การทำ Intermittent Fasting ให้ผลไม่ต่างจากการคุมอาหารแบบที่กินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ คือให้ผลเหมือนๆกัน แต่จะมีข้อควรระวังนิดหน่อย หากตารางเวลาชีวิตประจำวันค่อยข้างยุ่ง ไม่สะดวกกินเช้า-เที่ยง-เย็น สะดวกแบบ Intermittent Fasting มากกว่า ถ้าไม่ใช่ผู้ป่วยเบาหวานก็เลือกทำได้ตามสะดวกเลยครับ อย่าลืมศึกษาข้อควรระวังด้วยนะครับ^^
-------------------------------------------
ความเชื่อ VS ความจริง
เกี่ยวกับ Intermittent Fasting
.
ช่วงไม่กี่ปีมานี้มีแนวทางการกินที่กำลังได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก ชื่อว่า Intermittent Fasting โดยมีเสียงลือเสียงเล่าอ้างว่า มนุษย์เราต้องอดบ้างกินบ้าง ให้ท้องร้องจ๊อกๆ จะได้ผอม จะได้อายุยืน
แล้วคำกล่าวอ้างเหล่านี้เป็นความจริงหรือไม่?
.
ก็จะไปถึงเรื่องนั้น คงต้องมาทำความรู้จัก Intermittent Fasting กันก่อน
.
คำว่า Intermittent Fasting นั้น แยกตามศัพท์จะได้ว่า
Intermittent = ไม่ต่อเนื่อง, ไม่สม่ำเสมอ
Fasting = การอดอาหาร
รวมกันแล้วคำว่า Intermittent Fasting = การอดอาหารแบบไม่ต่อเนื่อง
หรือเรียกกันอย่างบ้านๆว่า "อดมื้อกินมื้อ" นั่นเอง
.
โดย Intermittent Fasting นั้นจะแบ่งการกินออกเป็น 2 ช่วงเวลา
1. ช่วงเวลาที่อนุญาตให้กินได้
มีแยกเป็น2แนวทางย่อยคือ แนวทางแรกคือกินตามความรู้สึก อิ่มเมื่อไหร่ก็หยุด ส่วนอีกแนวทางหนึ่งคือกินตามเป้าหมายแคลอรี่ที่ตั้งไว้
2. ช่วงเวลาที่ห้ามกิน คือสิ่งใดที่มีแคลอรี่ ห้ามเอาสิ่งนั้นเข้าปาก
.
Intermittent Fasting นั้นจำแนกได้เป็น 2 กลุ่มหลักๆ คือ
1. Alternate-day fasting มีทั้งแบบอดวันเว้นวัน และแบบอด1วันกิน2วัน
2. Time-restricted feeding มีทั้งแบบอด20ชม.กิน4ชม., แบบอด16ชม.กิน8ชม. หรือ แบบอดกลางวันกินกลางคืน (อด12ชม.กิน12ชม..) อย่างช่วงรอมฎอน ก็ถือว่าเป็น Intermittent Fasting กลุ่ม Time-restricted feeding เหมือนกัน
.
แล้วการกินแบบ Intermittent Fasting นี่มันดีอย่างที่เขาล่ำลือกัน จริงไหม?
เรามาร่ายดูกันทีละประเด็นกันเลยครับ
.
ความเชื่อ: การกินแบบ Intermittent Fasting ดีต่อสุขภาพมากกว่าการกินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ?
ความจริง: #มีข้อดีพอๆกัน ครับ
งานวิจัยทั้งในสัตว์ทั้งในมนุษย์ที่มีอยู่ในปัจจุบันล้วนยืนยันตรงกันว่า ไม่ว่าจะกินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ หรือ กินแบบ Intermittent Fasting ถ้ามีการควบคุมปริมาณอาหารที่กินให้"พอดี"ก็จะมีสุขภาพที่ดี มีความเสี่ยงต่อโรคต่างๆน้อย แต่ถ้ากินตามใจอยาก ไม่มีการควบคุมใดๆ ก็จะเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคต่างๆได้มากพอๆกันทั้ง 2 แบบ
.
