[教育時評] Developing Empathy
為什麼同理於此時比以往任何時刻都重要?
同理(empathy)可以定義為從他人觀點理解感受他人所感的能力。這與同情(sympathy)不同,同情是對處於困境之人感到難過的感覺。在某些情況下,兩個術語有共同之處是因為同理是一種共鳴的關切,其中包括希望人們更好的渴望。
心理學家已辨識出不同種類的同理,主要為情感和認知兩種類型。情感同理心 (affective empathy)是指能分享他人感受的能力。它使我們能夠「鏡像」他人的感受並覺察他們的焦慮或恐懼。
認知同理心(cognitive empathy),也稱為換位思考,是識別和理解他人感受的能力。有效的溝通需要情感同理心和認知同理心兩者,因為它們可以幫助我們建立情感連結並向受眾傳達信息。同理對於協作和領導力也很重要,因為一個人需要理解和預期他人的情感和行為,才能與之工作並帶領他們走向成功。
人們可以看到同理呈現在所有職業中。老師需要靠同理來理解和滿足學生的多樣化需求。研究表明,富有同理心的醫療人員的患者享有更好的健康狀況。警察需要同理來拉近與之打交道的人的距離,來減少以武力處理的狀況。想想當警察缺乏對示威者的同理時會發生什麼。
現在比以往任何時候都更需要同理心。身份政治,政府競爭,甚至是最近的健康危機,都在逐漸蠶食我們的同理心和同情心,導致更大的緊繃,分裂和衝突。社交媒體上有多少發文在強調相互幫助的需要,又有多少在傳播恐懼和仇恨?
⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹
並非所有希望都已失去。我們仍可以懷有和培養同理心。我們可以試著練習:
1.積極傾聽 (Active listening):傾聽並關注他人意見。不要只是簡單地摒除與自身不同的觀點。
⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹
2.破除認同屏障(Shared identity):了解與自己不同的人。與其只關注兩者間的差異,不如考慮自己與他們分享的共同點。想像自己如何能設身處地的換位思考。
⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹
3.制止不平等和冷漠 (Combating inequality and indifference):許多獲得較高社會經濟地位(socioeconomic status、SES)的人有時同理稍弱,因為他們較少有連結、依靠或與他人合作的需求。這並不意味所有富裕之人都對他人的需求漠不關心,但他們可能更需要去關注維持對他人的同理。
⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹
4.閱讀與改變觀點 (Reading and changing perspectives):研究表明,閱讀文學小說(例如《殺死一隻知更鳥》,《老鼠與男人》)著重於人物心理及其與世界的互動。這些書激發讀者理解角色的意圖和動機,且這種的意識可以被帶入現實世界。但是,我認為,所有書籍,即使是非小說類書籍(例如《安妮·弗蘭克日記》)也能做到這一點,讀者不應受到書本類型的限制。重點在以閱讀了解他人的思維方式,從他人的角度思考和「體驗」生活,並將所學應用在自己的生活中。
⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹⊹
因此,為協助學生發展同理這一重要能力,我決定在我們的粉專上發起一個全新的系列:翻轉視界 (Changing Perspectives)。除了定期發布的《時事英文》、《教育時評》和《學習資源》,我們還將分享來自世界各地的人們的故事,文章中會提供關鍵詞、翻譯並向你提出批判性問題以期能幫助各位從不同的角度解讀世界!但是,單單思考並不夠!希望你可以不僅通過閱讀來發展同理,也通過理解和與他人合作將同理應用到生活中來取得成功。
References
Bal, P. M., & Veltkamp, M. (2013). How does fiction reading influence empathy? An experimental investigation on the role of emotional transportation. PloS one, 8(1).
Kaplan, S. (2016, July 22). Does reading fiction make you a better person? The Washington Post. Retrieved from https://www.washingtonpost.com/news/speaking-of-science/wp/2016/07/22/does-reading-fiction-make-you-a-better-person/
Keen, S. (2007). Empathy and the Novel. Oxford University Press on Demand.
★★★★★★★★★★★★
Why is empathy more important now than ever?
