❣️𝕭𝖗𝖔𝖔𝖐𝖑𝖞𝖓 𝕭𝖗𝖎𝖉𝖌𝖊 ❣️
Pythoness body-arching
Over the night like an ecstasy
I feel your coils tightening
And the world's lessening breath.
~♥ ♥ Lola Ridge ♥ ♥~
Let me share some interesting facts on Brooklyn Bridge-
1. It’s the first steel-wire suspension bridge in the world.
2. Even though it is the brainchild of engineer John Augustus Roebling, however, he could not live to see it completed. While making measurements for the future bridge in 1869, a ferry crushed Roebling’s foot. He developed tetanus because of the accident and eventually passed away. Then his son, Washington Augustus Roebling stepped in as the bridge project’s chief engineer. However, he came down with the decompression sickness and was confined to bed. Finally, this project was completed under the supervision of his wife Emily Warren Roebling. Seems like this family had to pay some price to make sure this bridge happen!
3. Beside Emily Warren, a rooster is the first being who made trip across this bridge. Lucky fella!
4. To show the sturdiness of the bridge, the city called upon showman P.T. Barnum to march 21 elephants across the Brooklyn Bridge. It must have been quite a show!
5. The bridge has gone by several names before it became Brooklyn Bridge. Such as, “Great East River Bridge, or “New York City & Brooklyn Bridge”, etc..
♥
♥
♥
♥
♥
♥
#brooklynbridge #brooklynbridgeig #what_i_saw_in_nyc #prettycitynewyork #nycityworld #nycphotoshoot #nycskyline #nyc #brooklynbridgepark #usaphotography #unitedstatesofamerica #travelingtheworld #travelblogs #travelbloggeres #travelinggram #travelinggirl #bangladeshitraveller #bangladeshitravellers #bangladeshitravelblogger #letstravelmore #canadiantraveller #explorenyc #ilovenyc #nycgo #pictures_of_newyork #sunsets_oftheworld #nycsunset
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過32萬的網紅TheBabyboom,也在其Youtube影片中提到,โรคน้ำหนีบ Bends (decompression sickness) โรคนีอันตรายถึงเสียชีวิตหรือ พิการ เกิดขึ้นกับกลุ่มคนที่ไม่เคยเรียนดำน้ำ เพราะไม่รู้จักการวางแผน กลุ่มดำน้...
「decompression sickness」的推薦目錄:
- 關於decompression sickness 在 kaleidoscope1856 Facebook 的精選貼文
- 關於decompression sickness 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的精選貼文
- 關於decompression sickness 在 Drama-addict Facebook 的精選貼文
- 關於decompression sickness 在 TheBabyboom Youtube 的最佳貼文
- 關於decompression sickness 在 超認真少年Imserious Youtube 的最讚貼文
- 關於decompression sickness 在 TheBabyboom Youtube 的最讚貼文
decompression sickness 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的精選貼文