ความเชื่อ: การกินแบบ Intermittent Fasting ทำให้อายุยืนยาวกว่าการกินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ?
ความจริง: #ไม่ได้ทำให้อายุยืนยาวขึ้น ครับ
เพราะทฤษฎีต่างๆที่ยกมากล่าวอ้างกันนั้นล้วนเป็นการตีความงานวิจัยเกินขอบเขต และอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงครับ
ไม่ว่าจะเป็น..
1.ทฤษฎี การ Recycle ชิ้นส่วนที่เสื่อมสภาพของเซลล์โดยกระบวนการกลืนกินตัวเอง (Autophagy) และการซ่อมแซมเซลล์โดยยีน Sirtuin
- ซึ่งจริงๆแล้ว ในเซลล์นั้นมีบางชิ้นส่วนที่ไม่สามารถ Recycle ได้ คือไม่สามารถทำลายไปก่อน แล้วค่อยสร้างขึ้นมาใหม่ได้
เช่น Nucleus เพราะถ้าเกิดNucleus ถูกทำลายไปแล้ว ช่วงที่ Nucleus ถูกทำลายหายไปนั้นจะไม่เหลือใครคอยสั่งการการทำงานใดๆ กลไกลต่างๆภายในเซลล์ก็จะหยุดทำงาน รวมถึงกระบวนการ Autophagy ก็จะหยุดทำงานไปด้วยเช่นกัน
ดังนั้น อายุขัยของเซลล์จึงถูก Limit โดยอายุขัยของ Nucleus
กระบวนการ Autophagy นี้จึงทำได้แค่ maintain เซลล์ไม่ให้ตายไปก่อนครบอายุขัยเท่านั้น
อีกทั้ง การศึกษาวิจัยเรื่อง Autophagy นี้ไม่ได้มีการวิจัยในมนุษย์แต่อย่างใด มีเพียงการศึกษาวิจัยในเซลล์ยีสต์เท่านั้น แล้วเอามา"ตีความงานวิจัยเกินขอบเขต และอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง"ต่อกันไปเองว่าในมนุษย์ก็คงจะเหมือนกับในยีสต์
2.ทฤษฎี การทำให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวโดย Growth Hormone ที่หลั่งออกมามากในระหว่างอดอาหาร
- ซึ่งเป็นการ"พูดความจริงแค่บางส่วน" สืบเนื่องจากงานวิจัยของ University of Cambridge ที่ศึกษาระดับ Growth Hormone ในขณะที่อดอาหารข้ามคืน 10 ชั่วโมง(4ทุ่ม - 8โมงเช้า)(ก็คือเป็นกลุ่มที่กินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ) เปรียบเทียบกับการอดอาหารต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง รายงานว่า
ระดับGrowth Hormoneต่ำสุด (Basal level) ในกลุ่มที่อดอาหารต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง นั้นมีระดับสูงกว่ากลุ่มที่กินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญ
แต่ ระดับGrowth Hormoneโดยเฉลี่ย(Mean level) ระดับสูงสุด(Maximal level) และอัตราการหลั่งต่อนาที(Secretion rate) นั้นไม่มีความแตกต่างกันแต่อย่างใด
แถมยังเป็นการตีความออกทะเลไปไกลมากๆ จากงานวิจัยในปีค.ศ. 1990 ที่ได้เอาคนแก่อายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 12 คนมาฉีดโกรทฮอร์โมน แล้วรายงานว่าคนแก่เหล่านั้นมีมวลกล้ามเนื้อและมวลกระดูกเพิ่มขึ้น
คนก็เลยเอาไป"ตีความงานวิจัยเกินขอบเขต และอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง"ต่อกันไปเองว่า โดยปกติแล้วคนแก่จะต้องมีมวลกล้ามเนื้อและมวลกระดูกลดลงทุกวันๆ แต่การฉีดโกรทฮอร์โมนกลับทำให้มวลกล้ามเนื้อและกระดูกเพิ่มขึ้น ก็แสดงว่าโกรทฮอร์โมนต่อต้านความแก่ได้ ทำให้อายุยืนยาวได้
ซึ่งจริงๆแล้วไม่ได้มีความสัมพันธ์ใดๆกับการชะลอวัยเลยแม้แต่นิดเดียว
.