Empathy can be defined as the capacity to understand feel what others experience from their perspectives. It differs from sympathy, the feeling of feeling sorry for someone in a difficult situation. In some instances, the terms overlap as sympathy is an empathetic concern, which includes the desire to see people better off.
Psychologists have identified different types of empathy, two main types being affective and cognitive. Affective empathy refers to the ability to share the feelings of others. It enables us to “mirror” what others feel and detect their anxiety or fears. Cognitive empathy, also known as perspective-taking, is the ability to identify and understand how others feel. Both are needed in effective communication because they help us build emotional connections and relay information to our audiences. Empathy is also essential for collaboration and leadership as one needs to understand and anticipate the emotions and behaviors of others to work with them and lead them to success.
One can see empathy present in all professions. Teachers need it to understand and meet the diverse needs of students. Research shows medical workers high in empathy have patients who enjoy better health. The police need it to feel less distant from people they are dealing with and defuse situations with less physical force. Think about what happens when the police lack empathy with protestors.
Empathy is needed more than ever now. Identity politics, government rivalry, and even the latest health crisis are gradually stripping us of our empathy and compassion, leading to greater tension, division, and conflict. How many posts on social media highlight the need to help one another, and how many spread fear and hate?
Not all hope is lost. We can still nurture and cultivate empathy. We can practice:
1. Active listening: Listen and be mindful of the opinions of others. Don’t merely dismiss every viewpoint different than your own.
2. Shared identity: Learn about people who are different from you. Rather than focus only on the differences, think about what you have in common. Imagine what you would do in their situation.
3. Combating inequality and indifference: Many who have attained higher socioeconomic status (SES) sometimes have diminished empathy because they have less of a need to connect with, rely on, or collaborate with others. This does not mean that all wealthy individuals are indifferent to the needs of others, but they might need to be more mindful about maintaining empathy towards everyone.
4. Reading and changing perspectives: Research shows that reading literary fiction (e.g., To Kill a Mockingbird, Of Mice and Men) focuses on the psychology of characters and their interaction with the world. These books motivate readers to understand character intentions and motivations, and such awareness can be carried into the real world. However, I personally believe that all books, even non-fiction (e.g., the Diary of Anne Frank), can do the same, and readers should not be restricted by the genre. The point is to read to understand the mindset of others, to think and “experience” life from their perspectives, and to apply these lessons to your own life.
Thus, to help students develop empathy, I have decided to launch a new series on our page: Changing Perspectives (翻轉視界). In addition to our regular posting of News English, Opinions in Education, and Learning Resources, we will share stories of people from around the world, provide key words, translations, and ask you critical questions to help you view the world from other perspectives! However, thinking is not enough! Develop empathy through reading but also apply it to your lives by understanding and working with others to achieve success.
References
Bal, P. M., & Veltkamp, M. (2013). How does fiction reading influence empathy? An experimental investigation on the role of emotional transportation. PloS one, 8(1).
Kaplan, S. (2016, July 22). Does reading fiction make you a better person? The Washington Post. Retrieved from https://www.washingtonpost.com/news/speaking-of-science/wp/2016/07/22/does-reading-fiction-make-you-a-better-person/
Keen, S. (2007). Empathy and the Novel. Oxford University Press on Demand.
★★★★★★★★★★★★
圖片出處:https://bit.ly/2JUYzA9
★★★★★★★★★★★★
tl;dr: View the world from different perspectives. Have empathy and be nice.
教育時評: http://bit.ly/39ABON9
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅Eric's English Lounge,也在其Youtube影片中提到,VT快閃直播 - 英文學習3大問題 直播提到的資訊: 布魯姆分類學 (Bloom's Taxonomy): http://bit.ly/2s44mhB 家長如何輔助小孩成為自主學習者 (Parenting and Learner Autonomy): http://bit.ly/36yl0F6...