คนเราไปทำงานที่ใต้ทะเลลึกนานๆได้อย่างไร
มี 1 คำถามที่น่าสนใจครับ เนื่องจากการทำงาน Offshore จะมีงานบางส่วนที่ต้องไปทำงานใต้ทะเลที่ระดับความลึกมาก (ที่ดำเล่นๆ SCUBA นั้นไปที่ระดับความลึกราวๆ 18-35 เมตร ไม่เกินนี้ครับ) แต่คนที่ดำน้ำทำงานตรงนี้จะลงลึกกว่านี้มาก คือลงไปถึงที่พื้นทะเล (sea floor) เท้าแบบว่าแตะถึงพื้นครับ และ จำเป็นต้องอยู่ที่ระดับความลึกนั้นค่อนข้างนานมาก
คำถามคือ เขาทำได้อย่างไร
อ่าวไทยมีความลึกโดยเฉลี่ย 60-70 เมตร ดังนั้นตัวเลขนี้คือระดับความลึกที่นักดำน้ำจะลงไป โดยนักดำน้ำกลุ่มนี้จะเรียกว่า Commercial diver คือคนที่ดำน้ำเป็นอาชีพ ไม่มีการเรียนการสอนในเมืองไทย ใกล้สุดที่เรียนได้คือที่สิงค์โปร์ และเป็นหนึ่งในอาชีพที่ถือว่าท้าทายและมีความเสี่ยงพอสมควรครับ เพิ่มเติมข้อมูลครับ เนื่องจากอ่าวไทยเราถือว่าไม่ลึกมาก ในพื้นที่ offshore บางแห่งเช่นใน อ่าวเม็กซิโก (Gulf of Mexico) ความลึกอาจจะไปได้ถึง 200-300 เมตร เลยทีเดียว
กลับมาที่อ่าวไทย การทำงานที่ระดับความลึก 60-70 เมตร มีความแตกต่างจากการดำน้ำสันทนาการมากครับ โดยปกติถ้าดำน้ำแบบสนุก เราก็แค่ขึ้นเรือออกไปกลางทะเลแล้วก็โดดลงทะเล อยู่ในน้ำนานประมาณ 35 - 45 นาที ก็ขึ้นมาพักน้ำ แล้วก็ลงไปดำใหม่อีกครั้ง โดยอิงตามปริมาณก๊าซไนโตรเจนที่เหลืออยู่ในร่างกาย (วัดจากตารางดำน้ำหรือจาก dive computer) วันหนึ่งดำน้ำอย่างมากสุดก็ 3-4 dive ... อันนี้คือเรื่องราวของ SCUBA diving ครับ ต่อไปจะเป็นเรื่องของ SAT diving
SAT diving ย่อมาจาก Saturation Diving คำว่า Saturation คือ สภาวะที่ร่างกายเรามีความดันภายในเซลล์ของร่างกายเรา มีค่าเท่ากับความดันย่อยของก๊าซที่เราหายใจเข้าไป (พูดไปแล้วอาจจะลง ให้มองภาพแบบนี้ครับ เหมือนกับเราเอาขวดน้ำเปล่าปิดฝาดำลงไปในน้ำครับ ลงไปลึกๆ ขวดน้ำก็จะบู้บี้หมด เพราะความดันรอบตัวนั้นสูงกว่าความดันภายในขวดนั้นน้อยกว่า ความดันในขวดก็ให้คิดภาพมันคือความดันย่อยของก๊าซที่อยู่ภายในเซลล์ของร่างกายนั่นเอง)
ที่นี้ทำไม เราต้องทำให้ร่างกายอยู่ในสภาวะ saturation ก่อน เพื่อจะลงไปดำน้ำลึกๆขนาดนั้น คำตอบก็คือ เนื่องจากการลงไปทำงานในแต่ละครั้งนั้นมีระยะเวลาที่ค่อนข้างนาน คือเป็นชั่วโมง อาจจะนานได้ถึง 8 ชั่วโมง และเป็นความลึกถึง 60-70 เมตร การที่ร่างกายเราอยู่ในสภาวะ saturation จะทำให้ร่างกายเราสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่องในสภาวะเช่นนี้
โดยหลักการทำให้ร่างกายอยู่ในสภาวะ saturation ได้ ก็คือ การให้นักดำน้ำคนนั้นไปอยู่ในสถานที่ๆภายในมีความดันอากาศเท่ากับความดันเป้าหมายเลย เช่น ถ้าจะไปทำงานที่ความลึก 60 เมตร เราก็พานักดำน้ำไปอยู่ใน chamber ที่ข้างในมีเตียง มีโต๊ะ มีทีวี มีสิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานอยู่ รวมถึงห้องน้ำ โดยภายใน chamber จะค่อยๆมีการปรับความดันอากาศตลอดเวลา นักดำน้ำที่กำลังจะเริ่มต้นไปดำน้ำ SAT diving เขาก็ต้องมาใช้ชีวิตในห้อง ก่อนเข้าห้อง chamber เขามีความดันในร่างกายเท่ากับพวกเรา แต่หลังจากที่เท้าเขาเข้าห้องไปแล้วผ่านไป 1 วัน ความดันในร่างกายเขาจะค่อยๆสูงขึ้น จนถึงเป้าหมายเท่ากับความลึกของระดับพื้นทะเลที่เราจะไปครับ ซึ่งห้องนี้มีชื่อเรียกว่า Living Chamber
