🤠 人氣講師鍾榮達來TibaMe開課摟!
鍾老師思考自己過往學習的經驗,發現從傳統學習基礎語法的方式,相當枯燥無趣,更難快速理解程式語言的邏輯系統。
於是透過自身的經驗,針對自己過往學習時所遇到的瓶頸,設計了獨創的學習模式,希望每個自學的學員不必再走過他曾走過學習的冤枉路。
🔹 如果你有以下困擾:
👉沒有寫程式背景,想快速入門Python程式語言
👉嘗試學過Python,卻只是單純的學習語法
👉沒有相關背景,會不會很難入門
🙂 那麼你來對了地方!
這是一個不一樣的Python基礎入門課程,你將透過不同的學習方式,直接以6個 Terminal APP的實作,學習Python最重要的入門語法,學員不單能夠學習到原理,又能夠馬上透過實作的方式,理解到Python的邏輯思考方式,快速輕鬆地開啟學習。
🔹 課程特色:
✔ 主題式學習:
透過Python製作各種小工具和小遊戲APP來學習基礎語法
✔ 全實戰課程:
手把手帶你從無到有使用Python寫出有趣的Terminal APP
✔ 現學現賣:
上完課馬上就可以發揮創意製作自己的Terminal APP
✔ 清楚說明程式碼:
能夠理解初學者從0到1學習不易,老師將詳細說明每一行程式碼的邏輯
🔹 實作成果:
📍 BMI值計算:
實作健康標準的BMI計算APP,將可學習到Python的變數、資料型態、函式等指令操作。
📍 今日的幸運顏色:
實作幸運顏色APP,學習串列list, type, help、Random模組、import、迴圈for, range, pass, continue, break等。
📍 小樂透遊戲:
實作小樂透遊戲APP學習集合set、迴圈while、分割split、區域變數、全域變數global、 Function值的傳遞def。
📍 英文單字複習:
實作英文單字複習APP,學習字典dict、迴圈for, dict,錯誤和例外try, except等。
📍 女巫獵人遊戲:
實作女巫獵人遊戲APP,學習類別與物件、物件之間的傳遞、物件繼承關係。
📍 DIY待辦清單 :
實作待辦清單APP,學習如何讀取檔案、寫入檔案。
👇 課程連結於留言處 👇
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過12萬的網紅prasertcbs,也在其Youtube影片中提到,เนื้อหาจะเป็นการจำลองสถานการณ์ว่าเราได้พัฒนาโปรแกรมขึ้นมา โดย source code เก็บอยู่ใน folder โดยไม่มีการใช้โปรแกรมสำหรับจัดการเวอร์ชั่นของซอฟแวร์มาก่อน...
「python global list」的推薦目錄:
- 關於python global list 在 緯育TibaMe Facebook 的最佳貼文
- 關於python global list 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳解答
- 關於python global list 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的精選貼文
- 關於python global list 在 prasertcbs Youtube 的最佳解答
- 關於python global list 在 prasertcbs Youtube 的最佳貼文
- 關於python global list 在 prasertcbs Youtube 的最佳解答
- 關於python global list 在 Defining lists as global variables in Python - Stack Overflow 的評價
- 關於python global list 在 Python 全域變數用法與範例 的評價
- 關於python global list 在 PY0101EN-3-3-Functions.ipynb - Colaboratory 的評價
- 關於python global list 在 Python Homework Assignment #4: Lists - gists · GitHub 的評價
- 關於python global list 在 Get a list of global variables with IDA python - Reverse ... 的評價
python global list 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳解答
Functional programming ชื่อไทยคือ “การโปรแกรมเชิงฟังก์ชั่น” ชื่อย่อ FP เป็นแนวคิดหนึ่งของการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) ชื่อขึ้นต้นด้วย functional แต่ไม่ได้มีดีแค่ประกาศ function ปุ๊บเสร็จ แล้วเรียกใช้ มันมีเบื้องลึกมากกว่านั้นแน่ๆ
🤔 มันจะต่างจากการเขียนโปรแกรมทีละสเตป ตามลำดับก่อนหลัง มีการวนลูป ที่เน้นแก้ state ของโปรแกรมเป็นหลัก
แต่แนวทาง functional programming จะไม่แก้ state ของโปรแกรมเลย ไม่มีการวนลูบ (ใช้ recursion แทน)
