เป็นอีกข่าวดีหนึ่ง ที่ควรจะเป็นอย่างนี้ตั้งแต่แรกอยู่แล้วนะ ที่ไทยเราจะแก้ปัญหาการที่ไม่มีวัคซีน astrazeneca เพียงพอจะฉีด 2 เข็มได้ (ตามแผนที่ควรวางไว้ตั้งแต่ต้นปี) ด้วยการฉีดแอสตร้าเป็นเข็ม 1 แล้วใช้วัคซีน mRNA อย่างของ บ. ไฟเซอร์มาเป็นเข็ม 2
ซึ่งสูตรการฉีด heterologous prime-boost แบบนี้ เป็นแบบที่นิยมทำในประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศนะครับ (สาเหตุจริงๆ มักจะเป็นจากการที่เขาพยายามหยุดใช้วัคซีน astrazeneca) โดยผ่านการศึกษา วิจัย ตีพิมพ์ และทดลองในอาสาสมัครจำนวนมากแล้ว ก่อนจะนำมาใช้เป็นนโยบายของชาติ
รวมทั้ง สูตรวัคซีนไขว้ ไวรัลเวกเตอร์+mRNA นี้ ก็ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลกแล้ว ว่าให้สามารถทำได้ เมื่อเกิดสภาวะวัคซีนขาดแคลน
ซึ่งคนละอย่างกับสูตรวัคซีนไขว้แบบไทยๆ ที่ทดลองทำกันเอง โดยไม่มีชาติอื่นเขาทำด้วย
-------
(รายงานข่าว)
#ทำไมต้องไขว้AstraZeneca_Pfizer
วัคซีนไขว้ (Heterologous prime-boost vaccination) หรือวัคซีน Mix & Match คือการฉีดวัคซีนต่างชนิดกันระหว่างวัคซีนเข็มที่ 1 (Primimg) และวัคซีนเข็มที่ 2 (Boosting) เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน โดยก่อนหน้านี้มีการวิจัยในโรคติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ไวรัสตับอักเสบ วัณโรค มาลาเรีย ถึงแม้ว่าจะวิจัยในระดับสัตว์ทดลอง ต่อมาในระยะหลังเริ่มมีการวิจัยวัคในโรคติดเชื้อไวรัสเอชพีวี และอีโบลาในระดับมนุษย์
สำหรับโควิด ไม่ได้มีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผลด้านไวรัสหรือภูมิคุ้มกัน แต่มาจาก 2 สาเหตุคือ หลายประเทศในยุโรปมีความกังวลต่อภาวะเกล็ดเลือดต่ำและหลอดเลือดอุดตันภายหลังได้รับวัคซีน (VITT) ซึ่งผลข้างเคียงรุนแรงของวัคซีน AstraZeneca ถึงแม้จะพบยากก็ตาม และอีกสาเหตุคือ บางประเทศประสบปัญหาความล่าช้าในการส่งมอบวัคซีน จึงอนุมัติการฉีดวัคซีนไขว้และการวิจัยไปพร้อมกัน
ทั้งนี้ วัคซีนโควิดแบ่งตามเทคโนโลยีการผลิตเป็น 4 ชนิดหลัก ได้แก่ ชนิดสารพันธุกรรม (messenger RNA: mRNA) ชนิดใช้ไวรัสเป็นพาหะ (Recombinant viral vector vaccine) ชนิดที่ทำจากโปรตีนส่วนหนึ่งของเชื้อ (Protein subunit vaccine) และชนิดเชื้อตาย (Inactivated vaccine) ดังนั้น วัคซีนไขว้สูตรใหม่นี้เป็นการฉีดวัคซีนชนิดใช้ไวรัสเป็นพาหะ + ชนิดสารพันธุกรรม
#ผลการวิจัยสูตรไขว้ในต่างประเทศ
งานวิจัยหลักของวัคซีนไขว้ชื่อว่า Com-Cov (Comparing COVID-19 Vaccine Schedule Combination) ในสหราชอาณาจักร เป็นการศึกษาเชิงทดลองเปรียบเทียบการฉีดวัคซีน 4 สูตร ระหว่างการฉีดวัคซีน AstraZeneca หรือ Pfizer 2 เข็มตามปกติ และการฉีดวัคซีนสลับชนิด โดยฉีด AstraZeneca หรือ Pfizer ก่อน ในอาสาสมัครอายุ 50 ปีขึ้นไป เริ่มมาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2564
ผลการวิจัยเบื้องต้นที่เผยแพร่ออกมาในขณะนี้เป็นการศึกษาด้านภูมิคุ้มกันและความปลอดภัย โดยการศึกษาด้านภูมิคุ้มกัน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ระดับภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนหนาม (Anti-spike IgG) หลังฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ครบ 28 วัน ซึ่งคล้ายกับที่หลายคนไปเจาะเลือดตรวจระดับภูมิคุ้มกันที่โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย และ 2. การตอบสนองของเม็ดเลือกขาวชนิด T (T cell response)