「cognitive empathy」的推薦目錄:
cognitive empathy 在 K.S. Khunkhao Facebook 的最佳解答
แด่ทุกคนที่เป็น "ซึมเศร้า"
ข้อมูลชุดนี้จะเป็นประโยชน์กับคุณอย่างมหาศาล
ขอบคุณคุณตู่ที่ช่วยสรุปให้ครับ
สรุป 31 วิธี รักษาโรคซึมเศร้า จากคลิป เข้าใจ+รักษา โรคซึมเศร้า - มัดหมี่&ขุนเขา
(Live วันที่ 3/3/19)
(เริ่มสรุปนาทีที่6:32)
1.) แดดมีผลต่อโรคซึมเศร้า ประเทศที่หนาวและมีแดดน้อยจะมีคนเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่า
2.) ประเทศไทยมีคนเป็นโรคซึมเศร้าประมาณ 900,000-1,000,000 คน
3.) ยิ่งโลกพัฒนาไปเยอะ ถ้าเราไม่พัฒนาภายใน(จิตใจ)จริงๆ การพัฒนาเหล่านั้นกลับทำให้เรากลายเป็นโรคซึมเศร้ามากขึ้น
4.) ความเป็นArtist(ศิลปิน) มีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้าได้มาก เพราะจมอยู่กับความทรงจำ และอารมณ์
5.) แต่จริงๆแล้วเป็นพร เพราะทำให้เราสามารถรู้สึกลึกซึ้งกว่าคนอื่น เข้าไปจมกับอารมณ์ได้อย่างซับซ้อนกว่าคนอื่น
6.) คนที่ไม่ได้เป็นศิลปินจะไม่ชอบจมอยู่กับความเศร้า แต่คนที่เป็นศิลปินจะชอบ และชอบไปให้สุด
7.) คนที่เป็นศิลปินจะชอบเอาความคิดของตัวเองมาทำร้ายตัวเอง
8.) เพราะคนเป็นศิลปินคือนักคิด จะชอบทำความเข้าใจว่าโลกนี้ทำงานยังไง
ช่างพิจารณาถึงความเป็นมาของทุกสิ่ง ศิลปินจะคิดไม่เหมือนคนอื่น
9.) คนที่มีความเป็นศิลปินน้อยจะมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้าน้อยมาก เพราะเค้าตัดเหตุผลที่จะเศร้าได้ง่ายมาก
10.) ดังนั้น ถ้าเรามีความเป็นศิลปิน เรามีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้า มีอารมณ์ดิ่ง หรือฆ่าตัวตาย ที่สูงกว่ามาก
11.) ถ้าเรามีความเป็นศิลปิน อย่าโทษตัวเองแต่ให้ระวัง เพราะมันคือพร
12.) ถ้าเราอยู่กับความซึมเศร้าของเราได้ แล้วก้าวข้ามมันได้ (เนื่องจากเรารู้สึกลึกซึ้งและละเอียดอ่อนกว่าคนทั่วไป) เราจะช่วยคนอื่นได้มากกว่า เพราะเราจะเข้าใจที่มาของทุกสิ่งอย่างแท้จริง
เราจะมี Empathy(เมตตา)ต่อคนอื่นที่สูงกว่าคนทั่วไป เราจะสร้างงานศิลปะได้อย่างยิ่งใหญ่
13.) พระเจ้า, จักรวาล, กรรม, ดวง สร้างคุณมาแล้วให้คุณเป็นแบบนี้ ฉะนั้นอย่ารู้สึกแย่ที่มีหัวใจที่อ่อนแอ เพราะอีกด้านของหัวใจที่อ่อนแอ คือความอ่อนโยนที่ไม่มีใครเทียบได้
