The regulations could have implications for the rest of the US.
grubhub app 在 Facebook 的最佳貼文
今天早上起床,看到確診案例不斷攀升
想必大家心情一定很沈重
這幾天和讀者朋友們聊天的過程中
大家都很難想像在美國的我們究竟是怎麼撐過這一年的
畢竟從新聞上看起來,根本就是平行時空啊
/
2019年年底,我們從台灣的新聞中已經得知了「武漢肺炎」(當時還沒更名為新冠肺炎)
一方面擔心台灣親友的平安,但同時經歷過SARS的我們心中已經警鈴大響,不知道什麼時候會蔓延來美國
2020年1月21日,全美首例就出現在我所居住的華盛頓州
當時比較當機立斷的朋友都已經開始超前部署
趕忙申請孩子的學校、身份,舉家遷回台灣避難
當時因為先生工作走不開
孩子也都捨不得和爸爸、同學、朋友分離
台灣的爸爸媽媽都是高齡,擔心我們這一回去可能將他們置於風險中
所以我們家就決定咬牙在美國撐著
畢竟自己選擇要結婚移民過來,總不能出了事便逃回娘家要家人國人一起承擔
/
接下來疫情風風火火
台灣人聞風喪膽的SARS全美國當年只有確診8個案例、無人死亡
所以全美對於新冠肺癌的恐懼、甚至遠不如流感
前總統川普先生多次表示「事情都在控制中」、「小感冒總會有人死」,川普更在2月底的總統記者會上,公開聲稱美國疫情爆炸的消息「都是假的!」,4/6白宮發言表示戴口罩不是必要的 “You can do it. You don’t have to do it. I am choosing not to do it. It may be good. It is only a recommendation, voluntary.”
導致大部分美國民眾輕忽感染的嚴重性
美國疾管局不斷強調「口罩無用論」、只要勤洗手就好
美國沒有健保、檢測資源也不足,所以許多低收入家庭根本無法檢測擴大感染風險
再加上堅持「不自由毋寧死」的麻瓜腦很多
導致美國成為當時世界防疫敬陪末座的國家之一
/
從2020年3月6日開始,我們覺得苗頭不對
率先就向學校與公司申請在家上班、停課
隨著每天疫情攀升,州長也在2020/3/23下了封城令
(目前華盛頓州預計全面開放的時間是2021/6/30)
關閉全州的餐館,酒吧,娛樂場所和娛樂設施,例如體育館和電影院。餐廳僅外賣和外送。連種睫毛做指甲剪頭髮按摩等salons 都不能營業,真的是比哀傷更哀傷的現況。
接著我們川普大大終於宣佈全國進入緊急狀態(美國史上第二次「國家公衛緊急狀態」)、頒布旅遊禁令。
/
剛開始的心情自然是很惶恐
走在路上戴口罩還會被麻瓜們指責「生病還出來?!」
當你解釋戴口罩只是為了公共衛生、保護自己與別人時還會被糾正「沒有生病的人是不用戴口罩的!你這樣出來會嚇到別人」
口罩、乾洗手、消毒酒精幾乎全面缺貨,網路上甚至開始有無良商人坐地喊價(200個口罩售價台幣8000)
華盛頓州原本就是西岸科技公司的重鎮之一
當時雖然州長下了居家令,對大部分的公司行號還算是可以迅速調整出一套Work from home的模式(甚至許多公司是已經行之有年)
但是中小學校就有點慌了手腳,學區和老師們盡力發展出一套網路上課的系統
不過家長還是怨聲載道,畢竟孩子在家上課真的是一團混亂
對我這種家庭主婦而言,原本先生孩子一出門
我就可以專心處理家務、買菜、追劇、甚至和朋友出門聊天喝咖啡
但這段時間全家都綁在一起,互相干擾是家常便飯
爸爸開會到一半衝出來請我管一下孩子不然太吵
孩子明明上體育課在客廳蹦蹦跳或是鋼琴課也很無辜
我一邊教小孩課業,爸爸一個中場休息就跑來下指導棋順便問一聲「今天中午吃什麼」都會踩爆我的地雷
(更難想像雙親都要上班,家中還有幾個不能去上課的小鬼頭....日子怎麼過?)
