโดยตรงต่ออุตสาหกรรมการผลิต และระบบซัปพลายเชนทั้งระบบ เนื่องจากจีนเป็นผู้ผลิตและส่งออกสินค้ารายใหญ่ที่สุดของโลก
ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีต้นตอมาจาก 2 ปัจจัยหลัก ๆ คือ
1) ทางการจีนต้องการลดมลพิษภายในประเทศ จึงได้ออกคำสั่งให้ 20 มณฑลของจีน จะต้องถูกตัดไฟบางส่วน เพื่อลดการใช้พลังงาน ซึ่งเป็นต้นเหตุของการสร้างมลพิษ
พร้อมกับขอให้ประชาชนช่วยกันประหยัดไฟ และลดการใช้ไฟฟ้า
ซึ่งพื้นที่ดังกล่าว ที่ถูกสั่งให้ตัดไฟฟ้าบางส่วน ครอบคลุม GDP มากกว่า 66% ของประเทศ
และมาตรการนี้ ยังมุ่งเป้าไปที่อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น โรงงานผลิตสิ่งทอ, โรงงานอะลูมิเนียม
2) ราคาถ่านหินที่สูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ ทำให้ต้นทุนการผลิตพลังงานไฟฟ้าสูงขึ้น โดยส่วนหนึ่งก็เพราะปัญหาที่จีนกับออสเตรเลียมีข้อพิพาทระหว่างกัน ซึ่งเดิมออสเตรเลียเคยส่งออกถ่านหินให้จีนเป็นจำนวนมาก แต่ในตอนนี้จีนต้องพยายามจัดหาถ่านหินจากแหล่งอื่นแทน
ในขณะที่หน่วยงานกำกับดูแลด้านราคาไฟฟ้าของจีน ก็มีการควบคุมค่าไฟฟ้าสำหรับครัวเรือนและธุรกิจ ให้อยู่ในระดับต่ำ จึงทำให้โรงงานไฟฟ้าขึ้นราคาได้ไม่มาก
จนทำให้โรงงานไฟฟ้าประสบปัญหาขาดทุนในทุก ๆ หน่วยไฟฟ้าที่ผลิตออกมาได้
พอเรื่องเป็นแบบนี้จึงทำให้โรงงานไฟฟ้าเลือกที่จะชะลอการผลิตไฟฟ้า ซึ่งสวนทางกับความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจทั่วโลกที่ต้องการสินค้าจากจีนในช่วงนี้
และนั่นก็เป็นที่มาของการขาดแคลนไฟฟ้าในประเทศจีนตอนนี้
ซึ่งถ้าถามว่า พลังงานไฟฟ้าจากการเผาถ่านหิน สำคัญกับจีนมากแค่ไหน ?
ก็ตอบได้เลยว่า คิดเป็นการผลิตพลังงาน 2 ใน 3 ของพลังงานที่จีนใช้ทั้งประเทศ..