14.) "เมื่อเราเปลี่ยนความคิด ชีวิตเราก็เปลี่ยน" นำไปใช้ได้กับช่วงที่เราซึมเศร้า
เราต้องการให้คนเข้าใจ แต่มันยากมากที่จะทำให้คนรอบข้างเข้าใจเรา และเราไม่สามารถห้ามสิ่งแวดล้อมต่างๆได้ แต่เราControlใจเราได้
15.) ยิ่งเรามีบาดแผลที่ใหญ่, ลึก ยิ่งแปลว่าเรามีแสงสว่างแห่งปัญญา, เมตตา, การเรียนรู้ ให้เราได้สัมผัส กวี Rumi กล่าวไว้ว่า “จงอย่ารังเกียจบาดแผลของเธอ เพราะนั่นคือที่ที่แสงสว่างจะส่องผ่านเข้ามา”
16.) คุณควรเมตตาและเข้าใจมนุษย์ คุณควรเข้าใจทุกอย่าง เข้าใจคนอื่นและเข้าใจตัวเองด้วย
17.) ความสุขที่ยั่งยืนเกิดจาก “4G” (Gain, Grow, Give, Gratitude)
18.) ทุกคน ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐี, ดารา คนหน้าตาดี/ไม่ดี คนโสด/มีคู่ ฯลฯ ทุกคนมีความทุกข์หมด
19.) ดังนั้นต้องเข้าใจว่าการก้าวข้ามความทุกข์ไปได้มันไม่ได้เกิดจากสิ่งภายนอก แต่เกิดจากสิ่งภายใน (4G)
20.) ความสุขเกิดจาก 4G
-Gain = การได้รับมา
-Grow = การเติบโต เติบโตจากความทุกข์ความเจ็บปวด จากการเรียนรู้ จะมีความสุขที่เป็นฐานที่มั่นคง
-Give = การให้ การทำตัวเป็นประโยชน์ต่อสังคม*เป็นวิธีการแก้โรคซึมเศร้าอย่างนึง
*คุณขุนเขาช่วยคนที่เป็นโรคซึมเศร้าแล้วหาย โดยแนะนำให้เขาออกไป"ให้"คนอื่น*
เช่น ออกไปเป็นอาสาสมัคร, ไปช่วยเด็กกำพร้า/คนตาบอด, ไปช่วยคนที่ลำบากมากๆ แล้วคุณจะเข้าใจว่าความสุขที่แท้จริงของชีวิตมาจากไหน และจะรู้ว่าชีวิตมีความหมายทุกลมหายใจ เมื่อไหร่หัวใจคุณเต้นเพื่อคนอื่น เมื่อนั้นความหมายชีวิตจะเริ่มปรากฏ
-Gratitude = ซาบซึ้งและขอบคุณในสิ่งที่มี เราต้องมองว่าเรามีอะไรที่ดีขนาดนี้ในชีวิต
21.) Situational depression = เป็นซึมเศร้าเพราะมีสาเหตุ (ไม่ใช่โรคซึมเศร้าที่เป็นโรคที่แท้จริง)
อาการเหมือนโรคซึมเศร้าทุกอย่างแต่ไม่จำเป็นต้องกินยา เช่น คนรักเสียชีวิตกะทันหัน, อกหัก
ถ้าเป็นไม่เกิน4-5เดือน ถือว่า ok เพราะคุณขุนเขาย้ำว่าถ้าคุณเจอเหตุการณ์ร้ายแรง เช่น คนรักตาย ล้มละลาย หรือถูกทิ้ง แล้วรู้สึกแย่กับชีวิต คุณไม่ได้เป็น "โรคซึมเศร้า" คุณเป็น "มนุษย์"!
