TERBANG BERSAMA MDB (Bhg 33)
Fikiran saya pagi ini masih terperap di Jakarta di 1996 (cuma saya guna foto baru berbatik Indonesia sebagai foto hiasan kerana tiada foto lain).
Dalam seminar di sana, pertama kali saya melihat ada 3 mentol atas meja ucapan. Hijau boleh bercakap. Kuning baki 1 minit. Merah berhenti serentak dimatikan pembesar suara. Inilah cara terbaik mengawal pembicara yang tak pandai jaga masa atau rasa dia yang paling penting.
Semasa kes Gaza baru2 ini, saya banyak terlibat dalam webinar tentang Gaza. Selalunya masa hanya 10 minit seorang. Ada pembicara suka ambil 30 hingga 40 minit. Tak ada adab masa. Bagaimana Islam nak menang kalau displin pun tak ada.
Di pagi ini juga, saya melihat ke tahun 2050. Indonesia bakal menjadi negara ke-4 dunia yang paling besar dari segi GDP selepas China, India & USA. Pada Julai 2020, Bank Dunia telah menaiktaraf mereka sebagai negara berpendapatan pertengahan. Walaupun income per capita mereka masih rendah (sekitar USD 4,500 USD), GDP mereka paling cepat berkembang.
Bandung Technology Institut banyak menjalankan kajian yang Silicon Valley tak boleh buat.
Presiden Jokowi ingin menjadikan demografi Indonesia ekuiti baru. Dijemputnya syatikat2 besar seperti Amazon datang bertapak dengan pelbagai insentif. Dalam era pandemik, ICT berkembang maju. 11%. Malah ekonomi baru Indonesia adalah e-commerce sesuai dengan demografi & geografi.
Bukalapak akan disenaraikan di Bursa OJK tidak lama lagi dengan nilai lebih dari USD1 bilion. Traveloka & Goto juga akan ikut serta samada secara SPAC atau IPO. Presiden Jokowi mahu Indonesia juga ada homegrown companies bertaraf antarabangsa. Semua syarikat2 ini bermula di 2010-2012. Ada lagi banyak potensi. Gojek. Jago. Tokopedia.
Sekarang, 51% orang tinggal di kota. Di tahun 2030, 70% di urban. 51% pekerja bawah umur 30 tahun. Income per capita di tahun 2045 adalah 23k USD. Indonesia sekarang seperti China 9-10 tahun lepas.
Bukalapak menyediakan perkhidmatan kepada warung2 membeli barang terus dari pembekal & toko besar tanpa 5 lapisan orang tengah. Harga murah. Barang laku. Produksi bertambah. Rakyat gembira.
Idea adalah ekonomi baru. Idea perlu visi & impian.
MDB
同時也有6部Youtube影片,追蹤數超過11萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Youtube影片中提到,ย้อนกลับไปเมื่อ 70 ปีก่อน หรือช่วงปี 1950 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กลุ่มประเทศมหาอำนาจของโลก ก็ได้เปลี่ยนจากยุโรปมาเป็นสหภาพโซเวียตและสหรัฐอ...
「gdp per capita」的推薦目錄:
- 關於gdp per capita 在 Dr Mohd Daud Bakar - Shariah Minds - Minda Syariah Facebook 的精選貼文
- 關於gdp per capita 在 蔡依橙的閱讀筆記 Facebook 的最讚貼文
- 關於gdp per capita 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
- 關於gdp per capita 在 ลงทุนแมน Youtube 的精選貼文
- 關於gdp per capita 在 lifeintaiwan Youtube 的最讚貼文
- 關於gdp per capita 在 prasertcbs Youtube 的最佳解答
- 關於gdp per capita 在 Countries Rank By GDP (PPP) Per Capita - YouTube 的評價
- 關於gdp per capita 在 Real GDP Per Capita and the Standard of Living - YouTube 的評價
gdp per capita 在 蔡依橙的閱讀筆記 Facebook 的最讚貼文
【陪你看國際新聞】日本為何付掉疫苗冷藏櫃費用?