不過,牙一咬也是撐過來了,大家最終還是在這個過程中找到一種新的平衡。
✅學校的對策是停課但不停學
所以校區很努力準備網路線上課程、讓家長可以回學校領取Ipad和教材
甚至為18歲以下的兒童提供餐點、為需要的家庭提供托兒服務
假設為了學習需要筆記型電腦與Wifi,也可以從學校辦公室借用,確保每個孩子在家受教育的權利
羅比和妹妹兩人的筆記型電腦和iPad 都是學校提供的
✅台灣人的團結與向心力
地方媽媽這時候也發揮台灣人的團結與向心力
畢竟大家都在家上班上學、沒有人前往台灣人的餐廳用餐
而這些餐廳仍然得養員工、付房租
所以大家會開始無償組織線上訂餐、送餐、團購、路邊取貨送上車等極小化感染風險的服務,希望幫助這些在地商家仍然可以正常運作
彼此也會開始互相鼓勵留在美國、別一窩蜂跟著回台灣造成防疫破口
甚至開始想辦法透過關係進口口罩到美國來支援醫護人員(我家只有3盒口罩還捐了2盒口罩給兒童醫院)
我覺得台灣人在海外互相照顧的情操、在這一刻顯得滿偉大的
值得一提的是,因為先生都居家工作
造成媽媽們的負擔加重,爭吵加劇,甚至有大公司提供員工免費的婚姻諮詢服務XD
大概很怕大家離婚或殺夫吧
✅遠距上班的魔力
其實我自己非常訝異很多人都很喜歡、並且希望維持WFH
但可能我一介主婦想得太單純了
很多員工對於能夠節省出門打扮化妝、通勤塞車的時間
偶爾偷閒用電腦滑個臉書也不怕被老闆或同事看到,多自由啊!
甚至,有些公司去年整年WFH營業額卻突破歷史新高,發現員工的效率並沒有比較低落。像羅比爸的公司就乾脆宣布無限期支持員工在家上班,所以有些同事就直接搬到遠一點的郊區、房價比蛋黃蛋白區便宜但換得一個更寬敞的房子,讓一家人居家防疫也能更舒服些。
只不過,家中有小小孩會干擾會議也是很普遍的現象,導致很多雙薪父母不得不另外聘請保姆或直接電視開整天了...
✅餐廳、零售業、網購業的第二春
疫情剛開始餐廳的確是慘兮兮,畢竟少了堂食的客人勢必造成劇烈的影響
但也因此大大小小的餐廳開始專注於「送餐服務」
積極地和Ubereats、Doordash、飯糰外賣、Postmates、Bite Squad、Grubhub等外送平台合作
也因為要精進外送品質,許多商家開始添購一些包裝、密封材料
讓每一個餐點收到的時候都是又精緻又新鮮。
對我們這些消費者而言,疫情前要上餐館總是那幾間、有些新店開張了都不知道。
現在反而可以沒事滑送餐平台app、發現什麼新店開幕、促銷活動都可以隨時嚐鮮,因此嘗試了好幾家新餐廳新菜色。
有一家餐廳老闆娘跟我聊起,發現外送生意還不錯,以後其實可以減少店鋪面積與人力開銷、如果有員工曠職或辭職也不會有太大的人員短缺意外。
銀行似乎也看準了這個商機,現在很多信用卡都會以「送餐平台VIP會員一年」的號招免外送費、每個月有時還會有促銷折扣碼可以使用吃免錢。
至於買菜也多虧了Instacart、Weee、Amazon Fresh這些平台
讓我們可以輕鬆選購Costco、生鮮蔬果、泡麵飲料、醬料罐頭
動動手指便送到家,只要收到的產品有錯誤或是不新鮮還可以立刻和客服聯絡退款
所以我經常跟大家說「我一整年沒走進超市買菜了」絕非誇大
✅空間變得至關重要
原本我們家住在市中心高樓公寓,雖小但也溫馨
公寓裡面也有各種公共設施例如健身房、三溫暖、電影院可以使用
交通四通八達方便不已
在台灣住慣公寓的我,根本不覺得擁擠
