ต้องลึกแค่ไหนถึงจะเรียกว่า Deep Learning กันนะ ? 🧐
.
👉 มารู้จักกับ Deep Learning ศาสตร์แห่งการเรียนรู้ที่เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ จะเป็นยังไง และมีรายละเอียดยังไง หากพร้อมแล้ว ไปอ่านกันโลดดด !!
.
.
💡 รู้จัก Deep Learning
.
Deep Learning เป็นการเรียนรู้ของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอัตโนมัติ ที่เลียนแบบการทำงานของสมองในมนุษย์ เพื่อทำให้เครื่องสามารถเข้าใจและเรียนรู้จากข้อมูลจำนวนมาก ๆ ได้นั่นเอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Machine Learning และ Artificial Intelligence (AI) ซึ่งในปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีนี้มาใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ โดยสามารถจำป้ายต่าง ๆ แยกแยะรถยนต์กับคนเดินบนถนน หรือสิ่งขีดขวางต่าง ๆ ตรวจจับความเร็วของรถคันหน้าได้นั่นเอง ซึ่งโครงสร้างอัลกอริทึมของ Deep Learning จะสร้าง Artificial Neural Network มันสามารถเรียนรู้และตัดสินใจทำสิ่งต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง
.
.
🔧 Deep Learning ทำงานอย่างไร ?
.
Deep Learning จะทำงานเลียนการทำงานของโครงข่ายเซลล์ประสาทของมนุษย์ หรือที่เรียกว่า Neural Networks ซึ่งสามารถคิดซับซ้อนเหมือนมนุษย์ได้ สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลยหากไม่มีชุดข้อมูล เพื่อสร้างอัลกอริทึมที่สามารถจำแนก ทำนาย และจัดหมวดหมู่ให้กับข้อมูลที่เราต้องการได้นั่นเอง
.
โดย Neural Networks จะมีโหนดที่เชื่อมถึงกันหลาย ๆ ชั้น (เหมือนเส้นประสาทของมนุษย์) จะทำหน้าที่ปรับแต่งประสิทธิภาพของการทำนาย หรือการจัดหมวดหมู่ ยิ่งมีเยอะ และลึกเท่าไหร่ การทำนายก็จะแม่นยำขึ้นเท่านั้น โดยโมเดล Deep Learning จะใช้ชุดข้อมูลจำนวนมากและจะเรียนรู้ลักษณะต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่แม่นยำออกมานั่นเอง
.
ซึ่งในปัจจุบันก็ Deep Learning ก็มีอยู่หลายประเภท ไว้คราวหน้าเดี๋ยวแอดจะมาเล่าให้ฟัง แต่ที่ฮิต ๆ กันก็มีอยู่ 2 ประเภท คือ
.
🔸 Convolutional neural networks (CNNs) - หรือเรียกว่า ConvNets มีเลเยอร์หลายชั้น ส่วนใหญ่จะใช้กับการประมวลผลภาพ สามารถตรวจจับลักษณะภายในรูปภาพได้
.
🔹 Recurrent neural network (RNNs) - ส่วนใหญ่จะใช้ใน Natural Language, Speech Recognition, หรือข้อมูลที่เป็น Time Series เพราะโมเดลสามารถเรียนรู้และจำรูปแบบลำดับของข้อมูลได้นั่นเอง
.
.
✨ Deep Learning ใช้ทำอะไรได้บ้าง ?
.
ในปัจจุบัน Deep Learning จะถูกใช้ในงานต่าง ๆ เช่น Image Recognition, natural language processing (NLP), Speech Recognition Software, Self-driving Cars และอื่น ๆ อีกมากมาย และยังสามารถประยุกต์ใช้ในสาขาอาชีพอื่น ๆ ได้ด้วย ดังนี้
.
🚀 การบิน อวกาศ และการทหาร - ใช้ Deep Learning เพื่อสร้างเครื่องมือในการตรวจจับวัตถุจากดาวเทียม, ระบุตำแหน่งและพื้นที่, รวมถึงการสำรวจพื้นที่ทางทหารเพื่อความปลอดภัยของกองทัพ
.