ซึ่งแนวคิดก็ต้องเน้นสร้างฟังก์ชั่นนั่นแหละ แต่หลักสำคัญต้องออกแบบให้หลีกเลี่ยง side-effect (ผลข้างเคียง) ที่จะเกิดต่อ function ตัวเอง และตัวอื่น โดยมีหลักยึด 2 อย่างใหญ่คือ
👉 1) function ที่สร้างขึ้นมา เมื่อมีอินพุตค่าเดิมส่งไปหา (เป็นค่าอากิวเมนต์) ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม function จะรีเทิร์นค่าออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง ...(ไอเดียมาจากฟังก์ชั่นในทางคณิตศาสตร์เลยครับ)
เช่น
func(1); // เรียกครั้งที่ 1 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30
func(1); // เรียกครั้งที่ 2 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
func(1); // เรียกครั้งที่ 3 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
👉 2) function ต้องไม่ไปเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรจำพวก global variable หรือ static variable หรือตัวแปรที่อยู่ข้างนอก function ...เพื่อไม่ให้ function อื่นได้รับผลกระทบ
ถ้า function ที่เราประกาศไว้ มีคุณสมบัติ 2 อย่างที่ว่านี้ ก็จะเรียกว่า pure function (ฟังก์ชั่นบริสุทธ์แท้ๆ) 👌
สำหรับอีกคุณลักษณะหนึ่งที่จะไม่กล่าวถึงไม่ได้เลยก็คือ
👉 3) First-class function และ Higher-order function
คำว่า first-class function มาจาก "first class citizen" ที่หมายถึง "พลเมืองชั้นหนึ่ง" ดังนั้น first-class function จะหมายถึง ฟังก์ชั่นเป็นพลเมืองชั้นหนึ่งจริงๆ เลยนะ
คุณสมบัตินี้ function จะถูกมองเป็นข้อมูลประเภทหนึ่ง ไม่ต่างจากข้อมูลตัวเลข สตริง บูลีน ด้วยเหตุนี้จึงสามารถนำ function ไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรยังได้เลย เช่น
x = function(){ .....}
ส่วนคุณสมบัติ Higher-order function:
คุณสมบัตินี้หมายถึง เราสามารถใช้ function ส่งไปเป็นค่าอากิวเมนต์แก่ function ตัวอื่น หรือ function จะรีเทิร์นออกมาจาก function ตัวอื่นออกมาก็ได้ด้วย เช่น
- ส่ง function_A เป็นค่าอากิวเมนต์ไปให้ function_X(function_A);
- จากนั้น function_X() ก็จะสร้าง function_Y แล้วรีเทิร์นมันออกมาได้
😜 ===ประโยชน์ functional programming===
🔥 เอาไปเขียนโปรแกรมโดยไม่มีการวนลูป เช่น ไม่ต้องมานั่งเขียน for … หรือ while… วนลูป เพื่อเข้าถึงข้อมูลโครงสร้างพวก array , list ฯลฯ เป็นต้น
🔥 การทำ currying หมายถึงทำให้ฟังก์ชั่น จากเดิมที่มี parameter หลายตัวให้เหลือแค่ตัวเดียว ด้วยการส่งผลลัพธ์เป็น function ที่รับ Parameter ที่เหลือ ...ใช้เทคนิค closure
🔥 หรือจะทำ function Composition (เอาฟังก์ชั่นมาประกอบกัน)
🔥 หรือจะเอาไปใช้เขียนโปรแกรมแบบ parallel computing (โปรแกรมคู่ขนาน)
🔥 หรือจะเขียนโปรแกรมแบบ asynchronous โดยที่โค้ดหลักไม่ต้องรอการประมวลผลฝั่ง I/O ให้แล้วเสร็จ โค้ดหลักสามารถข้ามไปยังบรรทัดถัดไปก่อนได้เลย