日本這次送我們 100 萬劑疫苗,又把冷藏櫃費用約 200 萬給付掉了。說實在的,對國家來說,這不是大錢,畢竟疫苗就價值約 1 億台幣,但多做這個動作,送禮就是送到心坎裡。
- 獨/真朋友!日本贈AZ費用全包 17冷藏櫃費用破百萬 / TVBS
https://bit.ly/3xWQBxJ
比起一些說要捐疫苗,喊很大聲,免費炒新聞政治表演一整個月,但擺明知道有邪惡力量阻擋,最後應該買不成的,或者就算不小心買成也不想自己出錢的,大家都心裡有數。
我想說的是,現在的日本,很懂得用錢,他們似乎很清楚,錢可以再賺,預算高一點沒關係,但生命、安全、原則、技術、國家正常化、國際形象,一定要趁機做到夠。
畢竟,日本是全世界最會賺錢的國家之一。
例如:美國的 F-35 賣得便宜的合約,一台低於 1 億美元。但日本的 F-35 平均一台約 1.28 億美元。
這是因為日本買了比較多的引擎(重要技術),以及要求要由三菱重工組裝(徹底認識並掌握維修技術)。
- Exclusive: Japan secures extra cost cuts on U.S. F-35 fighter jet package - sources
https://reut.rs/3zRssKJ
又例如:美國在波斯灣戰爭時,要求日本出兵。但日本考量到國內的和平壓力,以及國際形象考量,最後決定不參與戰鬥,而是去幫忙掃雷,然後捐了 130 億美元!
- The Gulf War and Japanese Diplomacy
https://www.nippon.com/en/features/c00202/
但是,1991 年這次捐錢,日本捐得不乾脆,一開始開出來的數字是 1000 萬美元,美國反應超級冷淡,後來才漸漸加到 10 億、90 億,然後 130 億美元。
而且日本在付款時,還說要用日圓付款,美國又瞪了日本一眼,才答應用美元付款。
日本從此學會了,付錢要付得乾脆,要付得帥氣,要付得讓人印象深刻。
像是 2021 年的現在,疫苗用送的,冷藏費全包,這些都是幾千萬美元以內可以處理的,出手就要這樣。送佛送上天,送禮送到家。
在國家正常化的路上,我們應該向日本學習,自己有的口罩,或者日後如果我們有自己的疫苗,捐出手的時候,不要整天跟人家計較。
像是成天抱怨飛機坦克買貴了、交保護費、乞丐什麼的。那就讓人家感覺,這是愛錢勝過生命的一群人。
臺灣並不貧窮,在人均收入上,排名世界第 30 左右。
- List of countries by GDP (nominal) per capita / Wikipedia
https://bit.ly/3jdJAEA
我們最不需要的,就是為了省小錢,卻不經意把自己塑造成一個自私且吝嗇的形象。
其實臺灣人自己都做得很好,像是早期捐助日本的民間捐款,以及去年政府協調捐出的大量口罩,都捐得很漂亮,也換來善的循環,以及國際尊敬。
這是好事,我們繼續一起加油!
gdp per capita 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
กับดักรายได้ปานกลาง ปัญหาใหญ่ ของประเทศกำลังพัฒนา /โดย ลงทุนแมน
Middle Income Trap หรือ กับดักรายได้ปานกลาง
คือปัญหาสำคัญ ที่ทำให้เศรษฐกิจของบางประเทศ พัฒนาแบบก้าวกระโดดต่อไปได้ยากลำบาก
ซึ่งปัญหานี้เอง ที่ทำให้หลายประเทศไม่สามารถก้าวข้ามไปสู่ประเทศรายได้สูงได้เสียที
กับดักรายได้ปานกลาง คืออะไร
แล้วประเทศจะก้าวข้ามกับดักนี้ได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
การจัดอันดับว่าประเทศไหน ถูกจัดอยู่ในรายได้ระดับใด ตามเกณฑ์ล่าสุดของ World Bank จะถูกวัดด้วยรายได้ประชาชาติต่อหัว หรือ GNI per capita
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว น้อยกว่า 32,300 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ต่ำ
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว อยู่ในช่วง 32,300-391,200 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว มากกว่า 391,200 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้สูง
ทั้งนี้ ปัจจัยที่ช่วยให้ประเทศหนึ่ง ประสบความสำเร็จในการยกระดับจากประเทศที่มีรายได้น้อยมาสู่กลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง อาจเกิดมาจากหลายปัจจัย
ยกตัวอย่างเช่น
- ค่าจ้างแรงงานในประเทศที่ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่น จนสามารถดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศได้จำนวนมาก
- การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคเศรษฐกิจที่มีมูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น ภาคเกษตรกรรม ไปสู่ภาคเศรษฐกิจที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เช่น ภาคการบริการ และภาคอุตสาหกรรมการผลิต
- มีทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรพลังงานสามารถส่งออกจนสร้างรายได้มหาศาล หรือมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ จนสร้างมูลค่าจากการท่องเที่ยวได้มาก
อย่างไรก็ตาม ปัจจัยดังกล่าว ที่ส่งให้ประเทศก้าวจากการเป็นประเทศรายได้ต่ำมาเป็นประเทศรายได้ปานกลาง อาจไม่เพียงพอ ที่จะทำให้ประเทศก้าวสู่การเป็นประเทศรายได้สูง..