22.) ทุกอย่างอยู่ที่การตีความ ให้หาทางขอบคุณมัน เช่น ฝนตก ช่วยชะล้างมลพิษ ทำให้ต้นไม้เติบโต
23.) Dancing in the rain = อย่าไปรอให้ปัญหามันหายไป แต่ให้หาทางขอบคุณสิ่งที่เข้ามาให้ได้
24.) เหมือนเราเจอโรคซึมเศร้า ก็ให้ขอบคุณ เพราะทำให้เข้าใจชีวิต
25.) วิธีการวินิจฉัยโรคซึมเศร้า (อย่าวินิจฉัยตัวเอง) ให้ไปหาจิตแพทย์
วินิจฉัยโดย DSM5 ซึ่งต้องมีอย่างน้อย 5 อาการ ควรมีต่อเนื่อง 2 อาทิตย์โดยไม่หยุด
1.มีอาการซึม/เศร้า อย่างรุนแรง โดยแทบไม่มีกิจกรรมไหนเลยที่เคยทำให้เรามีความสุขแล้วมีความสุขได้อีก
2.กินมากกว่าปกติ หรือน้อยกว่าปกติ อย่างรุนแรง
3.นอนน้อยกว่าปกติ หรือมากกว่าปกติ อย่างรุนแรง
4.ควบคุมกล้ามเนื้อ/ร่างกายตัวเองยาก
5.ไม่มีแรง ไม่มีพลังจะทำงาน
6.มีความรู้สึกว่าชีวิตไร้ค่า ไม่มีความหมาย
7.มีปัญหาในการตัดสินใจ หรือFocusกับสิ่งที่อยู่ตรงหน้า
8.คิดซ้ำๆเกี่ยวกับความตายหรือฆ่าตัวตาย
26.) ความคิดคือตัวกำหนด ความสุขหรือทุกข์ในชีวิต ไม่ใช่สถานการณ์
27.) คุกที่มืดดำที่สุด คือคุกแห่งความเกลียดชัง
28.) *สิ่งที่จะกำหนดว่าเราจะเป็นโรคซึมเศร้าหรือเปล่า หรือจะหายจากมันได้ยังไง ก็คือ "ความคิดของเราเอง"*
29.) ความคิดของเรา ทำให้ซึมและเศร้า
30.) วิธีการรักษาทางการแพทย์
1.ยา - ทำให้ดิ่งน้อยลง จมน้อยลง ทำให้ไม่คิดเยอะ ทำให้สมองนิ่งขึ้น
แต่มีผลข้างเคียง คือ เอ๋อ
หมายเหตุ การหยุดยาต้องให้แพทย์ที่จ่ายยาบอกว่าจะหยุดยังไง ห้ามหยุดกะทันหัน
2.CBT(Cognitive behavioral therapy)
คือการที่จิตแพทย์คุยกับเรา แล้วรักษาด้วยคำพูด/การโค้ช การปรับMindset/ความคิด
3.กระแสไฟฟ้าอย่างอ่อน
31.) วิธีการรักษาอีกแบบ *แนะนำให้ทำควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์ (8ใน10คนหาย)*
1.ออกกำลังกาย - มีคนที่หายเลยแค่ออกกำลังกายเป็นประจำ
ออกกำลังกายให้ได้ 20นาที 3-4ครั้ง/สัปดาห์
การออกกำลังกายได้ผลมากเพราะ การออกกำลังกายจะหลั่งสาร Endorphine ซึ่งทำให้สารเคมีในสมองสมดุล
*โรคซึมเศร้าที่เป็นโรคจริงๆ เกิดจากสารเคมีในสมองของเราไม่สมดุล (เวลาที่มีเหตุการณ์หนักๆ สารเคมีในสมองจะทำงานผิดปกติ)*
นอกการออกกำลังกายทำให้สาร Endorphine หลั่งแล้ว ยังทำให้เราภูมิใจในตัวเอง รู้สึกว่าเรามีค่า รู้สึกว่าเราสามารถทำอะไรให้สำเร็จได้ด้วยตัวเอง ได้เจอเพื่อนใหม่ ได้เจอแดด เจอโลกภายนอก สร้างวินัย
2.ให้ทำสิ่งที่ไม่เคยทำ ให้ออกไปผจญภัย
เนื่องจากคนที่เป็นโรคซึมเศร้าจะไม่กลัวตาย
*คนที่คิดอยากตายหรืออยากฆ่าตัวตาย คุณลองผ่านช่วงนั้น(ช่วงอยากตาย)ไปให้ได้*
เพราะหลังจากนั้นชีวิตจะดีขึ้นมาก คุณจะเป็นคนที่น่ารัก มีเมตตา มีปัญญา มีความแข็งแกร่ง และสามารถเชื่อมกับคนอื่นได้ดี