หลังจากที่อยู่ใน Living Chamber ได้จนถึงจุดที่เหมาะสม นักดำน้ำก็จะถูกส่งลงไปใต้ทะเลโดยใช้ทุ่น ไม่ได้ดำลงไปเองนะครับ ในทุ่นนั้นก็จะเป็นห้องที่ไม่ต่างจาก chamber ครับ มีท่อสายอากาศ มีช่องทางการติดต่อกับคนบนบก โดยทุ่นอันนี้มีชื่อเรียกว่า Diving bell ซึ่งภายใน Bell ก็จะมีความดันมากกว่าความดันที่ก้นทะเลเล็กน้อย เพื่อให้เวลานักดำน้ำเปิดประตูที่พื้น Bell เวลาออกไปทำภารกิจ น้ำจะไม่ทะลักเข้ามาข้างใน หลังจากนั้นนักดำน้ำก็จะออกไปทำภารกิจจนสำเร็จแล้วก็จะกลับมาที่ Bell แล้วก็ถูกลากขึ้นกลับมาที่เดิม และกลับมาต่อกับ Living Chamber ปรับความดันจนเข้าที่ ก่อนที่นักดำน้ำคนนั้นจะออกกลับมาใช้ชีวิตในโลกภายนอกอีกครั้ง โดยในทุกๆกิจกรรมล้วนใช้เวลาทั้งสิ้น เพราะต้องรอให้ก๊าซต่างๆที่ละลายอยู่ในเนื้อเยื่อถูกขับออกไปจนหมดก่อนครับ
โดยชุดที่นักดำน้ำ SAT Diver ใส่ จะไม่ใช่ wet suit หรือ dry suit แบบ SCUBA ที่เรารู้จักกัน แต่จะเป็นชุดที่เรียกว่า Hot suit เนื่องจากชุดนี้จะมีพื้นที่วางให้สามารถอัดน้ำอุ่นเข้ามาในชุดได้ เพื่อรักษาอุณหภูมิให้กับนักดำน้ำ ซึ่งจะสามารถควบคุมอุณหภูมิน้ำให้เหมาะสมกับอุณหภูมิน้ำในสภาพแวดล้อม
อากาศที่ใช้ในการดำเนินภารกิจทั้งหมด ใช้ Heliox คือ เป็นส่วนผสมของ Helium กับ Oxygen ซึ่งก๊าซอันนี้จะมี Helium เป็นส่วนประกอบ 70%-90% และมี Oxygen อยู่ประมาณ 10%-20% แล้วแต่จุดประสงค์ของความลึกที่จะไปครับ (อากาศที่เราหายใจมี Oxygen 21% ไนโตรเจน 78% อื่นๆ 1%) การที่มี Helium ในสัดส่วนที่สูง จะช่วยลดโอกาสการเกิดภาวะน้ำหนีบ (Decompression Sickness) ได้ และ ลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะออกซิเจนเป็นพิษ (Oxygen Toxicity) ได้ เพราะสัดส่วนของออกซิเจนน้อยกว่าอากาศปกติ
เดี๋ยวไว้ผมจะมาต่อเรื่อง โรคที่อาจเกิดขึ้นได้กับการทำ Saturation diving ครับ
ภาพ Creative Common
decompression sickness 在 Drama-addict Facebook 的精選貼文
ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวของนักดำน้ำครับ
ส่วนน้ำหนีบ เป็นชื่อไทยที่เราอาจไม่คุ้น ส่วนชื่อทางการแพทย์ของมันคือDecompression Sickness (DCS)
คือ “การป่วยจากการลดความกดดันไม่พอ” หรือมีอีกชื่อว่า Bend
ประมาณว่าเวลาดำน้ำในที่ลึก หากเปลี่ยนระดับความลึกเร็วเกินไป จะทำให้ไนโตรเจนในเลือดกลายเป็นฟองไนโตรเจน
แล้วไปอุดตันตามเส้นเลือดอวัยวะต่างๆ ถ้าเบาๆก็อาจมีจ้ำแดงตามตัว มีอาการปวดเมื่อยตามตัวตามข้อ ถ้าฟองไนโตรเจนไปอุดตันเส้นเลือดสมอง ก็จะมีอาการอ่อนแรง เหมือนคนเป็นเส้นเลือดในสมองได้ ถ้าหนักๆก็ถึงขั้นเสียชีวิตได้
decompression sickness 在 TheBabyboom Youtube 的最佳貼文
โรคน้ำหนีบ Bends (decompression sickness)