ดังนั้น เรื่องนี้จึงกลายเป็นวิกฤติครั้งใหญ่ของจีน ที่คาดว่าจะส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง
เพราะมีผลกระทบโดยตรงต่อผู้ผลิตในหลากหลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมเสื้อผ้า, สิ่งทอ และของเล่น จะได้รับผลกระทบหนัก เนื่องจากในช่วงปลายปีนี้ เป็นฤดูแห่งการช็อปปิง
ซึ่งตามปกติแล้ว ตอนนี้ก็ควรมีการเร่งการผลิต เพื่อให้ผลิตสินค้าได้ทันเวลา และเพียงพอต่อความต้องการ
นอกจากนี้ ผลกระทบของวิกฤติขาดแคลนไฟฟ้านี้ ยังลามไปถึงโรงงานที่ผลิตสินค้าให้กับบริษัทระดับโลก อย่าง Apple และ Tesla ด้วย
โดยเมื่อไม่กี่วันก่อนหน้านี้ ได้มีข่าวออกมาว่า ลูกค้าที่สั่งจอง iPhone 13 กับทาง Apple อาจต้องรอนานกว่า 1 เดือน
เนื่องจากติดปัญหาในระบบซัปพลายเชน ซึ่งส่วนหนึ่งก็มาจากโรงงานในจีน ที่ลดกำลังการผลิตลง ตามมาตรการของทางการจีน ที่ต้องการลดมลพิษ
ทั้งนี้ ด้านผู้ผลิตในจีน ได้ออกมาเตือนว่ามาตรการที่เข้มงวดดังกล่าว จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างมหาศาล
เพราะพื้นที่แค่ 3 มณฑล ซึ่งได้รับผลกระทบต่อมาตรการดังกล่าว เช่น เจียงซู, เจ้อเจียง และกวางตุ้ง รวมกัน
ก็คิดเป็นเกือบ 1 ใน 3 ของ GDP ทั้งประเทศแล้ว
นอกจากนี้ การลดกำลังการผลิตของโรงงานในจีน จะทำให้ร้านค้าหลายแห่งทั่วโลก มีปัญหาในการจัดการสินค้าในสต็อก ทำให้ของขาดตลาด และอาจทำให้สินค้าแพงขึ้น จนเกิดเงินเฟ้อได้
ซึ่ง ณ ตอนนี้ ตลาดโลกก็จะเริ่มรู้สึกถึงการขาดแคลนสินค้าต่าง ๆ ตั้งแต่สิ่งทอ, ของเล่น, เสื้อผ้า ไปจนถึงชิ้นส่วนเครื่องจักร
เรียกได้ว่า ส่งผลกระทบต่อซัปพลายเชนทั้งระบบ ในหลาย ๆ อุตสาหกรรม
แน่นอนว่าพอเรื่องเป็นแบบนี้ หลายสถาบันการเงิน จึงได้ออกมาปรับลดการคาดการณ์ GDP ของจีน ในปีนี้
เช่น ทางด้าน Nomura สถาบันการเงินของญี่ปุ่น ได้ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของ GDP ในช่วงไตรมาส 4 ของปีนี้ เป็น 3% จากเดิมที่คาดว่าจะขยายตัว 4.4%
ที่สำคัญคือ เรื่องนี้อาจส่งผลกระทบและลามมาถึงประเทศไทยด้วย
เพราะหากไปดูในปี 2020 ที่ผ่านมา มูลค่าสินค้าที่ไทยนำเข้าจากจีน สูงถึง 1.7 ล้านล้านบาท
โดยสินค้าที่นำเข้ามากที่สุด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักรต่าง ๆ
นอกจากนี้ ไทยยังมีสินค้าแฟชั่น ที่มีการนำเข้าจากจีนในปริมาณที่สูงมากเช่นกัน
ดังนั้น ถ้าโรงงานในจีนลดกำลังการผลิตลง จนสินค้าในตลาดมีน้อยลง หรือขาดตลาด
และราคาสินค้าปรับตัวสูงขึ้น ก็จะกระทบต่อการนำเข้าของประเทศไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
พอเห็นแบบนี้ ก็ยิ่งต้องลุ้นกันต่อไป ว่ารัฐบาลจีนจะแก้ปัญหานี้อย่างไรบ้าง
และประเทศไทย จะได้รับผลกระทบแค่ไหนจากวิกฤติไฟฟ้าของจีนในครั้งนี้..
References
-https://www.bloomberg.com/news/newsletters/2021-09-28/supply-chain-latest-china-s-power-curbs-to-hit-global-economy
-https://www.reuters.com/technology/many-apple-tesla-suppliers-halt-production-china-amid-power-pinch-2021-09-27/
-https://www.straitstimes.com/business/economy/chinas-electricity-shock-is-latest-supply-chain-threat-to-world
-https://tradingeconomics.com/thailand/imports/china
同時也有6部Youtube影片,追蹤數超過147萬的網紅Kento Bento,也在其Youtube影片中提到,This video was created in partnership with Bill Gates, inspired by his new book “How to Avoid a Climate Disaster.” Find out more here: http://gatesnot...