甚至覺得打掃和整理太輕鬆方便了,還不用除草掃落葉、每週四拖垃圾桶出去放
不過當全家24/7都被關在這一個小空間裡的時候
就難以避免感到處處受限與牽制,先生在主臥房兼書房上班時,我都得「爬進」主臥室使用洗手間(避免被鏡頭拍到)
羅比在房間上網課時,Blair就只能使用餐桌來寫功課
不然肯定一邊上課一邊聊天(抓狂)
我在廚房裡更不敢開果汁機、打麵糰這些會製造噪音的料理怕干擾孩子上課
所以我們就趕忙換了一個房間多一點、帶個小後院的房子
至少人人都有點喘息或呼吸的空間
我很難想像如果台灣地狹人稠的狀態,全家擠在一起上班上課有多難
✅人與人的關係
說疏離也好,但朋友最終就變成一個「不得不」「選擇性」的後果
我們還是需要朋友的支持才能夠堅守家園走到今天
但在疫情開始之後,你會發現每個家庭對於防疫的態度不盡相同
有些家庭比較冷靜與大膽,小孩照常去安親班、家長照樣跨州跨國旅遊度假,偶爾也會開趴群聚。
有些家庭比較保守與嚴謹,遵守政府規定大門不出二門不邁,慶生或通聯完全仰賴視訊進行。
也有些家庭會為了要交流,而隱瞞自己的接觸史。
無關對錯,但最終就會變成防疫觀念比較相同的人會走得近些
有些點頭之交可能就會從自己的生命中完全淡出
更別提每次出門都跟打仗一樣草木皆兵,馬路上、電梯裡擦身而過的人都必須假想為帶原者,我當時經常搭電梯有人闖進來,就本能地立刻跳出電梯讓他先上/下樓、拒絕待在同一個密閉空間。真的有種全世界都可能是敵人的時空錯置感。
但意外的是家庭成員的關係從一開始劍拔駑張
最後也能夠找到新的平衡,彼此更緊密
過往兩個孩子各自上學、放學之後還分別有才藝課
回到家經常是傍晚,吃個晚飯就準備上床睡覺了
而現在兩兄妹每天的玩伴只剩下彼此,雖然經常也是大吵小吵不斷
但也是他們出生以來互動最密集的一段時間
#圖片就是正在幫哥哥搥背的妹妹
#我看到也是醉了
✅健康顧慮
這一年來說對我們家最大的收穫是
全。家。都。沒。有。感。冒!
小孩生病總是讓父母辛苦又焦慮
因為沒有在外面接觸別人,所以沒什麼機會把病毒給帶回家
小朋友就一整年都沒有發燒咳嗽流鼻水拉肚子
算是諸多不幸中少數值得感恩的事
不過也因為學校、中文、鋼琴、、全部都使用網路教學
難免擔心孩子的眼睛使用過度造成近視
✅疫苗的普及
也正因為美國是全世界的大疫區
雖然在防疫上面比較落後與鬆散、造成嚴重的擴散
但也因為感染的人數眾多,所以疫苗的普及也相對快速
接種疫苗的流程上也方便、清楚、快速
所以目前全美國已經超過3成的人口兩劑施打完畢(將近一半的人也施打完第一劑)
而4天前 FDA也正式開放疫苗給12-15歲的孩子施打
預期秋天之後11歲以下的孩子們也能順利接種疫苗
✅ 媽媽們的潛力大爆發
這段時間很有趣的現象
好多媽媽們的廚藝精進不少
每天山珍海味、變化多端
甚至開發了烘焙、縫紉、理髮、園藝、美甲等多項技能
大家都變得十項全能,會不會哪天我開始會木工了呢?😂
/
落落長寫了那麼多,記錄了這段時間我們家封城居家的心路歷程
希望台灣的朋友還是要相信衛福部的指揮
嚴謹以對、樂觀面對,雖然疫情緊張但我們都挺過第一次了還怕第二次嗎?
我其實還是樂觀地盼望台灣並不會到封城的時候
不過真的是應該盡可能地自行啟動居家自主管理
勤洗手、正確配戴口罩遮住口鼻
禁止大型聚會、減少外出趴趴走
當然,如果可以就趕緊和我一樣把疫苗打起來吧!
也歡迎四散各地的海外遊子分享或是美國朋友的補充喔!