และในปี 2006 World Bank ก็ได้นิยามปัญหานี้ว่า “Middle Income Trap”
เพื่อให้เข้าใจว่า อะไรบ้างที่เป็นปัจจัยของปัญหา กับดักรายได้ปานกลางนี้
เราลองมาดูตัวอย่างหลายปัจจัย จากหลายประเทศกัน..
ต้นทศวรรษ 1950 ฟิลิปปินส์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เริ่มพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในประเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศให้สูงขึ้น
แต่มาในวันนี้ รายได้ประชาชาติต่อหัวของฟิลิปปินส์ ยังอยู่ที่ประมาณ 120,500 บาทต่อปี ซึ่งยังถูกจัดอยู่ในประเทศรายได้ระดับปานกลาง
หนึ่งในอุปสรรคที่สำคัญของฟิลิปปินส์ คือการขาดนวัตกรรมที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า เพราะรัฐบาลของฟิลิปปินส์ให้ความสำคัญน้อย กับเรื่องการวิจัยและพัฒนา (R&D) ของประเทศ
ปี 2018 งบวิจัยและพัฒนาของฟิลิปปินส์ มีสัดส่วนเพียงแค่ 0.14% ของมูลค่า GDP ประเทศ ซึ่งถือว่าต่ำมาก เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของโลกที่ 2.3%
ฟิลิปปินส์ยังมีปัญหาการคอร์รัปชันอย่างหนัก
ทำให้นโยบายการพัฒนาประเทศ ไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์นี้ ยังคงพบเห็นที่หลายประเทศในลาตินอเมริกา ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ บราซิล
บราซิล เป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในลาตินอเมริกา และใหญ่เป็นอันดับ 13 ของโลก
ทั้งยังเป็นประเทศที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะปริมาณสำรองน้ำมันดิบกว่า 12,999 ล้านบาร์เรล ติดอันดับที่ 20 ของโลก
ปี 1990 มูลค่าเศรษฐกิจของบราซิลเท่ากับ 14.4 ล้านล้านบาท
และเติบโตอย่างรวดเร็วจนสูงถึง 81.1 ล้านล้านบาท ในปี 2011
หรือเติบโตเกือบ 5 เท่า ภายในระยะเวลาเพียง 21 ปี
จนทำให้บราซิล เคยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และน่าจับตามองที่สุดประเทศหนึ่ง
แต่นับจากปี 2011 มา มูลค่า GDP ของบราซิล ก็ไม่กลับไปสู่จุดนั้นอีกเลย..