「china electricity」的推薦目錄:
china electricity 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
เปรียบเทียบต้นทุน การขุดทองคำ VS บิตคอยน์ /โดย ลงทุนแมน
คงปฏิเสธไม่ได้ว่าทั้งทองคำและคริปโทเคอร์เรนซี โดยเฉพาะบิตคอยน์ ที่ใครหลายคนนิยามว่าเป็นทองคำดิจิทัล ได้กลายมาเป็นหนึ่งในตัวเลือกการลงทุนของใครหลายคน
หากเรามาดูมูลค่าทองคำ แร่ต่าง ๆ และคริปโทเคอร์เรนซี
ทองคำ 374 ล้านล้านบาท
เงิน 44 ล้านล้านบาท
บิตคอยน์ 29 ล้านล้านบาท
แพลเลเดียม 14 ล้านล้านบาท
อีเทอเรียม 12 ล้านล้านบาท
จะเห็นได้ว่าคริปโทเคอร์เรนซี มีมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยมูลค่าที่เราเห็นนั้น นอกจากจะเป็นผลมาจากความต้องการซื้อและความต้องการขายของตลาดแล้ว ส่วนหนึ่งยังมาจาก “ต้นทุน” ในการผลิต ซึ่งสำหรับทองคำและบิตคอยน์ ถูกเรียกเหมือนกันว่าการขุด ต่างกันตรงที่เราจะขุดทองคำในโลกจริง แต่ขุดบิตคอยน์ในโลกเสมือน
แล้วเราเคยสงสัยไหมว่า ต้นทุนในการผลิตทองคำและบิตคอยน์
ประกอบไปด้วยอะไรบ้างและต่างกันอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เริ่มกันที่ต้นทุนในการผลิตทองคำ
สำหรับทองคำ เราจะมีศัพท์เฉพาะในอุตสาหกรรมนี้ เรียกว่า “All-In Sustaining Cost”
All-In Sustaining Cost หมายถึง ต้นทุนในการผลิตทองคำเพื่อความยั่งยืน ซึ่งจะเป็นการประเมินต้นทุนสำหรับผู้ผลิตทองคำแต่ละรายว่าจะยังคงมีกำไรและมีความสามารถในการผลิตทองคำต่อไปได้หรือไม่ในอนาคต
โดย All-In Sustaining Cost จะประกอบไปด้วยค่าใช้จ่ายทุกอย่างของบริษัทที่ใช้ไปในกิจการเหมืองขุด รวมถึงกระบวนการแปรรูปทองคำ
เช่น ค่าแรงงานและพลังงาน ค่าขนส่ง ค่าสัมปทาน ค่าสำรวจ ค่าอุปกรณ์ รวมถึงค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับอาคารสำนักงาน
หากอ้างอิงจากต้นทุนของเหมืองทอง Polyus ในประเทศรัสเซีย ซึ่งมีต้นทุนในการผลิตทองคำ ถูกที่สุดในโลก จะมี All-In Sustaining Cost ต่อหน่วยประมาณ 604 ดอลลาร์สหรัฐต่อทรอยออนซ์
ในขณะที่ราคาทองคำ ณ ปัจจุบันอยู่ที่ 1,800 ดอลลาร์สหรัฐต่อทรอยออนซ์ เท่ากับว่าต้นทุนในการผลิตทองคำที่ถูกที่สุดในโลก จะคิดเป็นสัดส่วนราว 34% ของมูลค่าทองคำที่ซื้อขายกันในตลาด ณ ตอนนี้
ในขณะที่ต้นทุนในการขุดของบิตคอยน์นั้น จะไม่ได้มีมาตรฐานการหาต้นทุนแบบทองคำ