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของระดับภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนหนามของสูตร AstraZeneca + Pfizer เท่ากับ 12,906 ELU/mL เทียบกับสูตร AstraZeneca ปกติ 1,392 ELU/mL หรือคิดเป็น 9.2 เท่า ในขณะที่สูตร Pfizer + AstraZeneca กระตุ้นภูมิคุ้มกันได้น้อยกว่าสูตร Pfizer ปกติ (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของระดับภูมิคุ้มกันเท่ากับ 7,133 เทียบกับ 14,080 ELU/mL หรือคิดเป็น 0.51 เท่า)
ส่วนการตอบสนองของเม็ดเลือดขาวชนิด T ซึ่งมีบทบาทสำคัญในภูมิคุ้มกันระยะยาว สูตร AstraZeneca + Pfizer มีการตอบสนองสูงที่สุดเท่ากับ 185 SFC/106 PBMCs เปรีบเทียบกับ 50, 80 และ 99 SFC/106 PBMCs ของสูตร AstraZeneca ปกติ, Pfizer ปกติ และ Pfizer + AstraZeneca ตามลำดับ ผลการศึกษาทั้ง 2 ส่วนจึงแสดงให้เห็นว่าสูตร AstraZeneca + Pfizer สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดี
การศึกษาด้านความปลอดภัย หลังจากฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ในสูตรไขว้ พบว่ามีผลข้างเคียงมากกว่า เมื่อเทียบกับสูตรปกติของแต่ละชนิด ได้แก่ ไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดข้อ ปวดเมื่อย และปวดกล้ามเนื้อ แต่ไม่มีอาการรุนแรงจนต้องรักษาในโรงพยาบาล และส่วนใหญ่เกิดขึ้นภายใน 48 ชั่วโมงหลังการฉีดวัคซีน และเมื่อติดตามผลข้างเคียงต่อจนถึง 1 เดือน ไม่พบความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม
นอกจากนี้ยังมีอีกงานวิจัยชื่อ CombiVacS ในสเปน เป็นการศึกษาเชิงทดลอง แบ่งผู้ที่ได้รับวัคซีน AstraZeneca 1 เข็มเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกได้รับวัคซีน Pfizer เป็นเข็มที่ 2 ส่วนอีกกลุ่มไม่ได้รับวัคซีน เมื่อเดือนเมษายน 2564 พบว่าระดับภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนหนามเพิ่มขึ้นจาก 71.5 เป็น 7,756.7 BAU/mL หลังฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 เป็นระยะเวลา 14 วัน แต่มีข้อจำกัดตรงที่ไม่มีสูตรปกติเปรียบเทียบ
อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาประสิทธิผลของวัคซีนสูตรไขว้นี้ยังมีน้อย ข้อมูลเบื้องต้นจากงานวิจัยในเดนมาร์ก เป็นการศึกษาเชิงสังเกตในประชากร 5,542,079 คน (97.6% ของประชากรในเดนมาร์ก) มีผู้ที่ได้รับวัคซีนสูตรไขว้ 136,551 คน พบว่าวัคซีนสูตรไขว้มีประสิทธิผลในการป้องกันการติดเชื้อ 88% และไม่พบอาการรุนแรงหรือเสียชีวิตจากโควิด แต่ในขณะนั้นสายพันธุ์อัลฟายังเป็นสายพันธุ์หลัก
ปัจจุบันมีหลายประเทศที่ยอมรับวัคซีนไขว้สูตรนี้ เช่น เวียดนาม เกาหลีใต้ แคนาดา และอย่างน้อย 15 ประเทศในสหภาพยุโรป เช่น ฝรั่งเศส เยอรมนี รวมถึงสหราชอาณาจักร
โดยสรุปวัคซีนไขว้สูตร AstraZeneca + Pfizer ที่จะเริ่มใช้ในประเทศไทยในเดือนตุลาคมนี้มีผลการวิจัยในต่างประเทศรองรับ และต่างประเทศให้การยอมรับ แต่ยังต้องมีการติดตามประสิทธิผลของวัคซีนต่อในอนาคต
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過1,460的網紅Eiko.Wingbi Sakura,也在其Youtube影片中提到,R+R RESCUE + REPAIR contains 8 natural ingredients such as Argan Oil, Keratin Protein, Squalene, Marula Oil, Hydrolyzed Protein, Hydrolyzed Collagen P...