บราซิลยังเป็นประเทศที่เศรษฐกิจพึ่งพาภาคการส่งออก
ซึ่งสินค้าส่วนใหญ่ยังเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ ที่ความผันผวนของราคาสินค้าส่งออก มักส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของบราซิล
นอกจากนั้น บราซิลยังประสบปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาล และปัญหาการคอร์รัปชัน ซึ่งทำให้ต้นทุนในการทำธุรกิจมีสูง เพราะธุรกิจต้องใช้เส้นสายและจ่ายส่วนแบ่งให้ผู้มีอำนาจ
ซึ่งปัญหาเรื่องความไม่โปร่งใสนี้ ก็ได้กลายเป็นอุปสรรคต่อการดึงดูดเงินลงทุนต่างชาติเข้าไปยังประเทศด้วยเช่นกัน
วันนี้รายได้ประชาชาติต่อหัวของบราซิล อยู่ที่ 284,800 บาทต่อปี ซึ่งยังไม่สามารถก้าวข้ามจากกับดักรายได้ปานกลางไปได้
สำหรับประเทศไทย เราถูกเลื่อนเป็นประเทศที่มีรายได้น้อย มาสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางตั้งแต่ปี 1976
และจุดเปลี่ยนสำคัญของเศรษฐกิจไทย ก็เกิดขึ้นไม่นานหลังจากนั้น หลังจากเริ่มมีการเข้ามาลงทุนจากต่างประเทศ โดยเฉพาะนักลงทุนจากญี่ปุ่น
เนื่องจากญี่ปุ่นในตอนนั้น ได้รับผลกระทบจากการเข้าทำข้อตกลง Plaza Accord กับสหรัฐอเมริกา โดยการลงนามในข้อตกลงดังกล่าว ส่งผลให้ค่าเงินเยนของญี่ปุ่นแข็งค่าขึ้นอย่างมากและรวดเร็ว
เมื่อเงินแข็งค่าขึ้นจากเดิมมาก ภาคการส่งออกของญี่ปุ่นก็ประสบปัญหา เพราะราคาส่งออกสินค้าแพงขึ้นกว่าเดิมมาก ญี่ปุ่นต้องมองหาฐานการผลิตแห่งใหม่ ที่มีค่าแรงถูกและมีข้อได้เปรียบด้านการส่งออก และแน่นอนว่าประเทศที่ได้อานิสงส์จากตรงนี้ ก็คือ ประเทศไทย
นอกจากเศรษฐกิจไทยจะเติบโตจากการเป็นฐานการผลิตสำคัญแล้ว
ภาคการท่องเที่ยว ก็ก้าวขึ้นมามีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
จากการเข้ามาของนักท่องเที่ยวจีนที่เติบโตแบบก้าวกระโดด จากการที่ชนชั้นกลางของจีน มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และนิยมเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศ รวมถึงเดินทางมาไทย
แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดนี้ ก็ยังไม่เพียงพอจะทำให้ไทยเราหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางนี้
เพราะในปี 2019 ประเทศไทย ยังมีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ที่ 226,500 บาทต่อปี
ทำให้ไทย ยังคงจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง มาเป็นเวลากว่า 45 ปีแล้ว
แล้วประเทศที่สามารถหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางนี้ เขาทำกันอย่างไร ?
ลองมาดูตัวอย่างใกล้ตัวเรา คือ ไต้หวัน ที่วันนี้มีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ประมาณ 830,000 บาทต่อปี อยู่ในกลุ่มประเทศรายได้สูงเรียบร้อยแล้ว
จุดเปลี่ยนที่ทำให้ไต้หวันพัฒนาอย่างก้าวกระโดด คือการที่ภาครัฐส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าของไต้หวัน
ในปี 1973 รัฐบาลไต้หวัน ได้ให้ก่อตั้ง Industrial Technology Research Institute (ITRI)
ซึ่ง ITRI มีการร่วมทุนกับบริษัทฟิลิปส์ของเนเธอร์แลนด์ ทำให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตชิป จนทำให้ ITRI ได้พัฒนากระบวนการผลิตชิปเป็นของตัวเอง
และนำมาสู่การก่อตั้งบริษัทที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของไต้หวัน ในปี 1987
ซึ่งบริษัทนั้นก็คือ Taiwan Semiconductor Manufacturing Company (TSMC) นั่นเอง
ปี 2020 TSMC มีรายได้สูงกว่า 1.5 ล้านล้านบาท ขณะที่กำไรสุทธินั้น สูงกว่า 572,000 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นอัตรากำไรสุทธิสูงกว่า 38% สะท้อนถึงการที่บริษัทสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าได้สูงมาก
ไต้หวันยังมีการทุ่มทุนด้านการวิจัยและพัฒนาอย่างหนัก
โดยงบประมาณ R&D คิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 3.3% ของ GDP ในปี 2017
ซึ่งถือว่ามากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
การที่ไต้หวันก้าวข้ามจากกับดักรายได้ปานกลางได้
ที่เห็นได้ชัด ก็มาจากการให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา
โดยเฉพาะกับอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ ที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศได้อย่างมหาศาล