🔥 Testability — ผลพลอยได้ก็คือ เอาแนวคิดนี้ไปใช้ทำ test function ได้ง่าย โดยแต่ละการ test จะเป็นอิสระต่อกัน เมื่อใช้วิธีการเดิมในการทดสอบ 10 ครั้ง ก็ควรได้ผลเหมือนเดิม 10 ครั้ง เป็นต้น
++++ 🤔 ++++++
เมื่อเปรียบเทียบกับแนวคิด OOP (โปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming)
ถ้าโจทย์ปัญหาเป็น parallel computing หรือ asynchronous การใช้แนวคิด functional programming ดูแล้วคล่องแคล่วปราดเปรียวไม่ยุ่งยาก
เนื่องจากแนวคิด functional programming ไม่มีอะไรซับซ้อนมากนัก เขียนโปรแกรมก็จะกระชับ ง่าย...ง๊าย เมื่อเทียบกับ OOP ที่โค้ดจะเยอะกว่า เพราะมี class มากมาย ยิ่งถ้า inheritance โดยให้มีการสืบทอดสมาชิกหลายชั้น ก็จะสับสนตาลาย มึนงงได้ คงต้องพึ่ง IDE ให้เป็นพี่เลี้ยงช่วยแนะนำว่ามีสมาชิกอะไรที่สืบทอดมา
แต่จุดเด่นเรื่อง OOP จะมีความเป็น Modularity ที่สูง โค้ดที่เขียนเป็นอ็อบเจ็กต์แต่ละตัวจะเป็นอิสระต่อกัน เนื่องจากข้อมูลหรือ state ซึ่งอยู่ภายในตัวอ็อบเจ็กต์เอง จะมีเป็นของใครของมัน ขณะเดียวกันแต่ละอ็อบเจ็กต์จะปฏิสัมพันธ์กันได้ สามารถเอาอ็อบเจ็กต์ที่มีอยู่แล้วมา reuse ใช้ได้ง่าย รวมทั้งถอดเข้าถอดออกขณะโปรแกรม run time
แล้วแต่สถานการณ์ว่าจะใช้แนวทางเขียนโปรแกรมแบบไหน
แต่ก็ยอมรับว่าบางทีเขียนแบบ functional programming ก็ยากต่อการทำความเข้าใจ เพราะโค้ดมันสั้นกระชับเกิ๊น
ยิ่งหลายภาษาโปรแกรมมิ่งสมัยใหม่ในปัจจุบันนี้ มีการแทรกแนวคิด functional programming เข้ามา นอกเหนือจากแนวคิด OOP เช่น JavaScript, Python, Java, C#, Swift, Kotlin แต่ก็อาจประยุกต์แนวคิดนี้ได้ไม่ 100% มากนัก
จะไม่เหมือนบ้างภาษาเช่น Haskell ที่มาพร้อมกับ immutable data structure หมายถึงข้อมูลที่ไม่สามารถแก้ไขค่าได้เลย จึงทำให้ function กลายเป็น functional programming แท้ๆ (pure function)
✍ สรุป แนวคิดนี้ไม่ได้เรื่องใหม่มีมานานก่อนบางคน ...อุ้แว ...อุ้แวเกิดเสียอีก แต่ตอนโน่นแนวคิดนี้ยังไม่ดังเปรี้ยงเหมือน OOP คนที่เขียนภาษา JavaScript รวมไปถึง Node.js ย่อมใช้หลักการนี้อย่างไม่รู้ตัว ยิ่งภาษาสมัยใหม่หลายตัวก็ยอมรับแนวคิด functional programming เข้ามาในภาษาเรียบร้อยแล้ว ไม่มีนี้ถือว่าแปลกมาก
--------
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
python global list 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的精選貼文
Functional programming ชื่อไทยคือ “การโปรแกรมเชิงฟังก์ชั่น” ชื่อย่อ FP เป็นแนวคิดหนึ่งของการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) ชื่อขึ้นต้นด้วย functional แต่ไม่ได้มีดีแค่ประกาศ function ปุ๊บเสร็จ แล้วเรียกใช้ มันมีเบื้องลึกมากกว่านั้นแน่ๆ
🤔 มันจะต่างจากการเขียนโปรแกรมทีละสเตป ตามลำดับก่อนหลัง มีการวนลูป ที่เน้นแก้ state ของโปรแกรมเป็นหลัก
แต่แนวทาง functional programming จะไม่แก้ state ของโปรแกรมเลย ไม่มีการวนลูบ (ใช้ recursion แทน)