#我家孩子睡衣穿一年了
#某天要出門才驚覺衣櫃的衣服都小半號
#我的化妝品也都快過期了吧
grubhub app 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
รู้จัก Wang Xing จากนักก๊อบปี้ สู่เจ้าของธุรกิจ E-commerce 9 ล้านล้าน /โดย ลงทุนแมน
ถ้าพูดถึงธุรกิจ Food Delivery เราน่าจะรู้กันอยู่แล้วว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันอย่างดุเดือด
แต่ละแบรนด์ต่างแข่งกัน “เผาผลาญเงิน” ออกโปรโมชันส่วนลดค่าอาหาร หรือบริการส่งฟรี
เพื่อที่จะดึงดูดผู้บริโภคให้เข้ามาใช้แอปพลิเคชันของตน
เพราะสุดท้ายแล้ว แอปพลิเคชันไหนก็ตามที่เป็นผู้รอดชีวิตและมีผู้ใช้งานมากที่สุด
ก็จะสามารถเป็นผู้ชนะ และครองตลาดในแต่ละประเทศ หรือแต่ละพื้นที่ไป
อย่างในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในประเทศไทยจะมีผู้เล่นหลักๆ อยู่ไม่กี่ราย
นั่นก็คือ Grab, Gojek, LINEMAN และ Foodpanda
หรืออย่างในสหรัฐอเมริกา ก็จะมีผู้หลักๆ คือ DoorDash, Uber Eats, Grubhub และ Postmates
แต่สำหรับตลาด Food Delivery ในจีนนั้น ไม่เหมือนกับตลาดในประเทศอื่น
เพราะมีผู้ให้บริการ Food Delivery เจ้าหนึ่ง ที่เป็นผู้ชนะในสงครามครั้งนี้อย่างเห็นได้ชัด
แบรนด์นั้นก็คือ “Meituan Dianping”
เรื่องราวนี้น่าสนใจอย่างไร ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Meituan Dianping ครองส่วนแบ่งตลาดในจีนกว่า 60%
ซึ่งถือว่าเยอะมาก เมื่อเทียบกับ อันดับ 2 ชื่อว่า Ele.me ในเครือ Alibaba
ที่มีส่วนแบ่งตลาดอยู่ประมาณ 30%
จึงทำให้ตลาด Food Delivery ในจีนนั้นมีเจ้าตลาดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ความน่าสนใจอยู่ตรงที่ว่า Meituan Dianping ไม่ได้ทำธุรกิจ Food Delivery มาก่อนตั้งแต่แรก
และที่น่าสนใจไปมากกว่านั้นก็คือ
คุณ Wang Xing ที่เป็นหัวเรือของ Meituan Dianping
ถูกผู้คนในโลกตะวันตกให้ฉายาว่า เขาคือ “นักก๊อบปี้ตัวพ่อ” เลยทีเดียว..
แล้วกว่า Meituan Dianping จะมาเป็นเจ้าตลาด Food Delivery ในจีนอย่างวันนี้
คุณ Wang Xing เคยทำอะไรมาบ้าง ?
คุณ Wang Xing เป็นหนุ่มชาวจีน ที่สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ จากมหาวิทยาลัยชิงหวา และได้เดินทางไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเดลาแวร์ ในสหรัฐอเมริกา
ระหว่างที่ศึกษาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา เขาได้ลองเข้าไปใช้งานเว็บไซต์โซเชียลมีเดีย ชื่อว่า “Friendster”
ซึ่งถือเป็นโซเชียลมีเดียในยุคบุกเบิก ที่มาก่อน Hi5, Myspace และ Facebook เสียอีก
เขาเห็นธุรกิจโซเชียลมีเดียในสหรัฐอเมริกาเติบโตอย่างรวดเร็ว
บวกกับความสนใจส่วนตัว ต่อแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย
เขาจึงตัดสินใจดรอปเรียนกลางคันจากมหาวิทยาลัยเดลาแวร์
และกลับมาที่จีนเพื่อที่จะทำโซเชียลมีเดียของเขาเอง
โดยโซเชียลมีเดียแรกที่เขาสร้างขึ้นมาก็คือ “Duoduoyou”
ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่เอา Friendster มาเป็นต้นแบบ
แต่ Duoduoyou ก็ไม่เป็นที่รู้จัก และไม่ประสบความสำเร็จเท่าไรนัก