ถึงตรงนี้ ถ้าเรามองโดยภาพรวมแล้วจะเห็นว่า กับดักรายได้ปานกลาง ที่หลายประเทศรวมถึงไทยกำลังพบเจอ มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน
เช่น การที่ยังเป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจไม่สูงมากพอ ยังไม่ค่อยมีนวัตกรรมเป็นของตัวเอง รวมไปถึงปัญหาสำคัญอย่างการคอร์รัปชัน และความไม่มีเสถียรภาพทางด้านการเมือง
และถ้าเราดูตัวอย่าง ประเทศที่สามารถก้าวผ่านกับดักรายได้ปานกลางมาได้ อย่างเช่น ไต้หวัน
ปัจจัยสำคัญคือ การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ เพื่อคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ จนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มมหาศาลให้กับสินค้าและบริการของประเทศได้
แน่นอนว่า การที่จะทำแบบนั้นได้ ต้องมีการร่วมมือกันทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และอีกหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งถ้ามาวางแผนกันดี ๆ แล้วส่งเสริมเรื่องนี้กันให้ถูกจุด
สุดท้ายแล้ว มันก็คงไม่ใช่เรื่องที่เป็นไปไม่ได้
ที่เราจะหลุดพ้น จากกับดักรายได้ปานกลางนี้ไปได้..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article_7Nov2017.pdf
-https://en.wikipedia.org/wiki/Middle_income_trap
-https://admuaea.org/2019/03/27/philippine-economy-headed-for-the-middle-income-trap/
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_proven_oil_reserves
-https://knowledge.ckgsb.edu.cn/2019/05/23/chinese-economy/china-middle-income-trap/
-https://www.globalasia.org/v8no1/focus/taiwans-middle-income-trap-no-escaping-without-services_chen-tain-jy
-https://finance.yahoo.com/quote/TSM/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Economy_of_Brazil
-https://data.worldbank.org/indicator/NE.EXP.GNFS.ZS?locations=BR
-https://blogs.worldbank.org/opendata/new-world-bank-country-classifications-income-level-2020-2021
-https://eng.stat.gov.tw/point.asp?index=1
gdp per capita 在 ลงทุนแมน Youtube 的精選貼文
ย้อนกลับไปเมื่อ 70 ปีก่อน หรือช่วงปี 1950 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง
กลุ่มประเทศมหาอำนาจของโลก ก็ได้เปลี่ยนจากยุโรปมาเป็นสหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกา และยังเป็นช่วงเวลาที่ประเทศทั่วโลก อยู่ในช่วงการฟื้นฟูจากความเสียหายหลังสงคราม
จากวันนั้นมาจนถึงตอนนี้ ประเทศไหนที่สามารถฟื้นฟูและเติบโตได้อย่างโดดเด่น
จนทำให้คนในประเทศรวยขึ้นมากที่สุดในโลก ? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ลงทุนแมน ลงทุนในความรู้
การลงทุนในความรู้ไม่มีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรกด”Subscribe”ลงทุนแมนไว้ในทุกช่องทาง
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website -https://www.longtunman.com/
Blockdit - https://www.blockdit.com/longtunman
Facebook - http://facebook.com/longtunman
Twitter - http://twitter.com/longtunman
Instagram - http://instagram.com/longtunman
Line - http://page.line.me/longtunman
YouTube -https://www.youtube.com/longtunman
Spotify - https://open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Soundcloud - http://soundcloud.com/longtunman
Apple Podcasts - http://podcasts.apple.com/th/podcast/...
Clubhouse - @longtunman
#ลงทุนแมน #ห้องประชุมลงทุนแมน #ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง #BREAKTHROUGH #THEBRIEFCASE #longtunman #ลงทุนแมนORIGINALS #ลงทุนเกิร์ลTALK #ลงทุนเกิร์ล
gdp per capita 在 lifeintaiwan Youtube 的最讚貼文
Is Taiwan a developed country? This may seem like a simple question, but there is actually more to the definition of a developed country than meets the eye, a report known as the Human Development Index carried out by the UN is largely responsible for classifying countries as developed or not. Watch to find out what I think!!