ซึ่งแนวคิดก็ต้องเน้นสร้างฟังก์ชั่นนั่นแหละ แต่หลักสำคัญต้องออกแบบให้หลีกเลี่ยง side-effect (ผลข้างเคียง) ที่จะเกิดต่อ function ตัวเอง และตัวอื่น โดยมีหลักยึด 2 อย่างใหญ่คือ
👉 1) function ที่สร้างขึ้นมา เมื่อมีอินพุตค่าเดิมส่งไปหา (เป็นค่าอากิวเมนต์) ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม function จะรีเทิร์นค่าออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง ...(ไอเดียมาจากฟังก์ชั่นในทางคณิตศาสตร์เลยครับ)
เช่น
func(1); // เรียกครั้งที่ 1 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30
func(1); // เรียกครั้งที่ 2 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
func(1); // เรียกครั้งที่ 3 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
👉 2) function ต้องไม่ไปเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรจำพวก global variable หรือ static variable หรือตัวแปรที่อยู่ข้างนอก function ...เพื่อไม่ให้ function อื่นได้รับผลกระทบ
ถ้า function ที่เราประกาศไว้ มีคุณสมบัติ 2 อย่างที่ว่านี้ ก็จะเรียกว่า pure function (ฟังก์ชั่นบริสุทธ์แท้ๆ) 👌
สำหรับอีกคุณลักษณะหนึ่งที่จะไม่กล่าวถึงไม่ได้เลยก็คือ
👉 3) First-class function และ Higher-order function
คำว่า first-class function มาจาก "first class citizen" ที่หมายถึง "พลเมืองชั้นหนึ่ง" ดังนั้น first-class function จะหมายถึง ฟังก์ชั่นเป็นพลเมืองชั้นหนึ่งจริงๆ เลยนะ
คุณสมบัตินี้ function จะถูกมองเป็นข้อมูลประเภทหนึ่ง ไม่ต่างจากข้อมูลตัวเลข สตริง บูลีน ด้วยเหตุนี้จึงสามารถนำ function ไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรยังได้เลย เช่น
x = function(){ .....}
ส่วนคุณสมบัติ Higher-order function:
คุณสมบัตินี้หมายถึง เราสามารถใช้ function ส่งไปเป็นค่าอากิวเมนต์แก่ function ตัวอื่น หรือ function จะรีเทิร์นออกมาจาก function ตัวอื่นออกมาก็ได้ด้วย เช่น
- ส่ง function_A เป็นค่าอากิวเมนต์ไปให้ function_X(function_A);
- จากนั้น function_X() ก็จะสร้าง function_Y แล้วรีเทิร์นมันออกมาได้
😜 ===ประโยชน์ functional programming===
🔥 เอาไปเขียนโปรแกรมโดยไม่มีการวนลูป เช่น ไม่ต้องมานั่งเขียน for … หรือ while… วนลูป เพื่อเข้าถึงข้อมูลโครงสร้างพวก array , list ฯลฯ เป็นต้น
🔥 การทำ currying หมายถึงทำให้ฟังก์ชั่น จากเดิมที่มี parameter หลายตัวให้เหลือแค่ตัวเดียว ด้วยการส่งผลลัพธ์เป็น function ที่รับ Parameter ที่เหลือ ...ใช้เทคนิค closure
🔥 หรือจะทำ function Composition (เอาฟังก์ชั่นมาประกอบกัน)
🔥 หรือจะเอาไปใช้เขียนโปรแกรมแบบ parallel computing (โปรแกรมคู่ขนาน)
🔥 หรือจะเขียนโปรแกรมแบบ asynchronous โดยที่โค้ดหลักไม่ต้องรอการประมวลผลฝั่ง I/O ให้แล้วเสร็จ โค้ดหลักสามารถข้ามไปยังบรรทัดถัดไปก่อนได้เลย
🔥 Testability — ผลพลอยได้ก็คือ เอาแนวคิดนี้ไปใช้ทำ test function ได้ง่าย โดยแต่ละการ test จะเป็นอิสระต่อกัน เมื่อใช้วิธีการเดิมในการทดสอบ 10 ครั้ง ก็ควรได้ผลเหมือนเดิม 10 ครั้ง เป็นต้น