ต่อมาในปี 2004 ก็มีแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียอีกรายที่เป็นกระแสขึ้นมาในสหรัฐฯ
นั่นก็คือ “Facebook” ที่เริ่มให้บริการจากในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
จนเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ
หลังจากนั้น 1 ปี คุณ Wang Xing ก็ได้นำโมเดลธุรกิจของ Facebook มาทำตาม
โดยเขาได้สร้างโซเชียลมีเดียชื่อว่า “Xiaonei”
ที่เน้นให้บริการกับนักศึกษามหาวิทยาลัย
และได้ทำ Xiaonei ให้มีหน้าตาคล้ายๆ กับ Facebook
Xiaonei ได้รับความสนใจและเติบโตอย่างมากในจีน
แต่การที่มีผู้ใช้เพิ่มขึ้นเยอะมาก ก็ทำให้ค่าบริหารจัดการเซิร์ฟเวอร์ของแพลตฟอร์มเพิ่มขึ้นมากเช่นกัน
สุดท้ายแล้ว คุณ Wang Xing ก็ต้องขาย Xiaonei ออกไป
เนื่องจากเขาไม่สามารถหาเงินได้มากพอสำหรับค่าเซิร์ฟเวอร์ได้
และ Xiaonei ก็ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Renren ในเวลาต่อมา
หลังจากนั้นในปี 2007 เขาก็ได้ก่อตั้ง Fanfou
ซึ่งเป็นโซเชียลมีเดียแบบ Microblog ที่มีความเหมือนกับ Twitter
แต่ก็ต้องปิดให้บริการไป เนื่องจากเนื้อหาของข่าวในแพลตฟอร์ม
ไปขัดกับนโยบายด้านข่าวสารของรัฐบาลจีน
หลังการสร้างมาแล้ว 3 แพลตฟอร์ม แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร
ก็ถึงคราว กำเนิด “Meituan” แล้ว..
ช่วงนั้นเป็นช่วงที่ธุรกิจ Group buying หรือการซื้อแบบกลุ่มกำลังได้รับความนิยมในสหรัฐอเมริกา
โดยที่ผู้ขายจะขายสินค้าราคาถูกให้กับผู้ซื้อถ้าจำนวนซื้อมากพอ
ซึ่งในขณะนั้น Groupon คือบริษัทสตาร์ตอัปที่ให้บริการการซื้อแบบกลุ่มที่มาแรงมาก
คุณ Wang Xing จึงนำโมเดลของ Groupon มาสร้างบริษัทของเขาชื่อว่า “Meituan”
แต่หลังจากนั้นไม่นาน ตลาดผู้ให้บริการ Group buying ก็มีคู่แข่งมากมาย
แต่แทนที่เขาจะขยายธุรกิจแบบเร่งด่วน หรือเสนอโปรโมชันมากมาย เหมือนที่บริษัทอื่นทำ
สิ่งที่เขาตั้งใจทำก็คือเน้นการสร้างแอปพลิเคชันที่ใช้งานง่าย
และเอาข้อมูลที่ได้จากผู้ใช้มาวิเคราะห์เพื่อที่จะขยายตลาดได้อย่างถูกต้อง
เขาใช้ข้อมูลของลูกค้า และคู่ค้าบนแพลตฟอร์ม
มาวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้งาน
ทำให้เขาสามารถขยายธุรกิจได้อย่างตรงจุดกว่าแพลตฟอร์มลักษณะเดียวกันของเจ้าอื่นๆ
นอกจากนั้น เขายังพยายามออกแบบแพลตฟอร์มให้มีบริการอื่น
ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจ Food Delivery, ซื้อขายสินค้าออนไลน์, รีวิวร้านอาหารและไลฟ์สไตล์ และอื่นๆ อีกมากมาย
จริงๆ แล้วในตอนนั้น มีบริษัทที่เข้ามาในตลาดรีวิวร้านอาหารและไลฟ์สไตล์ก่อนแล้ว
บริษัทนั้นก็คือ “Dianping” ซึ่งในตอนนั้น Dianping ก็เพิ่งได้เข้ามาเล่นในอุตสาหกรรม Group buying เช่นเดียวกัน
ต่อมา ในปี 2015 บริษัท Meituan ก็ได้ควบรวมกิจการกับ Dianping
โดยที่คุณ Wang Xing ยังคงดำรงตำแหน่งเป็นหัวเรือใหญ่ของบริษัทใหม่แห่งนี้ ที่มีชื่อว่า “Meituan Dianping”
โดยสิ่งที่ทำให้ Meituan Dianping สามารถครองส่วนแบ่งตลาด Food Delivery ได้มากในจีนแผ่นดินใหญ่ก็เพราะว่า