recombinant protein 在 CUP 媒體 Facebook 的精選貼文
「外交家」雜誌形容,當地 #疫苗業 發展疲弱,現時只有大約 10 間 #日本 #藥廠 正在研發武肺疫苗,只有 AnGes Inc 成功展開更進階的臨床試驗階段,其疫苗會採用質體 DNA 技術(plasmid DNA technology)。另一間知名藥廠塩野義製藥也已經開始初階段的疫苗臨床試驗,該疫苗則是應用了重組蛋白技術(recombinant protein),藥廠希望在 2021 年底,能夠量產足夠 3,000 萬人使用的武肺疫苗。
詳細全文:
http://bit.ly/3bZ0GAP
延伸專題:
【帶著「疫苗護照」安心出行?】
http://bit.ly/2Man1lW
【疫苗問世將造成更加分裂的美國?】
http://bit.ly/39dKsSS
【牛痘以來最快的疫苗開發 —— BioNTech 是如何跑出?】
http://bit.ly/3neWKPY
==========================
在 www.cup.com.hk 留下你的電郵地址,即可免費訂閱星期一至五 CUP 媒體 的日誌。
🎦 YouTube 👉 https://goo.gl/4ZetJ5
🎙️ CUPodcast 👉 https://bit.ly/35HZaBp
📸 Instagram 👉 www.instagram.com/cupmedia/
💬 Telegram 👉 https://t.me/cupmedia
📣 WhatsApp 👉https://bit.ly/2W1kPye
recombinant protein 在 臨床筆記 Facebook 的最佳解答
美國Novavax疫苗整體有效率89.3%,英變種病毒株達86%,但對南非變種病毒株僅呈49%有效率。
Novavax新冠疫苗的製造:它是重組蛋白(recombinant protein)疫苗,乃採用通過基因改造技術,在昆蟲細胞複製無害的新冠病毒刺突蛋白,使人體能識認刺突蛋白引起免疫反應。
#Novavax
#COVID 19 vaccine
#英國變種病毒
#南非變種病毒
recombinant protein 在 Eiko.Wingbi Sakura Youtube 的最佳解答
R+R RESCUE + REPAIR contains 8 natural ingredients such as Argan Oil, Keratin Protein, Squalene, Marula Oil, Hydrolyzed Protein, Hydrolyzed Collagen Protein, Vitamin E, Omega-6 and Omega-9, and free from Formaldehyde, Phthalate, Paraben and Silicone.
1. Clarify the hair with deep cleansing shampoo.
2. Blow dry the hair.
3. Apply the AUTO CORRECT (Part 1), leave on for 10-20 minutes.
4. Flat iron the hair, activating the product and closing the hair cuticles, repeat the process up 3 to 5 times.
5. Apply the RECOMBINANT (Part 2) from roots to ends, steam the hair for 10-15 minutes and rinse.
6. Apply the THERMAL REPAIR (Part 3), leave on for 10 minutes before blow drying.
I hope you all enjoyed this video! Remember to give it a thumbs up if you did and leave a comment below! Feel free to leave me video requests down below in the comments!
Thank you so much for watching and for all your continued support xx
♥ Instagram: http://instagram.com/Eiko_WingBi
♥ Fanpage: http://www.facebook.com/EikoBaby.FansClub
♥ Facebook: https://www.facebook.com/Eiko.WingBi
recombinant protein 在 Recombinant Proteins - an overview | ScienceDirect Topics 的相關結果
Recombinant proteins, known as highly potent medicines that are safe from off-target side effects, take a shorter time to develop than small molecules. As drugs ... ... <看更多>
recombinant protein 在 Why do we need Recombinant Proteins? - Enzo Life Sciences 的相關結果
Recombinant proteins are proteins encoded by recombinant DNA that has been cloned in an expression vector that supports expression of the gene and ... ... <看更多>
recombinant protein 在 Recombinant protein expression in Escherichia coli - Frontiers 的相關結果
At the theoretical level, the steps needed for obtaining a recombinant protein are pretty straightforward. You take your gene of interest, clone ... ... <看更多>