ความเชื่อ: การกินแบบ Intermittent Fasting ช่วยแก้ปัญหาการดื้ออินซูลิน(Insulin Resistance)
ความจริง: #ไม่ได้ทำให้การดื้ออินซูลินลดลง ครับ
การกินแบบ Intermittent Fasting โดนเฉพาะแบบ ช่วงเวลากินสั้นๆ ช่วงเวลาอดยาวๆ ทำให้ร่างกายได้รับน้ำตาลกลูโคสน้อยลง ทำให้การหลั่งอินซูลินลดลงด้วย
ร่างกายไม่ได้ตอบสนองภาวะน้ำตาลกลูโคสและอินซูลินในเลือดต่ำเป็นเวลานานนี้ ด้วยการเพิ่มความไวต่อการรับสัญญาณของอินซูลินให้มากขึ้น
แต่ร่างกายตอบสนองภาวะนี้ด้วยการไปหาเชื้อเพลิงตัวอื่นมาการสร้างพลังงาน ซึ่งก็คือกรดไขมันจากการสลายเซลล์ไขมันและกรดอะมิโนจากการสลายเซลล์กล้ามเนื้อนั่นเอง
การสลายเซลล์ไขมันนั้นทำให้ฮอร์โมนรีซิสติน (resistin) ถูกหลั่งออกมาน้อยลง ตามทฤษฎีแล้วอาจทำให้ปัญหาการดื้ออินซูลินทุเลาลงได้
แต่เนื่องจากในความเป็นจริงนั้นไม่ได้มีแต่เซลล์ไขมันเท่านั้นที่สลายไป แต่ยังมีการสลายเซลล์กล้ามเนื้อด้วย
ซึ่งเซลล์กล้ามเนื้อนั้นมีบทบาทสำคัญในแก้ปัญหาการดื้ออินซูลิน ผ่านการเพิ่มกิจกรรมทางกาย(physical activity) เนื่องจากการเพิ่มกิจกรรมทางกาย จะทำให้เซลล์กล้ามเนื้อต้องการเชื้อเพลิงเพื่อเอาไปสร้างเป็นพลังงานให้มากขึ้นและเร็วขึ้นเพื่อดำเนินกิจกรรมดังกล่าว
เซลล์กล้ามเนื้อจึงทำการเพิ่มช่องทางการขนส่งเชื้อเพลิงขึ้นมา ด้วยการกระตุ้นตัวขนส่งน้ำตาลกลูโคส(Glucose Transporter 4; GLUT4)ให้ออกไปอยู่ที่บริเวณผิวเซลล์มากขึ้น ทำให้เซลล์สามารถรับเอาน้ำตาลที่ลอยอยู่ในกระแสเลือด เข้ามาสู่เซลล์ได้รวดเร็วมากขึ้น ปัญหาการดื้ออินซูลินจึงทุเลาลง
แต่เมื่อมีการสลายเซลล์กล้ามเนื้อ cellที่เป็นผู้ใช้น้ำตาลจึงมีน้อยลง การเอาน้ำตาลที่ลอยอยู่ในกระเลือดเข้าสู่เซลล์ก็เกิดขึ้นน้อยลงด้วย ปัญหาการดื้ออินซูลินจึงไม่ดีขึ้น
.
ความเชื่อ: การกินแบบ Intermittent Fasting ทำให้ผอมลง?