Meituan Dianping มีความเป็น “Super App”
หรือก็คือ แอปที่ทำได้เกือบทุกเรื่องในที่เดียว
เพราะนอกเหนือจากการทำธุรกิจส่งอาหารออนไลน์แล้ว
ยังมีการให้บริการการเดินทาง, ค้าปลีก, รีวิวร้านอาหาร, แชร์ประสบการณ์ ไลฟ์สไตล์ และบริการอื่นๆ อีกมากมาย
ที่สำคัญก็คือผู้ใช้งานสามารถชำระเงินค่าบริการต่างๆ ผ่านแอปพลิเคชันได้
ซึ่งตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนจีนที่กำลังเข้าสู่สังคมไร้เงินสด
นอกจากนั้นยังมีการเจาะกลุ่มลูกค้าตามพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ
จากการเป็น Super App ที่มีบริการมากมาย จึงทำให้ Meituan สามารถเจาะกลุ่มเป้าหมายลูกค้าได้ตามสถานที่ต่างๆ อย่างเช่น ร้านอาหารหรือห้างสรรพสินค้าในแต่ละพื้นที่ และที่สำคัญยังมีรีวิวร้านอาหารต่างๆ อีกด้วย ซึ่งสามารถสร้างประสบการณ์ที่ดีกับลูกค้าได้
โดยในปี 2019 ที่ผ่านมา Meituan Dianping มีรายได้ 453,000 ล้านบาท และกำไร 10,388 ล้านบาท
โดยรายได้โตจากปีก่อนหน้า +50% และในปี 2019 ยังเป็นปีแรกที่บริษัทสามารถทำกำไรได้
และปัจจุบัน Meituan Dianping มีมูลค่าประมาณ 9 ล้านล้านบาท
หลังจากล้มลุกคลุกคลานมาหลายหน มาถึงครั้งนี้
ต้องบอกว่า อาณาจักร Meituan Dianping ดูจะไปได้สวย
และทำให้ คุณ Wang Xing สามารถพิสูจน์ตัวเองได้ว่า
แม้ธุรกิจของเขาจะถูกมองว่าก๊อบปี้มา
แต่เขาก็สามารถทำให้อาณาจักรอีคอมเมิร์ซของเขาประสบความสำเร็จได้อย่างในตอนนี้
เพราะที่ผ่านมา มีผู้คนมากมายต่างบอกว่าเขาคือนักก๊อบปี้
แต่เขาไม่สนใจและได้ตอบกลับมาว่า
“การก๊อบปี้คือโจทย์ข้อหนึ่ง และยังมีโจทย์ข้ออื่นๆ ให้แก้อีก เช่น จะก๊อบปี้แล้วนำมาให้บริการในจีนอย่างไร”
ความสำเร็จของเขาทำให้ผู้คนทั่วโลกได้เห็นว่า
การจะเป็นผู้ชนะในตลาดที่มีการแข่งขันสูง ไม่จำเป็นต้องเป็นเจ้าแรกในตลาด
แต่การเป็นผู้ตาม หรือผู้ทำตาม ก็สามารถนำไอเดียของผู้เล่นเจ้าแรกมาปรับใช้ให้ตรงกับตลาดที่ตัวเองมีความชำนาญได้เหมือนกัน
อย่างที่คุณ Kai-Fu Lee ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI
ได้เขียนเอาไว้ในหนังสือ AI Superpowers ว่า
“การก๊อบปี้บริษัทจากสหรัฐอเมริกา และนำมาปรับให้เข้ากับผู้ใช้ชาวจีน ทำให้ คุณ Wang Xing คือผู้ประกอบการตัวจริง” ..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-AI superpowers, Kai-Fu Lee
-https://www.forbes.com/global/2011/0509/companies-wang-xing-china-groupon-friendster-cloner.html?sh=1aea256955a6
-https://www.techinasia.com/chinas-successful-founders-afraid-copycat
-https://www.techinasia.com/silicon-valley-copycat-ceo-meituandianping-wang-xing
grubhub app 在 Grubhub - Home | Facebook 的推薦與評價
Grubhub, Chicago, IL. 1319759 likes · 13648 talking about this. Order food you love, online or with the app. ... <看更多>
grubhub app 在 How To Use Grubhub App to Order Food in 2021: How Does It ... 的推薦與評價
... <看更多>