แต่หลัก ๆ ต้นทุนของการขุดบิตคอยน์ ก็จะมาจาก
1. อุปกรณ์ที่ใช้ในการขุดซึ่งที่นิยมใช้มีทั้งการใช้การ์ดจอหรือการใช้เครื่องขุดโดยเฉพาะ
ที่เรียกว่า Application-Specific Integrated Circuit หรือ ASIC
2. พลังงานที่ใช้ในการขุด หรือก็คือพลังงานไฟฟ้า
สำหรับคำศัพท์เฉพาะของวงการขุดบิตคอยน์ ก็จะมีคำว่า “Hash Rate” หรือกำลังการคำนวณที่ผู้ขุดใช้เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการทำธุรกิจบนบล็อกเชน ซึ่งก็ใช้วัดตั้งแต่ระดับอุปกรณ์ในการขุดและของทั้งระบบ
ทุกอุปกรณ์จะต้องการพลังงานไฟฟ้าที่มีหน่วยเป็น Watt ถ้าหากอุปกรณ์มี Hash Rate ที่ต่ำภายใต้การใช้ Watt เท่ากัน ก็แปลว่าอุปกรณ์นั้นจะมีประสิทธิภาพที่ไม่ดี ก็จะทำให้เราต้องใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึ้นในการขุดบิตคอยน์จำนวนเท่ากัน นั่นหมายถึงต้นทุนของเราก็จะเพิ่มขึ้น ตามไปด้วย
ซึ่งเราก็ต้องมาดูต่อว่ากำลังในการผลิต ค่าไฟฟ้าที่เราใช้ เมื่อเทียบกับอายุการใช้งานของเครื่องขุดเรา จะคุ้มกับมูลค่าของบิตคอยน์ ณ เวลานั้น ๆ หรือไม่ นั่นเอง
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ประเทศจีนนับเป็นประเทศแห่งการขุดบิตคอยน์ สะท้อนให้เห็นจากในปี 2019 ประเทศแห่งนี้ มีส่วนแบ่งการขุดบิตคอยน์มากถึง 75% ของการขุดทั่วโลก
แต่หลังจากที่รัฐบาลจีนมีนโยบายปราบปรามเหมืองขุดคริปโทเคอร์เรนซีทั่วประเทศ ก็ได้ทำให้บรรดาเหมืองขุด ต่างพากันเทขายอุปกรณ์ขุด ในขณะที่บางส่วนได้ย้ายฐานไปยังประเทศอื่น
ซึ่งประเทศสหรัฐอเมริกา นับเป็นฐานการขุดบิตคอยน์แห่งใหม่ที่กำลังเติบโต
ที่บอกแบบนี้ก็เพราะว่าส่วนแบ่งการขุดบิตคอยน์ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในช่วงต้นปี 2020 ที่มีเพียง 5% ได้ขยับขึ้นมาเป็น 17% ในปี 2021
แต่จากการย้ายฐานการผลิตดังกล่าวก็ทำให้ต้นทุนรวมของการขุดบิตคอยน์สูงขึ้น จากต้นทุนค่าพลังงานที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งสหรัฐอเมริกามีค่าไฟฟ้าประมาณ 0.15 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง ในขณะที่จีนมีค่าไฟฟ้าเพียง 0.09 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง
ทีนี้ เราลองมาดูกันว่าต้นทุนในการขุดบิตคอยน์หนึ่งเหรียญ จะมีมูลค่าเท่าไร ?