โรคนีอันตรายถึงเสียชีวิตหรือ พิการ เกิดขึ้นกับกลุ่มคนที่ไม่เคยเรียนดำน้ำ เพราะไม่รู้จักการวางแผน กลุ่มดำน้ำ ที่ฝึกกันเอง ดำกันเอง ฝ่าฝืนกฎการดำน้ำ
ผมพยามอธิบายให้ง่ายที่สุดใน VDO เดียว ซึ่งจริงๆ จะต้องเรียน เรื่องนี้เกือบ Class เรียนที่ 3 ต้องคุยกันในเรื่อง แรงกด ชั้นบรรยากาศ มาก่อน และ อันตรายของก๊าซแต่ละชนิด จึงจะเข้าใจเรื่องนี้ง่ายขึ้น ใครมีคำถามเกี่ยวกับเรื่องดำน้ำ ไว้ผมจะรวมเป็น VDO ตอบให้อีกทีนะครับ
** ท้าย VDO ผมพูดว่า อวัยวะ และสมองขาดเลือด หลายคนอาจสงสัยเพราะตอนเรียน เราจะบอกว่า ขาด O2 อย่างที่บอกนะครับ VDO นี้ผมพยามพูดให้เข้าใจง่ายที่สุด แต่กันความสับสนจะอธิบายไว้ตรงนี้ เนื้องจาก เมื่อ N อุดตันทางเดินในหลอดเลือด เลือดไหลเวียนไม่สะดวก ทำให้ขาด O2 ครับ
คู่มือเรียนดำน้ำลึกโดยครูบูม ฉบับ Online http://bit.ly/36sVoIZ
เหมาะสำหรับทบทวนและหาความรู้การดำน้ำลึด scuba
#ครูบูมสอนดำน้ำ #T3B #SCUBA #UDONSCUBA
เรียนดำน้ำ UdonScuba
ครูบูมสอนดำน้ำ
0894774711
Line bybabyboom
decompression sickness 在 超認真少年Imserious Youtube 的最讚貼文
❈建議播放速度:1.5倍數❈
1990年代的臺灣
對於工業安全的意識缺乏
疏忽該有的工作流程
或是老闆不願意照流程走
都有可能導致意外發生
在事件發生後
好好的去了解為什麼會有這種事情發生
該如何在未來避免
唯有真正的身體健康
一切想做的事情才有可能發生
地底下的危險工作、一起蓋捷運! 【上集】挖捷運隧道靠土撥鼠?Taipei MRT Shield Machine
https://youtu.be/G-ulNnxMPeY
地底超危險?【下集】告別台北捷運隧道地下30米作業總算完成了 Taipei MRT Shield Machine EP2
https://youtu.be/rkwegidU05k
成為頻道會員並獲得獎勵:
https://www.youtube.com/channel/UCckzc03-ycrpB1XIUfRhpnw/join
#捷運 #潛水夫病 #職業災害
➡️訂閱我們 ➡️ https://pse.is/Q26YB
【超認真少年FB】https://www.facebook.com/Imseriou
【工業技術交流平台】https://www.facebook.com/groups/imseriou
【熱門影片】
「空壓機」-基礎示範教學,原來每個家裡都要買一台空壓機 How to use Air compressor
https://youtu.be/Wghd4LpM6DE
認識CNC基礎教學!開箱德國上億元神獸級CNC! 台中精機【隱形工廠】What's CNC?
https://youtu.be/KZ0lIzlYHw4
五金行連女兒都賣?台灣五金行攻略 Taiwan Hardware Store
https://youtu.be/_Y0jLEeENp8
沒有切不斷的金屬 [電]等離子切割基礎教學plasma cutter
https://youtu.be/DkMWxk3LTzo
1台車床抵6間工廠 車床基礎介紹 傳統車床 CNC 自動化整合 Taiwan lathe history (traditional lathe , CNC, DMG MORI )
https://youtu.be/60u4TepzKlo
decompression sickness 在 TheBabyboom Youtube 的最讚貼文
ไว้เดี๋ยวผมจะทำอธิบายไว้เป็นตอนยาวอีกรอบนะครับ เรื่องนี้สำคัญมาก คิดจะดำน้ำแบบใช้อุปกรณ์ SCUBA ต้องรู้ หลายคนละเลย แค่ใช้อุปกรณ์เป็นก็ดำน้ำกัน แต่ไม่เข้าใจเรื่องนี้
DCS = decompression sickness = อาการป่วยจากแรงกดดัน
Bends = โรคน้ำหนีบ = โรคที่เกิดจากการเกิดฟองก๊าซในเลือดหรือในเนื้อเยื่อ
เกิดขึ้นได้กับการดำน้ำ ลึกเกิน 6 เมตรโดยการใช้ถังอากาศ ยิ่งลึก ยิ่งนาน ยิ่งมีโอกาศเกิดมาก
การดำน้ำจึงต้องเรียน หลักการคำนวนในเรื่องนี้ก่อน
คู่มือเรียนดำน้ำลึกโดยครูบูม ฉบับ Online http://bit.ly/36sVoIZ
เหมาะสำหรับทบทวนและหาความรู้การดำน้ำลึก scuba
เรียนดำน้ำ Scuba Freedive
UDONSCUBA
ครูบูมสอนดำน้ำ
0894774711
Line bybabyboom