++++ 🤔 ++++++
เมื่อเปรียบเทียบกับแนวคิด OOP (โปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming)
ถ้าโจทย์ปัญหาเป็น parallel computing หรือ asynchronous การใช้แนวคิด functional programming ดูแล้วคล่องแคล่วปราดเปรียวไม่ยุ่งยาก
เนื่องจากแนวคิด functional programming ไม่มีอะไรซับซ้อนมากนัก เขียนโปรแกรมก็จะกระชับ ง่าย...ง๊าย เมื่อเทียบกับ OOP ที่โค้ดจะเยอะกว่า เพราะมี class มากมาย ยิ่งถ้า inheritance โดยให้มีการสืบทอดสมาชิกหลายชั้น ก็จะสับสนตาลาย มึนงงได้ คงต้องพึ่ง IDE ให้เป็นพี่เลี้ยงช่วยแนะนำว่ามีสมาชิกอะไรที่สืบทอดมา
แต่จุดเด่นเรื่อง OOP จะมีความเป็น Modularity ที่สูง โค้ดที่เขียนเป็นอ็อบเจ็กต์แต่ละตัวจะเป็นอิสระต่อกัน เนื่องจากข้อมูลหรือ state ซึ่งอยู่ภายในตัวอ็อบเจ็กต์เอง จะมีเป็นของใครของมัน ขณะเดียวกันแต่ละอ็อบเจ็กต์จะปฏิสัมพันธ์กันได้ สามารถเอาอ็อบเจ็กต์ที่มีอยู่แล้วมา reuse ใช้ได้ง่าย รวมทั้งถอดเข้าถอดออกขณะโปรแกรม run time
แล้วแต่สถานการณ์ว่าจะใช้แนวทางเขียนโปรแกรมแบบไหน
แต่ก็ยอมรับว่าบางทีเขียนแบบ functional programming ก็ยากต่อการทำความเข้าใจ เพราะโค้ดมันสั้นกระชับเกิ๊น
ยิ่งหลายภาษาโปรแกรมมิ่งสมัยใหม่ในปัจจุบันนี้ มีการแทรกแนวคิด functional programming เข้ามา นอกเหนือจากแนวคิด OOP เช่น JavaScript, Python, Java, C#, Swift, Kotlin แต่ก็อาจประยุกต์แนวคิดนี้ได้ไม่ 100% มากนัก
จะไม่เหมือนบ้างภาษาเช่น Haskell ที่มาพร้อมกับ immutable data structure หมายถึงข้อมูลที่ไม่สามารถแก้ไขค่าได้เลย จึงทำให้ function กลายเป็น functional programming แท้ๆ (pure function)
✍ สรุป แนวคิดนี้ไม่ได้เรื่องใหม่มีมานานก่อนบางคน ...อุ้แว ...อุ้แวเกิดเสียอีก แต่ตอนโน่นแนวคิดนี้ยังไม่ดังเปรี้ยงเหมือน OOP คนที่เขียนภาษา JavaScript รวมไปถึง Node.js ย่อมใช้หลักการนี้อย่างไม่รู้ตัว ยิ่งภาษาสมัยใหม่หลายตัวก็ยอมรับแนวคิด functional programming เข้ามาในภาษาเรียบร้อยแล้ว ไม่มีนี้ถือว่าแปลกมาก
--------
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
python global list 在 prasertcbs Youtube 的最佳解答
เนื้อหาจะเป็นการจำลองสถานการณ์ว่าเราได้พัฒนาโปรแกรมขึ้นมา โดย source code เก็บอยู่ใน folder โดยไม่มีการใช้โปรแกรมสำหรับจัดการเวอร์ชั่นของซอฟแวร์มาก่อน ลองมาดูว่าหากต้องการใช้ git เพื่อที่จะทำ version control ให้กับ source code ใน folder นี้จะต้องทำอย่างไร โดยมีคำสั่งหลัก ๆ ที่ใช้เรียงตามลำดับดังนี้
การใช้ git init เพื่อสร้าง local repository ให้กับ project/folder
การใช้ git config --global user.name "username" เพื่อกำหนดชื่อผู้ใช้
การใช้ git config --global user.email "me@anyemail.com" เพื่อกำหนด email ของผู้ใช้
การใช้ git add .
การใช้ git commit
การใช้ git remote add origin https://github.com/prasertcbs/atlas.git
