你想成為具備 AI & Data Science 能力的未來關鍵人才?
⠀⠀
學程從基礎思維、核心技術、產業應用
逐步培養AI資料科家必備技能,
#包含9大關鍵職能
程式語言、資料庫、網路爬蟲、
資料探勘、資料視覺化、機器學習、
影像辨識、深度學習、自然語言處理。
⠀⠀
#給你完整18週的全線上培訓模式
透過12堂線上課程+9堂直播實作,
帶你從基礎、進階到應用
逐步完成9項專案作品。
搭配技術解題導向的共學社群,
讓你透過學程專屬交流社團,
與超過200位學習夥伴一起成長。
⠀⠀
學習中遇到任何學習問題,
都可以透過課程討論區、講師提問互動與答疑解惑,
每項作業都有個人化回饋,
讓你知道如何改進與優化你所學習。
⠀⠀
#3大主題與4種學習資源培養AI基礎思維
為了培養AI基礎思維,
額外規劃3大主題:
最新趨勢、前瞻技術、產業應用
⠀⠀
搭配4種學習資源:
1|5堂AI基礎思維線上課、
2|22篇資料科學專欄文章、
3|22則資料科學Podcast、
4|每月資料科學直播講座
全部提供給你,
幫助你更快掌握AI與資料科學的基礎知識。
⠀⠀
#TibaMe以科技助力學習
直播課缺席不用請假,
會提供七天直播影片回放給你複習,
每週寄送進度課表,
讓你可以按部就班進行學習,
所有學習行為都能透過學習數據中心
做到完整進度追蹤與成果回顧。
更貼心支援行動學習App,
把握每個零碎時間,走到哪學到哪 !
⠀⠀
立即了解完整學程資訊👇
https://bit.ly/3CQBUyu
⠀⠀
#AI資料科學家 #全方位學程班
#超高CP值 #緯育 #TibaMe
同時也有148部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅Untyped 對啊我是工程師,也在其Youtube影片中提到,👇👇👇【凱心琳粉絲Himalaya專屬優惠】(提供30天免費試用!)👇👇👇 https://www.himalaya.com/mPmC6 (此連結已有我的優惠不用再輸入優惠碼!) 2. 點擊「領取30天免費暢聽」 3. 登入 or 注冊後右邊就會出現「優惠碼untyped已兌換 」 ★ 如果...
「science podcast」的推薦目錄:
- 關於science podcast 在 緯育TibaMe Facebook 的最讚貼文
- 關於science podcast 在 鏡好聽 Facebook 的最佳解答
- 關於science podcast 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於science podcast 在 Untyped 對啊我是工程師 Youtube 的精選貼文
- 關於science podcast 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的精選貼文
- 關於science podcast 在 Untyped 對啊我是工程師 Youtube 的精選貼文
- 關於science podcast 在 Unbiased Science Podcast - Home | Facebook 的評價
science podcast 在 鏡好聽 Facebook 的最佳解答
▰ #Podcast 全新第二季 《動物好好玩》專業開播!科博館館長 aka 烏賊達人 #焦傳金 教授,再次帶著豐富的動物知識為大家補充新知。本季將深度了解 #動物心智 與牠們意想不到的智慧。
🐝在這季節目裡,我們可以一次吸收各種意想不到的動物行為小知識,如:琴鳥擁有驚人的模仿能力、蜜蜂可以邏輯推理、海獅其實是記憶大師……透過節目,我們更能拓展對許多動物的認識,而我們相信去深入理解自然界共存的物種,也是相當珍貴的學習功課。
🦑特別介紹:本季我們隆重推出全新的小單元──「動物聲友會」,聰明的卡抖醬將會帶我們一起聆聽動物的聲音,學習從 #叫聲 辨別動物!