เมื่อเราเศร้าจนถึงที่สุด จะกลัวน้อยลง = เป็นอิสระ -> จึงกล้าที่จะออกไปผจญภัย
3.อาหาร - ควรเน้น ผลไม้ และผัก
โดยเฉพาะกล้วย เพราะกล้วยมีสาร Tryptophan ซึ่งจะเป็นตัวสร้างสารแห่งความสุขที่ชื่อว่า Serotonin ซึ่งผู้ป่วยโรคซึมเศร้าขาดสารความสุขตัวนี้
-----------------------------------------
อย่างไรก็ตาม มันแล้วแต่คน บางคนไปทางแพทย์ดี แต่ทางที่ไม่ใช่แพทย์ก็ให้ลองดู เพราะช่วยหลายคนมาแล้ว
*ถ้าอยากหายจากโรคซึมเศร้า อย่าทำอย่างเดียว ให้ลองทำหลายอย่างประกอบกัน*
แล้ววันนึงจะค้นพบว่า ทุกสิ่งจะผ่านมาแล้วจากไป คือ Cycle ของชีวิต
สิ่งที่แย่กว่าโรคซึมเศร้า คือการเกลียดโรคซึมเศร้า
สิ่งที่เราต่อต้าน จะคงอยู่นานขึ้นเสมอ แต่สิ่งที่เรายอมรับจะดับไปอย่างรวดเร็ว
*คุณขุนเขาหายได้โดย ทำในสิ่งที่กลัว แล้วเราจะค้นพบว่าอิสระที่แท้จริงคืออิสระที่เราสร้างขึ้นมาจากใจของเราเอง*
โลกเจริญขึ้นแต่คนเป็นโรคเกี่ยวกับจิตเยอะ เพราะเราหาความหมายของชีวิตไม่เจอ
โรคซึมเศร้า อาจเรียกได้ว่าเป็นโรคหรู เพราะประเทศที่เจริญแล้วจะมีคนเป็นเยอะกว่าประเทศที่ไม่เจริญมาก และสมัยก่อนคนก็เป็นน้อยกว่าสมัยนี้ เพราะแต่ก่อนเราต้องล่าหาอาหารและหาทางเอาชีวิตรอดจากภัยอันตรายมากมาย ไม่มีเวลามานั่งเหม่อลอยว่าชีวิตไม่มีความหมายหรืออยู่ไปวันๆ ดังนั้น เวลาเป็นโรคซึมเศร้าให้พาตัวเองไปในจุดที่ไม่หรู พาตัวเองไปสู้ชีวิต ไปทำอะไรเพื่อผู้อื่นเยอะๆ ไปเผชิญความกลัว ผจญภัย และทำสิ่งใหม่ๆ เมื่อไม่มีเวลามานั่งพร่ำเพ้อเหม่อลอย ก็จะช่วยให้มีโอกาสหายได้สูงขึ้นมากทีเดียว
ชมคลิปเต็มๆได้ที่ https://goo.gl/4ZQxzR
cognitive empathy 在 盧鎮業 Siuyea Lo Facebook 的最讚貼文
有益身心的廣告
(向時代廣場買廣告,可能是這世界上最有效的廣告。)
//在一次爭取UA時代廣場售票員的椅子的過程中,我們去信時代廣場購買廣告,隨後不過一星期,UA作出了改善,在此我們感謝UA,更感謝時代廣場的支援。
今天我們從勞工處得知,citysuper正積極考慮向收銀員增添椅子,在此我們感謝勞工處前線員工作出的努力,使香港最後一間大型超市有望回復正軌,遵循指引,我們會繼續密切監察citysuper有否遵守承諾,不排除日後把個案轉交時代廣場//
********************
時代廣場廣告負責人,
你好,我很久沒有到訪時代廣場了,今次來信是想向你們購買一個外牆大屏幕廣告。這廣告的形式和內容對你們來說可能有點荒唐,但也請你耐心看看我的詳盡解釋,你一定會感到這廣告很有意義,更重要的是我們必然會付足廣告費,不須你們贊助。
是這樣的,我曾到訪你們13樓的UA戲院看電影,看到那些售票員竟沒有椅子支援,與勞工處的有關收銀員職安健指引相違,你知道嗎?聽說其他UA院綫都有椅坐,唯獨是在時代廣場的這間分店沒有,所以我才嘗試向你們買一個呼籲關顧服務業打工仔長期站立勞損廣告。
說回廣告內容及形式,那廣告設計只是一張硬照上面印有請關顧服務業打工仔長期站立勞損問題。我相信你們對這天經地義內容不會反對的,然而作為創作人的我還對廣告形式有點要求,希望你們也可如日常工作一樣寬容接受這些奄尖顧客胡鬧,我的要求是要一個潛意識的廣告:
1957年,就在我們上次在時代廣場上野餐前的51年,廣告調研專家維卡瑞James Vicary在美國新澤西電影院播放Picnic(野餐)這部電影時,穿插印有「喝可口可樂」和「吃爆谷花」這些話語的圖片在電影中,並很快地閃過。因為速度太快,觀眾們意識上完全不能覺察到他們看到電影暗藏的信息,但是這些信息卻被他們的潛意識接收了。結果是,戲院的可樂和爆谷的銷量竟然分別爆增15%和58%!