จริง ๆ แล้ว การหาต้นทุนในการขุดบิตคอยน์นั้นทำได้ค่อนข้างยาก เพราะผู้ขุดแต่ละคน
ก็จะมีวิธีการจัดอุปกรณ์ขุดที่ต่างกันออกไป และส่วนใหญ่จะใช้เครื่องขุดเป็นจำนวนมาก
ในที่นี้ เราจึงนำสมมติฐานของ Miner Daily ที่ได้ระบุว่าโดยทั่วไป
เครื่องขุดบิตคอยน์ ASIC จะมีอายุการใช้งานราว 4 ปี
และหากเราใช้เครื่อง ASIC เครื่องเดียว ก็จะใช้เวลาขุด 4 ปี ถึงจะได้มา 1 บิตคอยน์
นั่นเท่ากับว่าเราสามารถนำมูลค่าเฉลี่ยของ ASIC มาบวกกับค่าไฟเพื่อเป็นต้นทุนได้
ซึ่งวิธีนี้ก็ถือเป็นเพียงตัวอย่างการคำนวณต้นทุน เพราะในทางปฏิบัติคงมีน้อยคนที่ใช้เครื่อง ASIC 1 เครื่องขุดบิตคอยน์เป็นเวลา 4 ปี
สำหรับค่าเฉลี่ยของเครื่องขุดที่ Miner Daily เฉลี่ยเอาไว้อยู่ที่ 7,946 ดอลลาร์สหรัฐต่อเครื่อง
ในขณะที่ค่าไฟตลอดระยะเวลาการขุดเพื่อให้ได้ 1 บิตคอยน์
ที่ 0.09 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง ตามค่าไฟในประเทศจีน
ต้นทุนทั้งหมดจะอยู่ที่ 26,693 ดอลลาร์สหรัฐ
คิดเป็น 56% ของมูลค่าบิตคอยน์ (ให้ปัจจุบัน บิตคอยน์ 47,369 ดอลลาร์สหรัฐต่อเหรียญ)
ที่ 0.15 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง ตามค่าไฟในประเทศสหรัฐอเมริกา
ต้นทุนทั้งหมดจะอยู่ที่ 39,191 ดอลลาร์สหรัฐ
คิดเป็นราว 83% ของมูลค่าบิตคอยน์ (ให้ปัจจุบัน บิตคอยน์ 47,369 ดอลลาร์สหรัฐต่อเหรียญ)
จากสมมติฐานดังกล่าว ก็จะเห็นได้ว่า ทั้งต้นทุนในการขุดทองคำจะถูกกว่าราคาตลาดอยู่พอสมควร
แต่สำหรับการขุดบิตคอยน์นั้น ต้นทุนจะมีความแตกต่างกันมาก ตามค่าไฟในแต่ละประเทศ
ถึงตรงนี้ เราก็คงจะพอเห็นภาพว่าทั้งการขุดทองคำและขุดบิตคอยน์ก็จะมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง และแต่ละประเภท ก็มีความผันผวนและความเสี่ยงที่ไม่เหมือนกัน
อย่างไรก็ตาม ด้วยความที่ทั้ง 2 สินทรัพย์ ยังมีจุดร่วมเดียวกันก็คือ “การมีอยู่อย่างจำกัด” ซึ่งก็ถือเป็นคุณสมบัติ ที่ทั้งนักลงทุนและใครหลายคน เชื่อมั่นว่าจะช่วยให้เรากักเก็บความมั่งคั่งเอาไว้ได้
ซึ่งบางที ความเชื่อของเราที่สร้างขึ้นมาเองนั้น อาจจะเป็นส่วนที่สร้างมูลค่าเพิ่ม
ให้กับทั้งทองคำและบิตคอยน์ มากกว่าต้นทุนในการผลิต ก็เป็นได้..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://goldtraders.or.th/ArticleView.aspx?gp=2&id=692
-https://minerdaily.com/2021/how-much-does-it-cost-to-mine-a-bitcoin-update-may-2021/
-https://minerdaily.com/2021/how-much-power-does-it-take-to-mine-a-bitcoin/#How_much_power_does_it_take_to_mine_a_bitcoin_with_S19_Pros
-https://www.statista.com/statistics/263492/electricity-prices-in-selected-countries/