ความจริง: #สามารถทำให้ผอมลงได้ ครับ
เนื่องจากการที่เราตัดการกินในบางช่วงเวลาออกไป โดยอนุญาตตัวเองให้กินได้ในช่วงเวลาที่กำหนดเท่านั้น
หากเลือกแนวทางที่กินตามความรู้สึก อิ่มเมื่อไหร่ก็หยุด ในช่วงแรกที่เรายังมีขนาดกระเพาะเท่าปกติอยู่ ขนาดกระเพาะจะเป็นตัวจำกัดปริมาณอาหารที่กินเข้าไป ทำให้ไม่สามารถกินให้ได้รับแคลอรี่เท่ากับการกินแบบเช้า-เที่ยง-เย็นได้ เมื่อคิดรวมทั้งวันแล้วเราจะได้รับแคลอรี่ลดลง ส่งผลให้น้ำหนักตัวลดลง หรือ ผอมลงนั่นเอง
แต่หากเลือกแนวทางกินตามเป้าหมายแคลอรี่ ในช่วงแรกนี้จำเป็นจะต้องมีการฝืนกินอาหารให้ได้แคลอรี่ตามเป้าหมาย แม้จะอิ่มแล้วก็ตาม แนวทางนี้จะน้ำหนักจะลดลงมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับเป้าหมายแคลอรี่ที่ตั้งไว้
.
ความเชื่อ: ถ้าจะลดความอ้วน ต้องเลิกใช้วิธีคุมอาหารแบบกินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ แล้วเปลี่ยนมากินแบบ Intermittent Fasting?
ความจริง: #แล้วแต่ความเหมาะสมของแต่ละบุคคล ครับ ไม่จำเป็นว่าทุกคนจะต้องเปลี่ยนมากินแบบนี้
เนื่องจากกินแบบ Intermittent Fasting นั้นมีประสิทธิ์ภาพในการลดความอ้วนพอๆกับการคุมอาหารแบบกินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ ไม่ได้มีประสิทธิ์ภาพเหนือกว่าแต่อย่างใด
.
ถ้ากินแบบ Intermittent Fasting แล้วจะโยโย่ไหม?
- #ก็มีโอกาสโยโย่ได้ ครับ
เนื่องจากกระเพาะนั้นเป็นอวัยวะที่สามารถขยายตัวได้ หากกินแบบ Intermittent Fasting ที่ช่วงเวลากินสั้นๆ ช่วงเวลาอดยาวๆ ไปนานๆ ก็จะมีอาการ คล้าย #กระเพาะคราก หากกินตามเป้าหมายแคลอรี่ กระเพาะจะขยายตัวได้เร็วกว่า เพราะมีการฝืนกิน แต่ถ้ารักษาความมานะพยายามในการคุมแคลอรี่ไว้ได้ตลอดเป็นระยะเวลานาน อาการโยโย่ก็ไม่เกิด
แต่ถ้ากินแบบตามความรู้สึก อิ่มเมื่อไหร่ก็หยุด กระเพาะจะขยายตัวได้ช้ากว่า เพราะไม่มีการฝืนกิน แต่เมื่อทำแบบนี้ไปนานๆ การขยายตัวของกระเพาะย่อมมี่แน่นอน แล้วแม้จะกินเท่าๆกับช่วงแรกๆ แต่ก็จะรู้สึกไม่อิ่มเหมือนแต่ก่อน ต้องกินมากขึ้นไปอีกถึงจะเริ่มอิ่ม แต่ยิ่งนานวัน ปริมาณอาการที่ต้องกินเพื่อให้รู้สิ่กอิ่มก็จะยิ่งต้องเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จึงทำให้น้ำหนักตัวอาจโยโย่กลับขึ้นมาได้
แล้วถ้าถึงขั้นนั้นแล้วคิดจะเลิก คิดจะกลับไปกินเช้า-เที่ยง-เย็นเหมือนเดิม แน่นอนว่าจะไม่สามารถกินน้อยๆแล้วรู้สึกอิ่มได้ กลายเป็นว่าก็ต้องกินเยอะเท่าๆกับตอนกินแบบ Intermittent Fasting เพื่อจะได้รู้สึกอิ่ม แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องกินปริมาณเยอะแบบนั้น ทั้งเช้า-เที่ยง-เย็นเลย น้ำหนักจะโยโย่ขึ้นไปมากกว่าตอนก่อนเริ่มกินแบบ Intermittent Fasting เสียอีก
.