潛意識廣告的刺激落在消費者感知極限之外,只能被潛意識所接收,通過對潛意識的刺激,引發消費者的某些響應行為或者認知。聽說這手法由促銷爆谷到總統競選也生效!
亦因著此,我們想選用這方式展示廣告,嘗試改變香港人潛意識中對職場勞損情況忽視及冷漠。具體的計劃是每10秒安插一個1/24秒呼籲關顧服務業打工仔長期站立勞損畫面,我知你們收費不便宜,一星期每小時播放180秒要$35830,我們大概每小時只佔15秒…….(心珠算後) 我們總共應要付約$2985.9元,3000元對我們基層來說期實也不少,但在計劃獲確定後我們一定眾籌所須的回來,因為我們相信沒有什麼地方比時代廣場買這廣告更有效更適合。希望我們共同可以使老闆、打公仔和消費者在購物天堂和人肉市場的夾縫中學習同理心,拜托你門了,期待你們早日回覆,謝!
程展緯 (10月8日)
(ps: 一小時每5秒閃一次廣告,總共可有720次,所以我期後會給你更多的圖像,16:9 JPEG格式可以了嗎? 另外偶然看到你們外牆畫面不太流暢,這是否有人比我們更早向你們購買這種潛意識廣告? 如果不是,為什麼有這麼多打工仔對自己在職場面對的處境無聲吶喊?)
#寓言練習潛意識廣告。
(Purchasing outdoor TV advertising from Times Square. Probably the most effective advertisement in the world.)
// During the process of campaigning for UA Cine Times to provide chairs for ticketing cashiers, we wrote to Times Square to purchase advertisements. In less than one week UA made improvements. Here we show appreciation for UA, and thank Times Square for their support.
Today we know from the Labour Department that Citysuper is actively considering chairs for cashiers. Here we thank the frontline staff of the Labour Department for their effort and contribution to hopefully correct the last large-scale Hong Kong supermarket that has not accomplished this. We will closely observe if Citysuper fulfils their promises. We do not exclude the possibility of handing the case to Times Square in the future. //
******************
Dear representative of Times Square,
It has been long since I last visited Times Square. This time I am writing to purchase an outdoor TV advertisement from your mall. The format and content of the advertisement may be deemed a little absurd at first, but I will explain in detail. You will sure find it highly meaningful. More importantly, it is certain that we are going to pay the full advertising fee. There is no need for sponsorship from your group.
I have been to UA Cine Times on your 13th floor and was surprised to find that there were no seats for the ticketing cashiers. This is in violation of the Labour Department’s guidelines for occupational safety and health. Did you know? We gather that seats are available in all UA branches except the one in Times Square. This is why I would like to buy an advertisement from your mall to raise awareness of workers’ health risks of prolonged standing.
Speaking of content and format, the advertisement will simply consist of a single photograph, on top of it a text that reads health concern for strains caused by prolonged standing of workers in the service sector. I believe your group will not oppose the irrefutable ethics of the content. Rather, as a creative I have specific requirements for the format. Hopefully you will accept this unusual request in the usual patient manner of embracing difficult customers. My request is a subliminal advert:
In 1957, 51 years before we picnicked at the open piazza of Times Square, market researcher James Vicary conducted an experiment during the film “Picnic” in a New Jersey cinema. Visual slogans “Drink Coca-Cola” and “Eat Popcorn” were inserted as very quick flashes throughout the film. Due to extremely short exposures, the audience could not consciously notice the hidden messages, but subconsciously received them instead. Consequently, Coca-Cola and popcorn sales of the cinema greatly increased by 15% and 58% respectively!