การใช้ git push -u origin master
เชิญสมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ได้ที่ ► https://www.youtube.com/subscription_center?add_user=prasertcbs
playlist สอน git เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GGsV1ZAyP4m_iyAbflQrKrX
playlist สอนภาษา Python ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GH4YQs9t4tf2RIYolHt_YwW
playlist สอนภาษาไพธอน Python OOP ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GEIZzlTKPUiOqkewkWmwadW
playlist สอน Python 3 GUI ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GFB1Y3cCmb9aPD5xRB1T11y
playlist สอนภาษา C เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GHHgz0S1tSyIl7vkG0y105z
playlist สอนภาษา C++ ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GEfZwqM2KyCBcPTVsc6cU_i
playlist สอนภาษา C# ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GE4trr-XPozJRwaY7V9hx8K
playlist สอนภาษา Java ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GF26yW0zVc2rzjkygafsILN
playlist สอนภาษา PHP เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GH_6LARFxozL_viEsXV2wgO
playlist สอนภาษา R เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GF6qjrRuZFSHdnBXD2KVICp
#prasertcbs #prasertcbs_git #prasertcbs_github
python global list 在 prasertcbs Youtube 的最佳貼文
เข้าใจตัวแปรแบบ global และ local และขอบเขตการเข้าถึง และอายุของตัวแปร (lifetime of variable)
=== ดาวน์โหลดไฟล์ตัวอย่างได้ที่ https://goo.gl/VhrdMq
เชิญสมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ได้ที่ ► https://www.youtube.com/subscription_center?add_user=prasertcbs
playlist สอนภาษา C เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=Z_u8Nh_Zlqc&list=PLoTScYm9O0GHHgz0S1tSyIl7vkG0y105z
playlist สอนภาษา C++ เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=_NHyJBIxc40&list=PLoTScYm9O0GEfZwqM2KyCBcPTVsc6cU_i
playlist สอนภาษา C# เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=hhl49jwOIZI&list=PLoTScYm9O0GE4trr-XPozJRwaY7V9hx8K
playlist สอนภาษาจาวา Java เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=O3rW9JvADfU&list=PLoTScYm9O0GF26yW0zVc2rzjkygafsILN
playlist สอนการทำ Unit Test ภาษาจาวา Java ► https://www.youtube.com/watch?v=R11yg8hKApU&list=PLoTScYm9O0GHiK3KNdH_PrNB0G3-kb1Bi
playlist สอนภาษาไพธอน Python เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=DI7eca5Kzdc&list=PLoTScYm9O0GH4YQs9t4tf2RIYolHt_YwW
playlist สอนภาษาไพธอน Python การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object-Oriented Programming) ► https://www.youtube.com/watch?v=4bVBSluxJNI&list=PLoTScYm9O0GF_wbU-7layLaSuHjzhIRc9