ถ้าอยากลองกินแบบ Intermittent Fasting แต่กลัวโยโย่ จะทำยังไงดี?
- ควรเริ่มต้นด้วยการกินตามความรู้สึก อิ่มเมื่อไหร่ก็หยุด แต่มีจำกัดปริมาณโปรตีน-แคลอรี่ร่วมด้วย คือ มีเป้าหมายแคลอรี่ตั้งไว้ แต่ถ้ารู้สึกอิ่มก่อนที่จะกินได้ตามเป้า ก็หยุดแค่นั้น ไม่ต้องฝืนกินเพิ่มโดยเฉพาะในผู้ที่กำหนดช่าวงเวลากินสั้นๆ ช่วงเวลาอดยาวๆ เช่น ช่วงเวลากินน้อยกว่า4ชม. ช่วงเวลาอดยาวกว่า20ชม. ยิ่งไม่ควรฝืนกินให้ถึงเป้า กระเพาะจะได้ไม่ขยายมาก จะได้ไม่โยโย่ครับ
(ฉะนั้น ใครที่กำลังคิดอยากลองทำดูเพราะขี้เกียจชั่ง-ตวงอาหาร นับโปรตีน-แคลอรี่ ขอให้เลิกล้มความคิดนั้นไปได้เลย ยังไงก็ต้องคุมอาหารอยู่ดีครับ)
.
ข้อควรระวัง
- Intermittent Fasting ไม่เหมาะกับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะการอดอาหารเป็นเวลาหลายชั่วโมง จะทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycaemia) ได้ครับ
.
สรุป
- การทำ Intermittent Fasting ให้ผลไม่ต่างจากการคุมอาหารแบบที่กินเช้า-เที่ยง-เย็นตามปกติ แต่จะมีข้อควรระวังนิดหน่อย หากตารางเวลาชีวิตประจำวันค่อยข้างยุ่ง ไม่สะดวกกินเช้า-เที่ยง-เย็น สะดวกแบบ Intermittent Fasting มากกว่า ถ้าไม่ใช่ผู้ป่วยเบาหวานก็เลือกทำได้ตามสะดวกเลยครับ
.
Reference
1. Trepanowski JF, et al. Effect of Alternate-Day Fasting on Weight Loss, Weight Maintenance, and Cardioprotection Among Metabolically Healthy Obese Adults: A Randomized Clinical Trial. JAMA Intern Med. 2017
2. Seimon RV, et al. Do intermittent diets provide physiological benefits over continuous diets for weight loss? A systematic review of clinical trials. Mol Cell Endocrinol. 2015
3. Rona Antoni, et al. The Effects of Intermittent Energy Restriction on Indices of Cardiometabolic Health. Research in Endocrinology. Vol. 2014
4. Julie A. Mattison, et al. Impact of caloric restriction on health and survival in rhesus monkeys from the NIA study. Nature 2012
5. Valter D. Longo, et al. Linking sirtuins, IGF-I signaling, and starvation. Experimental Gerontology. 2009
6. Leonie K. Heilbronn, et al. Effect of 6-Month Calorie Restriction on Biomarkers of Longevity, Metabolic Adaptation, and Oxidative Stress in Overweight IndividualsA Randomized Controlled Trial. JAMA. 2006
7. Rudman D. Effects of growth hormone in men over 60 years old. New England Journal of Medicine 1990
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「fasting glucose level」的推薦目錄:
fasting glucose level 在 好食課 Facebook 的最讚貼文
【#短短營養師的臨床知識小舖】By 好食課小編
🎉🎉好食課的共同創辦人:短短營養師回來啦!這次短短營養師想要從一點點生化層面來破解糖友長久以來的迷思💥:
#究竟糖友吃葡萄糖胺到底會不會影響血糖呢?