-https://www.buybitcoinworldwide.com/mining/hardware/
-https://polyus.com/en/investors/disclosure/annual-reports/
-https://cbeci.org/mining_map
-https://technode.com/2021/05/24/crypto-mining-moves-to-north-america-as-china-cracks-down/
-https://www.cnbc.com/2021/07/17/bitcoin-miners-moving-to-us-carbon-footprint.html
china electricity 在 Facebook 的精選貼文
最近,我在「TIME時代」雜志的專欄文章裡,向全球的讀者介紹了大陸「世界工廠」的+AI自動化升級。隨著勞動力成本的上漲,工業自動化、智慧化勢必是大陸製造業的一劑特效藥。自動化能讓運營成本下降,但仍能讓中國大陸保持生產品質、流程、供應鏈維度的優勢。AI賦能產業升級的願景或許還需多年才能實現,但當下的大陸已經讓未來可期。
以下是專欄文章全文,經TIME授權翻譯轉載:
「中國世界工廠 + AI 的未來」
多年來,中國大陸一直被喻為「世界工廠」,即便在全球其他經濟體紛紛遭遇新冠疫情重擊的2020年,大陸製造產業仍然維持穩健的增長范式,全年產值高達3.854萬億美元,占到全球市場近三分之一。
但如果你腦中的大陸工廠是傳統的「血汗工廠」,是時候修正你的刻板印象了。大陸經濟已經迅速地從疫情衝擊下復蘇,疫情同時催化了各種各樣人工智慧(AI)的應用場景加速實現。自2014年以來,中國大陸的AI專利申請量已經超越美國,至今維持全球領先。在學術領域,中國大陸的AI研究論文發表數量、AI期刊的引用量,也雙雙在近年超過了美國。在產業方面,AI應用在大陸的落地速度超越世界其他國家和地區,具有商業價值的AI應用如今開始百花齊放,整合了軟體、硬體和機器人技術的新一代自動化揭開序曲,AI賦能傳統行業的能量,正在蓄勢待發地重塑各行各業。
人類社會至今經歷了三次不同的工業革命:蒸汽革命、電力革命和資訊革命。我相信,AI將會是推動全球第四次工業革命的核心引擎,在世界各地點燃數位化和自動化的變革,而這波前所未有的硬科技浪潮,將由中國來引領實踐。
由於勞動人口減少和新增人口放緩,中國大陸的傳統產業正面臨著勞動力成本上升的巨大壓力,AI正是解決這個難題的技術解答。人工智慧不僅能夠降低運營成本,提高生產效率,擴大整體產能,還有望能帶來收入的增長。
例如,創新工場投資的廣州極飛科技是一家致力於未來農業的AI科技公司,極飛將無人機、機器人和感測器部署在稻田、麥田和棉花田裡,用技術賦能農業中的播種、農藥噴灑、栽種管理、甚至天氣監測環節。用於作物噴灑的極飛科技R150農業無人車已經被推廣到了英國,應用在蘋果、草莓、黑莓等多種經濟作物的種植流程中。
一些大陸的創新公司正積極把機器人拓展到意想不到的場景。總部位於北京的鎂伽是創新工場投資的生命科學智慧自動化公司,他們和實驗室、製藥公司、高校合作,憑藉AI+機器人技術的積累,用自動化解決方案執行實驗室中勞動密集、重複性高、但需要高度精確的任務和流程,同時機器人作業也將盡最大可能保護實驗室人員降低實驗過程中的感染風險。
除了創業公司,我們看到幾家成熟的龍頭企業也開始積極擁抱AI。創新工場參與了有28年歷史的中力電動叉車,這家頭部的鋰電叉車製造商已經推出了能夠在工廠、倉庫自主運行的無人叉車,並且無需對運行環境進行改造,能快速實現從手動到電動到自動駕駛的搬運賦能創新。此外,擁有50多年歷史的領先客車製造商-宇通集團,與自動駕駛獨角獸企業-文遠知行戰略合作,已在大陸三個城市的馬路上運行全無人駕駛小巴。
接著會發生什麼?我大膽預見,在更長遠的未來,機器人和AI將接管大多數產品的製造、設計、交付甚至營銷——很可能將生產成本降低到和原物料成本相差無幾。未來的機器人有能力自我複製和自我修復,甚至做到部分自我反覆運算設計。房屋和公寓將交由AI主導設計,使用預製建築模塊,交由機器人像搭積木似地築樓蓋房。無人公交、無人摩托等隨傳隨到的自動化未來交通系統,能將我們安全無虞地送達想去的地方。
這些願景成為現實或許還需要多年,但此時的大陸正在積極鋪墊引領新一代自動化革命的基石。可期的是,中國工廠的實力將不僅僅體現在產能上,而將逐步彰顯在智慧上。
本文經「TIME時代」授權進行中文編譯,原文如下:
China Is Still the World's Factory — And It's Designing the Future With AI
BY KAI-FU LEE
For many years now, China has been the world’s factory. Even in 2020, as other economies struggled with the effects of the pandemic, China’s manufacturing output was $3.854 trillion, up from the previous year, accounting for nearly a third of the global market.