🎧️ 現在就來收聽 《#動物好好玩》全新第二季S2 EP00|揭開動物智慧的神祕面紗,一起探索牠們的心智世界:https://bit.ly/38L9clH
國立自然科學博物館 National Museum of Natural Science
#鏡好聽 #想聽愛聽就在鏡好聽
science podcast 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
อัฟกานิสถาน ประเทศที่มีขุมทรัพย์ 100 ล้านล้าน แต่ยังยากจน /โดย ลงทุนแมน
รู้หรือไม่ว่าอัฟกานิสถาน ประเทศที่ความขัดแย้งกำลังทวีความรุนแรง
มีทรัพยากรธรรมชาติ มูลค่ากว่า 100 ล้านล้านบาท
แต่ชาวอัฟกานิสถาน กลับยังจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่ประชากรมีรายได้ต่ำ
โดยประชากรมี GDP เฉลี่ยต่อหัวเพียง 15,814 บาทต่อปี
ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 177 จากการจัดอันดับทั้งหมด 195 ประเทศ
แล้วอะไรกัน ที่ทำให้ประเทศที่แม้จะมีทรัพยากรมูลค่ามหาศาล
แต่ประชากรยังมีรายได้ต่ำ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
อัฟกานิสถาน คือประเทศที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นทะเลทรายที่แห้งแล้ง และพื้นที่ภูเขาหินที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ
ประเทศแห่งนี้มีสภาพภูมิอากาศที่สุดโต่ง กล่าวคือในหน้าร้อนอุณหภูมิอาจสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส
ในขณะที่หน้าหนาวจะมีหิมะปกคลุมเกือบทั่วประเทศและอุณหภูมิบางพื้นที่ อาจจะติดลบ 10 ถึง 20 องศาเซลเซียส
อย่างไรก็ตาม อัฟกานิสถาน ก็ถือเป็นอีกหนึ่งในประเทศที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติจำนวนมหาศาลอยู่ใต้ผืนดิน
โดยมีการประเมินกันว่าอัฟกานิสถานมีปริมาณน้ำมันดิบประมาณ 3,800 ล้านบาร์เรล ซึ่งเป็นแหล่งที่ยังไม่ถูกค้นพบกว่า 1,600 ล้านบาร์เรล และก๊าซธรรมชาติอีกกว่า 44,000 ล้านลูกบาศก์เมตร
นอกจากขุมทรัพย์ธรรมชาติในรูปแบบของเชื้อเพลิงแล้ว
ประเทศอัฟกานิสถาน ยังมีแหล่งแร่ กว่า 100 ล้านล้านบาท
โดยเฉพาะแร่ที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมในปัจจุบันที่สกัดได้ยากกว่าแร่อื่น ๆ ซึ่งถูกคาดการณ์ว่าอาจมีมากถึง 1.4 ล้านตัน ถือว่ามีปริมาณมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
ยกตัวอย่างเช่น “ลิเทียม” เป็นแร่ที่ใช้ผลิตแบตเตอรี่คุณภาพสูง
โดยปริมาณแร่ลิเทียมในประเทศแห่งนี้มีมากถึงขนาดที่ว่าเอกสารภายในกองทัพสหรัฐฯ
ใช้คำว่า “ซาอุดีอาระเบียแห่งลิเทียม” เพื่อกล่าวถึงประเทศอัฟกานิสถาน
รวมถึงยังมีแร่ “นีโอดิเมียม” ที่ใช้สำหรับผลิตมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นชิ้นส่วนสำคัญในรถยนต์ไฟฟ้า ที่กำลังเป็นเมกะเทรนด์ของโลก
นอกจากนี้ อัฟกานิสถานยังมีโลหะมีค่าจำนวนมาก เช่น ทองคำ ทองแดง เงิน และเหล็ก ซึ่งจากการสำรวจของสำนักงานธรณีวิทยาของสหรัฐอเมริกาพบว่าอัฟกานิสถานอาจมีทองแดง 60 ล้านเมตริกตัน และแร่เหล็ก 2.2 พันล้านตัน
หรือแม้กระทั่งอัญมณีอย่าง ทับทิม ไพลิน ไพฑูรย์ ที่มีคุณภาพสูงก็สามารถพบได้ในอัฟกานิสถาน เช่นกัน
เมื่อมีขุมทรัพย์มากมายขนาดนี้ ประเทศอัฟกานิสถานก็น่าจะเป็นประเทศที่มีฐานะร่ำรวยเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่ในความเป็นจริง กลับไม่เป็นเช่นนั้น..