趕快來看看短短營養師怎麼說吧!!
#趕快分享給長輩看看
-------------------------------------------------------
多數糖尿病患看到葡萄糖這三個字就會聞風色變,敬而遠之。葡萄糖胺,好像有葡萄糖在裡面,那吃葡萄糖胺會不會影響血糖呢?在這邊,短短營養師想告訴你別擔心!吃葡萄糖胺不會影響血糖
在為期4週的研究中,學者並未發現攝取葡萄糖胺會影響血糖和胰島素。
http://care.diabetesjournals.org/content/26/6/1941
一篇針對54名中老年糖尿病患進行為期12周的雙盲隨機臨床研究發現,每日服用1500毫克的鹽酸鹽類葡萄糖胺營養補充品,也不會增加空腹血糖或提高胰島素阻抗性。
http://jhsss.sums.ac.ir/index.php/jhsss/article/view/111
另外一篇綜論文章也指出攝取葡萄糖胺不會影響一般人與糖尿病患的血糖代謝。
based on available evidence, we conclude that GlcN has no effect on fasting blood glucose levels, glucose metabolism, or insulin sensitivity at any oral dose level in healthy subjects, individuals with diabetes, or those with impaired glucose tolerance.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3042150/
葡萄糖胺是透過六碳糖胺合成路徑(hexosamine biosynthesis pathway),由葡萄糖進行合成,雖然有些物種可以經由這個路徑進行逆反應,而過去也認為如果我們吃了葡萄糖胺,可能會透過這個機制逆反應形成葡萄糖,所以可能導致血糖問題,不過學者在這篇人體試驗的結果後認為,人體內可能無法透過這個逆反應從葡萄糖胺轉變成葡萄糖!所以也就不會有血糖的問題囉!
再者,即便葡萄糖胺會影響血糖,其每日建議攝取量1500毫克也僅含有十分之一顆的蘋果糖分。
最後,短短想提醒大家,這類的保健食品商品型態多,若是做成口飲配方,為達更好的適口性,可能會額外添加砂糖、果汁等調味劑,這就有可能會影響糖尿病患的血糖控制了。葡萄糖胺,這類保護骨關節的商品多食品級的營養補充品,而眾多商品中又多含有複方成分如軟骨素或抗氧化劑,究竟是葡萄糖胺有效還是有吃有保佑呢?
以前一陣子的研究來看,葡萄糖胺補充物似乎是偏向於無效的,但無效的原因可能有很多種,所以也不能下定論,還仰望科學家們可以有更長期與大型的研究來探討。
#糖尿病 #高血糖 #葡萄糖胺
fasting glucose level 在 Thai Top Fitness Facebook 的精選貼文
146 Reasons Why Sugar Is Ruining Your Health
146 เหตุผลที่เราไม่ควรกินน้ำตาล
By Nancy Appleton, Ph.D.
(สำหรับคนที่ยังคิดว่ามันมีข้อดีบ้างครับ อาหารทุกชนิดมีข้อดีบ้าง เพียงแต่ว่าเราต้องชั่งข้อดีกับข้อเสียกันครับ)
1. Sugar can suppress the immune system.
2. Sugar upsets the mineral relationships in the body.
3. Sugar can cause hyperactivity, anxiety, difficulty concentrating, and crankiness in children.
4. Sugar can produce a significant rise in triglycerides.
5. Sugar contributes to the reduction in defense against bacterial infection (infectious diseases).
6. Sugar causes a loss of tissue elasticity and function, the more sugar you eat the more elasticity and function you loose.