But if you are still thinking of China’s factories as sweatshops, it’s probably time to change your perception. The Chinese economic recovery from its short-lived pandemic blip has been boosted by its world-beating adoption of artificial intelligence (AI). After overtaking the U.S. in 2014, China now has a significant lead over the rest of the world in AI patent applications. In academia, China recently surpassed the U.S. in the number of both AI research publications and journal citations. Commercial applications are flourishing: a new wave of automation and AI infusion is crashing across a swath of sectors, combining software, hardware and robotics.
As a society, we have experienced three distinct industrial revolutions: steam power, electricity and information technology. I believe AI is the engine fueling the fourth industrial revolution globally, digitizing and automating everywhere. China is at the forefront in manifesting this unprecedented change.
Chinese traditional industries are confronting rising labor costs thanks to a declining working population and slowing population growth. The answer is AI, which reduces operational costs, enhances efficiency and productivity, and generates revenue growth.
For example, Guangzhou-based agricultural-technology company XAG, a Sinovation Ventures portfolio company, is sending drones, robots and sensors to rice, wheat and cotton fields, automating seeding, pesticide spraying, crop development and weather monitoring. XAG’s R150 autonomous vehicle, which sprays crops, has recently been deployed in the U.K. to be used on apples, strawberries and blackberries.
Some companies are rolling out robots in new and unexpected sectors. MegaRobo, a Beijing-based life-science automation company also backed by Sinovation Ventures, designs AI and robots to safely perform repetitive and precise laboratory work in universities, pharmaceutical companies and more, reducing to zero the infection risk to lab workers.
It’s not just startups; established market leaders are also leaning into AI. EP Equipment, a manufacturer of lithium-powered warehouse forklifts founded in Hangzhou 28 years ago, has with Sinovation Ventures’ backing launched autonomous models that are able to maneuver themselves in factories and on warehouse floors. Additionally Yutong Group, a leading bus manufacturer with over 50 years’ history, already has a driverless Mini Robobus on the streets of three cities in partnership with autonomous vehicle unicorn WeRide.
Where is all this headed? I can foresee a time when robots and AI will take over the manufacturing, design, delivery and even marketing of most goods—potentially reducing costs to a small increment over the cost of materials. Robots will become self-replicating, self-repairing and even partially self-designing. Houses and apartment buildings will be designed by AI and use prefabricated modules that robots put together like toy blocks. And just-in-time autonomous public transportation, from robo-buses to robo-scooters, will take us anywhere we want to go.
It will be years before these visions of the future enter the mainstream. But China is laying the groundwork right now, setting itself up to be a leader not only in how much it manufactures, but also in how intelligently it does it.
Source:https://time.com/6084158/china-ai-factory-future/
china electricity 在 Kento Bento Youtube 的精選貼文
This video was created in partnership with Bill Gates, inspired by his new book “How to Avoid a Climate Disaster.” Find out more here: http://gatesnot.es/2ZmaeQp
Watch the extended Nebula version of this video which includes an additional chapter 'Cage' about Hong Kong's tiny apartments & office spaces: https://curiositystream.com/kentobento
Kento Bento merch: https://standard.tv/kentobento
Patreon: https://patreon.com/kentobento
Nebula: https://watchnebula.com/kentobento
Twitter: https://twitter.com/kentobento2015
Business Inquiries: kentobento@standard.tv
Other videos you may like:
Why Hong Kong has the Longest Life Expectancy: https://youtu.be/c3JRRxxZ3Ig
How Would You Save The Maldives? (The 7 Choices): https://youtu.be/aLwXDEzh_Js
How This Lake in Northwest Asia Got Deadlier Than Chernobyl: https://youtu.be/SQCfOjhguO0
The Incredible Japanese Prison Break: https://youtu.be/oI8trlbCbU8
Why Japan's Great Pyramid of Giza Can't be Built Until 2110: https://youtu.be/w7E6rdmilyE
Has KFC Conquered Asia?: https://youtu.be/4iYt9eINS8M
Stock Video & Imagery:
Getty Images
Music:
Epidemic Sound: http://epidemicsound.com
Channel Description:
Animated documentary-style videos on extraordinary Asian events.