🏭 ระบบอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม - ใช้ Deep Learning เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานเพื่อให้มีความปลอดภัยมากขึ้น เช่น ในโรงงานที่มีเครื่องจักรมากมาย เพิ่มการตรวจจับอัตโนมัติเมื่อพนักงานเข้าใกล้เครื่องจักร หรือจะเป็นการตรวจจับความผิดปกติของเครื่องจักร เพื่อความปลอดภัย เป็นต้น
.
👨🔬 ทางการแพทย์ - ในปัจจุบันมีการใช้ Deep Learning เพื่อทำการวิจัย และวินิจฉัยโรคมะเร็ง จากการตรวจจับเซลล์มะเร็งในร่างกายมนุษย์แบบอัตโนมัติ
.
📑 อ่านและศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ : https://searchenterpriseai.techtarget.com/definition/deep-learning-deep-neural-network , https://www.mathworks.com/discovery/deep-learning.html , https://www.ibm.com/cloud/learn/deep-learning
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
#deeplearning #BorntoDev
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅POPA Channel,也在其Youtube影片中提到,大家都知道不論在學校讀書,或是在社會做事,一個人能不能夠集中精神,專心眼前,對他的成績和成就都有好大影響。我們緊張小朋友的專注力無可厚非,只不過,你有否想過,我們會在不知不覺間做了破壞小朋友專注力的幫凶? 參考資料 林宜親、李冠慧、宋玟欣、柯華葳、曾志朗、洪 蘭、阮啟弘。〈以認知神經科學取向探討...
neural networks 在 軟體開發學習資訊分享 Facebook 的最佳貼文
初級和進階的客戶分析: 主成分分析( PCA )、K-means 叢集、彈性建模( Elasticity Modeling )和深層神經網路( Deep Neural Networks )
https://softnshare.com/customer-analytics-in-python/
neural networks 在 緯育TibaMe Facebook 的最佳解答
#每日5分鐘快速添補ai知識與技能
在深度學習領域中,常會聽見CNN、RNN...,
到底什麼是CNN?
⠀⠀
CNN,是Convolutional Neural Networks,
稱為卷積神經網路,是深度學習領域的發展主力,
它也被稱為 CNNs 或 ConvNets,
電腦視覺這領域,是因為CNN的關係,
在近幾年有許多重大進展,
在影像辨識中甚至可以超越人類辨識的精準度。
⠀⠀
它是一個很直觀的演算法,
概念跟人類以眼睛去辨識有模擬相似之處。
⠀⠀
基本概念可分為四個部分,
1、填白 padding
2、步長 stride
3、池化 pooling
4、卷積 convolution
⠀⠀
CNN的基本概念、結構組成、應用👇
https://blog.tibame.com/?p=19072
⠀⠀
#AI60問 #深度學習 #CNN #卷積神經網路
【AI/資料科學不可不知的60道問題】
每週4篇AI新知識,一次只要5分鐘,
具備AI跨域知識,為職場技能加分💪
#TibaMe #緯育TibaMe #知識 #學習 #科技
neural networks 在 POPA Channel Youtube 的最讚貼文
大家都知道不論在學校讀書,或是在社會做事,一個人能不能夠集中精神,專心眼前,對他的成績和成就都有好大影響。我們緊張小朋友的專注力無可厚非,只不過,你有否想過,我們會在不知不覺間做了破壞小朋友專注力的幫凶?
參考資料
林宜親、李冠慧、宋玟欣、柯華葳、曾志朗、洪 蘭、阮啟弘。〈以認知神經科學取向探討兒童注意力的發展和學習之關聯〉。國立臺灣師範大學教育心理與輔導學系,教育心理學報。2011,42卷,3期,517-542頁
Posner, M. I., Sheese, B. E., Odludaş, Y., & Tang, Y. (2006). Analyzing and shaping human attentional networks. Neural Networks, 19(9), 1422-1429. doi:10.1016/j.neunet.2006.08.004
Lansbury, J. (2018, August 31). Baby, Interrupted - 7 Ways To Build Your Child's Focus And Attention Span - Janet Lansbury.
佩特拉.索爾布里茲(2016)。專注力:幫助孩子更輕鬆有效的學習(2016年全新改版)(楊文麗,葉靜月譯)。台灣:親子天下。
neural networks 在 CS231n: Convolutional Neural Networks (CNNs / ConvNets) 的推薦與評價
Left: A regular 3-layer Neural Network. Right: A ConvNet arranges its neurons in three dimensions (width, height, depth), as visualized in one of the layers ... ... <看更多>