#taiwan #lifeintaiwan #已開發國家
Send me stickers!
196 Hankou Road, Section 4, North District, Taichung City 404
404台中市北區漢口路四段196號
去看看我的Patreon,您可以幫助支持該頻道並訪問一些令人驚嘆的VVVIP附加功能:
https://www.patreon.com/lifeintaiwan2017
Check out my Patreon where you can help support the channel and access some AWESOME VVVIP Extra Features:
https://www.patreon.com/lifeintaiwan2017
Subscribe! 訂閱吧 ---- : https://www.youtube.com/c/lifeintaiwan
Facebook/FB ---- : https://www.facebook.com/lifeintaiwan2017
Instagram/IG ---- : https://www.instagram.com/lifeintaiwan2017
看其他的影片:
Check out some other videos:
與黑素斯一起泡餅乾 BISCUIT dunking with JESUS!!
https://www.youtube.com/watch?v=SeJgp6KvmvY
台灣的外國人吃3種米血! I EAT 3 kinds of PIG's BLOOD cake!
https://www.youtube.com/watch?v=mjWRxvltJdw&t=5s
外國人在台灣吃傳統壽司 BEST SUSHI in 台灣
https://www.youtube.com/watch?v=AfutAW6k7DE&t=171s
台灣的最好吃美式早餐 ! Best AMERICAN Breakfast in TAIWAN???
https://www.youtube.com/watch?v=6TpH1Cu_-10&t=334s
My Gear:
My camera: http://s.click.aliexpress.com/e/YVbuNZN
My camera & lens kit: http://s.click.aliexpress.com/e/fIa27iy
My nighttime lens: http://s.click.aliexpress.com/e/uNzzneE
My microphone: http://s.click.aliexpress.com/e/RfAUR3F
My video light: http://s.click.aliexpress.com/e/Eu3jmMb
My cheap tripod: http://s.click.aliexpress.com/e/ji2JAee
My computer: http://s.click.aliexpress.com/e/Q7Qn2Z7
拍攝景點:
Shooting Location:
Taichung City
音樂:
Music:
Track: Poolside — LiQWYD [Audio Library Release]
Music provided by Audio Library Plus
Watch: https://youtu.be/ROh5Uc9P39o
Free Download / Stream: https://alplus.io/Poolside
gdp per capita 在 prasertcbs Youtube 的最佳解答
การทำ Simple Linear Regression ด้วย scikit-learn และ statsmodels
ตัวอย่างที่ใช้ในคลิปนี้มาจาก Big mac index ของ The Economist (https://www.economist.com/news/2019/01/10/the-big-mac-index) โดยเป็นการพยากรณ์ราคา Big mac ของเดือนมกราคม 2019 ด้วย GDP per capita ของแต่ละประเทศ
ดาวน์โหลด Jupyter Notebook ที่ใช้ในคลิปได้ที่ ► http://bit.ly/2IlNw5q
เชิญสมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ได้ที่ ► https://www.youtube.com/subscription_center?add_user=prasertcbs
สอน Machine learning ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GH_3VrwwnQafwWQ6ibKnEtU
สอน Jupyter Notebook ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GErrygsfQtDtBT4CloRkiDx
สอน Python สำหรับ data science ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GFVfRk_MmZt0vQXNIi36LUz
สอน pandas ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GGsOHPCeufxCLt-uGU5Rsuj
สอน numpy ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GFNEpzsCBEnkUwgAwOu_PWw
สอน matplotlib ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GGRvUsTmO8MQUkIuM1thTCf
สอน seaborn ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GGC9QvLlrQGvMYatTjnOUwR
สอนภาษาไพธอน Python เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GH4YQs9t4tf2RIYolHt_YwW
สอนภาษาไพธอน Python OOP ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GEIZzlTKPUiOqkewkWmwadW
สอนการใช้งานโปรแกรม R: https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GGSiUGzdWbjxIkZqEO-O6qZ
สอนภาษา R เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GF6qjrRuZFSHdnBXD2KVIC
#prasertcbs_datascience #prasertcbs #prasertcbs_pandas #prasertcbs_sklearn
gdp per capita 在 Countries Rank By GDP (PPP) Per Capita - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>