7. Sugar reduces high density lipoproteins.
8. Sugar leads to chromium deficiency.
9 Sugar leads to cancer of the ovaries.
10. Sugar can increase fasting levels of glucose.
11. Sugar causes copper deficiency.
12. Sugar interferes with absorption of calcium and magnesium.
13. Sugar can weaken eyesight.
14. Sugar raises the level of a neurotransmitters: dopamine, serotonin, and norepinephrine.
15. Sugar can cause hypoglycemia.
16. Sugar can produce an acidic digestive tract.
17. Sugar can cause a rapid rise of adrenaline levels in children.
18. Sugar malabsorption is frequent in patients with functional bowel disease.
19. Sugar can cause premature aging.
20. Sugar can lead to alcoholism.
21. Sugar can cause tooth decay.
22. Sugar contributes to obesity
23. High intake of sugar increases the risk of Crohn's disease, and ulcerative colitis.
24. Sugar can cause changes frequently found in person with gastric or duodenal ulcers.
25. Sugar can cause arthritis.
26. Sugar can cause asthma.
27. Sugar greatly assists the uncontrolled growth of Candida Albicans (yeast infections).
28. Sugar can cause gallstones.
29. Sugar can cause heart disease.
30. Sugar can cause appendicitis.
31. Sugar can cause multiple sclerosis.
32. Sugar can cause hemorrhoids.
33. Sugar can cause varicose veins.
34. Sugar can elevate glucose and insulin responses in oral contraceptive users.
35. Sugar can lead to periodontal disease.
36. Sugar can contribute to osteoporosis.
37. Sugar contributes to saliva acidity.
38. Sugar can cause a decrease in insulin sensitivity.
39. Sugar can lower the amount of Vitamin E (alpha-Tocopherol in the blood.
40. Sugar can decrease growth hormone.
41. Sugar can increase cholesterol.
42. Sugar can increase the systolic blood pressure.
43. Sugar can cause drowsiness and decreased activity in children.
44. High sugar intake increases advanced glycation end products (AGEs)(Sugar bound non-enzymatically to protein)
45. Sugar can interfere with the absorption of protein.
46. Sugar causes food allergies.
47. Sugar can contribute to diabetes.
48. Sugar can cause toxemia during pregnancy.
49. Sugar can contribute to eczema in children.
50. Sugar can cause cardiovascular disease.
51. Sugar can impair the structure of DNA
52. Sugar can change the structure of protein.
53. Sugar can make our skin age by changing the structure of collagen.
54. Sugar can cause cataracts.
55. Sugar can cause emphysema.
56. Sugar can cause atherosclerosis.
57. Sugar can promote an elevation of low density lipoproteins (LDL).
58. High sugar intake can impair the physiological homeostasis of many systems in the body.
59. Sugar lowers the enzymes ability to function.
60. Sugar intake is higher in people with Parkinson’s disease.
61. Sugar can cause a permanent altering the way the proteins act in the body.
62. Sugar can increase the size of the liver by making the liver cells divide.
63. Sugar can increase the amount of liver fat.
64. Sugar can increase kidney size and produce pathological changes in the kidney.
65. Sugar can damage the pancreas.
66. Sugar can increase the body's fluid retention.
67. Sugar is enemy #1 of the bowel movement.
68. Sugar can cause myopia (nearsightedness).
69. Sugar can compromise the lining of the capillaries.
70. Sugar can make the tendons more brittle.
71. Sugar can cause headaches, including migraine.
72. Sugar plays a role in pancreatic cancer in women.
73. Sugar can adversely affect school children's grades and cause learning disorders..
74. Sugar can cause an increase in delta, alpha, and theta brain waves.
75. Sugar can cause depression.
76. Sugar increases the risk of gastric cancer.
77. Sugar and cause dyspepsia (indigestion).
78. Sugar can increase your risk of getting gout.
79. Sugar can increase the levels of glucose in an oral glucose tolerance test over the ingestion of complex carbohydrates.
80. Sugar can increase the insulin responses in humans consuming high-sugar diets compared to low sugar diets.
81 High refined sugar diet reduces learning capacity.
82. Sugar can cause less effective functioning of two blood proteins, albumin, and lipoproteins, which may reduce the body’s ability to handle fat and cholesterol.