playlist สอนภาษา R เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=oy4qViQLXsI&list=PLoTScYm9O0GF6qjrRuZFSHdnBXD2KVICp
playlist สอนภาษา PHP เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=zlRDiXjYVo4&list=PLoTScYm9O0GH_6LARFxozL_viEsXV2wgO
python global list 在 prasertcbs Youtube 的最佳解答
กำหนดตัวแปรแบบ global (ภายนอกฟังก์ชัน) และ local (ภายในฟังก์ชัน)
การเข้าถึงตัวแปร global
การเปลี่ยนค่าตัวแปร global จากภายในฟังก์ชัน
===ดาวน์โหลดไฟล์ตัวอย่างได้ที่ http://goo.gl/FoIAkg
เชิญสมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ได้ที่ ► https://www.youtube.com/subscription_center?add_user=prasertcbs
playlist สอนภาษาไพธอน Python เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=DI7eca5Kzdc&list=PLoTScYm9O0GH4YQs9t4tf2RIYolHt_YwW
playlist สอนภาษาไพธอน Python การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object-Oriented Programming) ► https://www.youtube.com/watch?v=4bVBSluxJNI&list=PLoTScYm9O0GF_wbU-7layLaSuHjzhIRc9
playlist สอน Python 3 GUI ► https://www.youtube.com/playlist?list=PLoTScYm9O0GFB1Y3cCmb9aPD5xRB1T11y
playlist สอนภาษา C++ เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=_NHyJBIxc40&list=PLoTScYm9O0GEfZwqM2KyCBcPTVsc6cU_i
playlist สอนภาษา C เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=Z_u8Nh_Zlqc&list=PLoTScYm9O0GHHgz0S1tSyIl7vkG0y105z
playlist สอนภาษา C# เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=hhl49jwOIZI&list=PLoTScYm9O0GE4trr-XPozJRwaY7V9hx8K
playlist สอนภาษาจาวา Java เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=O3rW9JvADfU&list=PLoTScYm9O0GF26yW0zVc2rzjkygafsILN
playlist สอนการทำ Unit Test ภาษาจาวา Java ► https://www.youtube.com/watch?v=R11yg8hKApU&list=PLoTScYm9O0GHiK3KNdH_PrNB0G3-kb1Bi
playlist สอนภาษา R เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=oy4qViQLXsI&list=PLoTScYm9O0GF6qjrRuZFSHdnBXD2KVICp
playlist สอนภาษา PHP เบื้องต้น ► https://www.youtube.com/watch?v=zlRDiXjYVo4&list=PLoTScYm9O0GH_6LARFxozL_viEsXV2wgO
python global list 在 Python 全域變數用法與範例 的推薦與評價
本篇介紹Python 全域變數用法與範例,Python 全域變數要使用global 這個關鍵字,先來說說區域變數與全域變數的差別,區域變數(local variable)是該 ... ... <看更多>
python global list 在 PY0101EN-3-3-Functions.ipynb - Colaboratory 的推薦與評價
This notebook will teach you about the functions in the Python ... A variable that is declared outside a function definition is a global variable, ... ... <看更多>
python global list 在 Defining lists as global variables in Python - Stack Overflow 的推薦與評價
... <看更多>
相關內容