Subliminal advertisements influence consumers outside of cognitive senses, they could only be received by subliminal perception. Through subliminal stimuli, consumers are conditioned to certain behaviours or knowledge. It is suggested that this method has been effective from popcorn sales to presidential elections!
Hence we decided to adopt this advertising approach in attempt to subliminally change Hong Kongers’ neglect and indifference to occupational health issues. The plan is to insert a 1/24-second image, that promotes awareness of workers’ prolonged standing, into your outdoor TV programmes every 10 seconds. I am aware your airtime is not inexpensive. For every 180 seconds per hour, the cost is $35830 for one week of playing. Our design only occupies approximately 15 seconds per hour… (After mental abacus) We have to pay $2985.9 totally. $3000 is indeed a considerable amount for grassroots workers like us, but we certainly will crowdfund it after the approval of the project. We believe there is no place more suitable than Times Square for this advertisement to take place. Let’s hope that employers, workers, and consumers have the opportunity to learn empathy at the intersection of the shopping paradise and brutal capitalist market. Looking forward to your positive response soon. Thank you very much!
Ching Chin-wai, 8th October
P.S. If an ad flashes every 5 seconds in an hour, there will be 720 times in total. Therefore I will submit more images later. Would 16:9 JPEGs be appropriate? Additionally, I found lagging in your outdoor TV broadcast. Were there earlier orders of this kind of subliminal advertising from other parties before us? If not, why are there so many workers silenced about their difficulties in the workplace?
#AllegoryPracticeOfSubliminalAdvertising
***************************
程先生:
謝謝你的意見,我們對事件亦非常關心,並即時向UA 院線作出反映。
回覆亦已抄送UA院線,他們會再與 閣下跟進。
時代廣場 上
十月十二日
*****************************
親愛的程先生
感謝閣下的查詢及寶貴意見。
UA 院線一直都注重員工的身心健康,所以會於間場時提供小休時間予UA Cine Times的同事們輪流自行休息;在員工休息室內亦提供座椅讓有需要的同事使用或稍作伸展等。
惟基於現場的空間限制及運作上的安全考慮,我們會於櫃台內提供少量座椅予有需要的同事使用,而相關安排已由即時起開始實行。我們亦會積極研究增加員工設施如腳踏、矮欄等,希望同事有更舒適的工作環境。
再次感謝閣下所提供之寶貴意見,希望在不久將來,有機會再為閣下服務。
UA CINEMAS謹覆
十月十三日
cognitive empathy 在 Eric's English Lounge Youtube 的最讚貼文
VT快閃直播 - 英文學習3大問題
直播提到的資訊:
布魯姆分類學 (Bloom's Taxonomy): http://bit.ly/2s44mhB
家長如何輔助小孩成為自主學習者 (Parenting and Learner Autonomy): http://bit.ly/36yl0F6
學習的動力 (Motivation to Learn): https://bit.ly/2uumcLG
情感性和認知性同理心 (Affective and Cognitive Empathy): https://bit.ly/2QAaqYT
★★★★★★★★★★★★
Vclass 全站 輸入 vclassgogo 享 88 折: https://bit.ly/37RT6Ex
(vclassgogo 優惠碼使用期間至 2020/02/15 12:00,限 Vclass 全站原價課程)
極簡文法力 點擊即享 400 元折價: https://pse.is/PLKEY
(系統會自動帶入 "VoiceTube" 折價代碼現折 $400)
★★★★★★★★★★★★
老師資歷: https://goo.gl/Xu1cnR
cognitive empathy 在 Cognitive vs. Emotional Empathy with Daniel Goleman 的推薦與評價
- Daniel Goleman shares the difference between cognitive and emotional empathy, and how these can apply in a leadership setting. For more on ... ... <看更多>