Team Kento Bento:
Kento Bento — Researcher, writer, narrator, audio editor, video editor, motion graphics & art director
Charlie Rodriguez — Illustrator
Isambard Dexter — Research assistant
Nina Bento — Cheerleader
Video Title: How Hong Kong Became a Giant Refrigerator
"Here’s a statement: over the last 50 years, Hong Kong has become a giant refrigerator. Despite its hot, humid, subtropical climate, the city remains an icicle all year round. But what do I mean by this? Well, Hong Kong has a bizarre problem. It has developed an obsession with air-conditioners so extreme it no longer makes any sense—winter coats are needed during the sweltering summer, and ACs are blasted in the midst of winter. There are many countries around the world that use and abuse their air conditioners—Singapore, Japan, Saudi Arabia, the US, to name a few—but Hong Kong (the city I grew up in), takes all this to a whole new level. So this raises questions—why are there so many ACs? Why is the temperature set so low? And—strangest of all—why can‘t they just turn it off? With Hong Kong, the answer is never simple..."
china electricity 在 This is Taiwan Youtube 的最讚貼文
[有字幕] 台灣天然能源的未來 The FUTURE of Renewable Energy in Taiwan
請多多支持,謝謝!Please support us:
Patreon: https://www.patreon.com/thisistaiwan
Paypal: paypal.me/Thistaiwan
[請訂閱] My other channel:
https://www.youtube.com/channel/UCCjArF8x9pnulWoxuWPhX_g
If you enjoyed this video, please:
INSTAGRAM:
https://www.instagram.com/this_is_tai_wan/
FACEBOOK:
https://www.facebook.com/thisistaiwon/
Video quality:
[1080p]
[地點] Filming locations:
[台灣] Taiwan
[台北] Taipei
[桃園] Taoyuan
[我的裝備] My gear:
Manfrotto tripod
iPhone 8+
Nikon D5600
MacBook Pro
#Taiwan #Taipei #台灣 #台北 #中國 #China
china electricity 在 japanesestuffchannel Youtube 的精選貼文
This video shows a kind of rescue foods 'Canned Milimeshi Umani Chicken, Seasoned Rice with Chestnuts, Miso Soup and Potato & Tuna Salad'. The kit contains not only China bowl squce and cooked rice but also fireless heating system. So you can eat hot menu without electricity, gas and so on.
Gudetama Pudding Maker
https://youtu.be/bp6zLMS3xn8
10K Orbeez Balloon Bomb Experiment
https://youtu.be/kjaLxtUHA5s
Weird Boiled Egg Maker Cooking Hacks
https://youtu.be/2dtPMu1gcbk
my other channels
decocookie
http://www.youtube.com/user/decocookie
30oyaji
http://www.youtube.com/user/30oyaji
china electricity 在 China Electricity Statistics - Worldometer 的相關結果
Electricity Generation in China. China generates 5,882,943,540 MWh of electricity as of 2016 (covering 106% of its annual consumption needs). ... <看更多>
china electricity 在 China Electricity Production | 2022 Data | 2023 Forecast 的相關結果
This page provides - China Electricity Production- actual values, historical data, forecast, chart, statistics, economic calendar and news. ... <看更多>
china electricity 在 China Electricity Council - 中国电力企业联合会 的相關結果
2022/01/03. Monthly Statistics of China Power Industry (Jan-Nov, 2021). 2021/12/29. Data of Electricity Consumption (Jan to Nov 2021). 2021/12/27. MORE. ... <看更多>