83. Sugar can contribute to Alzheimer’s disease.
84. Sugar can cause platelet adhesiveness.
85. Sugar can cause hormonal imbalance; some hormones become underactive and others become overactive.
86. Sugar can lead to the formation of kidney stones.
87. Sugar can lead to the hypothalamus to become highly sensitive to a large variety of stimuli.
88. Sugar can lead to dizziness.
89. Diets high in sugar can cause free radicals and oxidative stress.
90. High sucrose diets of subjects with peripheral vascular disease significantly increases platelet adhesion.
91. High sugar diet can lead to biliary tract cancer.
92. Sugar feeds cancer.
93. High sugar consumption of pregnant adolescents is associated with a twofold increased risk for delivering a small-for-gestational-age (SGA) infant.
94. High sugar consumption can lead to substantial decrease in gestation duration among adolescents.
95. Sugar slows food's travel time through the gastrointestinal tract.
96. Sugar increases the concentration of bile acids in stools and bacterial enzymes in the colon. This can modify bile to produce cancer-causing compounds and colon cancer.
97. Sugar increases estradiol (the most potent form of naturally occurring estrogen) in men.
98. Sugar combines and destroys phosphatase, an enzyme, which makes the process of digestion more difficult.
99. Sugar can be a risk factor of gallbladder cancer.
100. Sugar is an addictive substance.
101. Sugar can be intoxicating, similar to alcohol.
102. Sugar can exacerbate PMS.
103. Sugar given to premature babies can affect the amount of carbon dioxide they produce.
104. Decrease in sugar intake can increase emotional stability.
105. The body changes sugar into 2 to 5 times more fat in the bloodstream than it does starch.
106. The rapid absorption of sugar promotes excessive food intake in obese subjects.
107. Sugar can worsen the symptoms of children with attention deficit hyperactivity disorder (ADHD).
108. Sugar adversely affects urinary electrolyte composition.
109. Sugar can slow down the ability of the adrenal glands to function.
110. Sugar has the potential of inducing abnormal metabolic processes in a normal healthy individual and to promote chronic degenerative diseases.
111.. I.Vs (intravenous feedings) of sugar water can cut off oxygen to the brain.
112. High sucrose intake could be an important risk factor in lung cancer.
113. Sugar increases the risk of polio.
114. High sugar intake can cause epileptic seizures.
115. Sugar causes high blood pressure in obese people.
116. In Intensive Care Units, limiting sugar saves lives.
117. Sugar may induce cell death.
118. Sugar can increase the amount of food that you eat.
119. In juvenile rehabilitation camps, when children were put on a low sugar diet, there was a 44% drop in antisocial behavior.
120. Sugar can lead to prostrate cancer.
121. Sugar dehydrates newborns.
122. Sugar increases the estradiol in young men.
123. Sugar can cause low birth weight babies.
124. Greater consumption of refined sugar is associated with a worse outcome of schizophrenia
125. Sugar can raise homocysteine levels in the blood stream.
126. Sweet food items increase the risk of breast cancer.
127. Sugar is a risk factor in cancer of the small intestine.
128. Sugar may cause laryngeal cancer.
129. Sugar induces salt and water retention.
130. Sugar may contribute to mild memory loss.
131. As sugar increases in the diet of 10 years olds, there is a linear decrease in the intake of many essential nutrients.
132. Sugar can increase the total amount of food consumed.
133. Exposing a newborn to sugar results in a heightened preference for sucrose relative to water at 6 months and 2 years of age.
134. Sugar causes constipation.
135. Sugar causes varicous veins.
136. Sugar can cause brain decay in prediabetic and diabetic women.
137. Sugar can increase the risk of stomach cancer.
138. Sugar can cause metabolic syndrome.
139. Sugar ingestion by pregnant women increases neural tube defects in embryos.
140. Sugar can be a factor in asthma.
141. The higher the sugar consumption the more chances of getting irritable bowel syndrome.
142. Sugar could affect central reward systems.
143. Sugar can cause cancer of the rectum.
144. Sugar can cause endometrial cancer.
145. Sugar can cause renal (kidney) cell carcinoma.
146. Sugar can cause liver tumors.