และกลับกลายเป็นว่าประชากรส่วนใหญ่ยังอาศัยอยู่ในพื้นที่ระหว่างหุบเขาเพื่อทำการเกษตรและเลี้ยงแกะซึ่งให้ผลผลิตต่ำ โดยชาวอัฟกานิสถานมี GDP เฉลี่ยต่อหัวอยู่ที่เพียง 15,814 บาทต่อปี
ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 177 จากการจัดอันดับทั้งหมด 195 ประเทศ
สาเหตุที่เป็นแบบนี้ก็เพราะว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ชาวอัฟกานิสถานเผชิญกับปัญหาเชิงโครงสร้างของประเทศที่จำกัดการเจริญเติบโตของภาคเอกชน
ไม่ว่าจะเป็นการทุจริตคอร์รัปชัน ความไม่มั่นคงทางการเมือง โครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอ และที่รู้จักกันดีคือ ความขัดแย้งของรัฐบาลกับกลุ่มตอลิบาน
โดยกลุ่มตอลิบาน ก็ถือเป็นผู้ที่เข้ามาหาประโยชน์จากการขุดเหมืองในอัฟกานิสถานที่มีปริมาณมากและสามารถทำเหมืองแร่ได้ง่าย ไม่ซับซ้อน
ทำให้ทั่วประเทศมีเหมืองเถื่อนกว่า 2,000 แห่ง และในแต่ละเหมืองก็จะมีกลุ่มติดอาวุธหรือชุมชนในพื้นที่เป็นเจ้าของเหมือง
ซึ่งเหมืองเหล่านี้เองที่เป็นแหล่งรายได้สำคัญของกลุ่มตอลิบานจากการดำเนินการขุดเหมืองเอง หรือการรับจ้างคุ้มครองเหมือง
ในขณะที่คู่ขัดแย้งอย่างรัฐบาลอัฟกานิสถาน ไม่สามารถเข้าไปใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีค่าจำนวนมากที่มีอยู่ในประเทศได้อย่างเต็มที่
สะท้อนให้เห็นจากรายได้ทรัพยากรแร่ที่รัฐบาลอัฟกานิสถานทำได้มีไม่ถึง 2% เมื่อเทียบกับรายได้รวมของรัฐบาลต่อปี หรือคิดเป็นมูลค่าเพียง 1,300 ล้านบาท
โดยมีรายงานว่ารัฐบาลต้องสูญเสียรายได้อย่างน้อยปีละ 9,000 ล้านบาท
ให้กับเหมืองเถื่อนเหล่านี้มาตั้งแต่ปี 2001 คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียถึงปัจจุบัน มากถึง 180,000 ล้านบาท
ซึ่งรายได้จากเหมืองเถื่อนที่กลุ่มติดอาวุธได้ไปจากจังหวัด Badakhshan อาจมีมูลค่าใกล้เคียงกับรายได้จากทรัพยากรธรรมชาติทั้งประเทศของรัฐบาลเลยทีเดียว
นอกจากความไม่สงบภายในประเทศจะทำให้รายได้ของอัฟกานิสถานหดหายไปแล้ว เรื่องดังกล่าวยังทำให้ค่าใช้จ่ายของภาครัฐฯ สูงขึ้นอีกด้วย
โดยในปี 2019 อัฟกานิสถานมีค่าใช้จ่ายด้านความมั่นคงสูงถึง 28% ของ GDP ซึ่งประเทศที่มี GDP ใกล้เคียงกัน มีตัวเลขนี้แค่ 3%
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สถานการณ์ทางด้านการเงินของประเทศยิ่งย่ำแย่ลง โดยอัฟกานิสถานเป็นประเทศที่มีการพึ่งพาเงินช่วยเหลือจากองค์กรภายนอกจากต่างประเทศในสัดส่วนที่สูงมาก
อีกทั้งการถอนกำลังทหารของประเทศพันธมิตร ที่นอกจากจะทำให้เงินสนับสนุนลดลงแล้ว
ยังทำให้รายได้จากภาคบริการภายในประเทศหดตัวลงอีกด้วย
ถึงแม้ในปัจจุบัน แร่ในประเทศอัฟกานิสถาน จะเป็นที่ต้องการของประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา ที่ต้องการนำไปใช้ในการเป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีของโลก หรือแม้แต่จีนในฐานะผู้ผลิตและส่งออกแร่หายากอันดับหนึ่งของโลก
แต่จากสถานการณ์ความขัดแย้งและความรุนแรงที่เราเห็นในปัจจุบัน
ก็ดูเหมือนว่าทรัพยากรทางธรรมชาติของประเทศอัฟกานิสถาน
มูลค่าระดับ 100 ล้านล้านบาท จะเป็นเพียงขุมทรัพย์ที่ต้องใช้เวลาอีกนาน กว่าผู้คนที่เกิดและเติบโตขึ้นที่นี่ จะได้ประโยชน์จากมัน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.worldatlas.com/articles/what-are-the-major-natural-resources-of-afghanistan.html
-https://kids.nationalgeographic.com/geography/countries/article/afghanistan#:~:text=respectful%20of%20copyright.-,Afghanistan%20is%20located%20in%20Central%20Asia%20with%20Iran%20to%20the,for%20most%20of%20the%20year.
-https://www.nbcnews.com/science/science-news/rare-earth-afghanistan-sits-1-trillion-minerals-n196861
-https://edition.cnn.com/2021/08/18/business/afghanistan-lithium-rare-earths-mining/index.html
-https://www.worldbank.org/en/country/afghanistan/overview
-https://thediplomat.com/2020/02/afghanistans-mineral-resources-are-a-lost-opportunity-and-a-threat/
-https://www.aa.com.tr/en/asia-pacific/illegal-mining-costs-afghanistan-millions-annually-un/1952838
-https://www.longtunman.com/29086
science podcast 在 Untyped 對啊我是工程師 Youtube 的精選貼文
👇👇👇【凱心琳粉絲Himalaya專屬優惠】(提供30天免費試用!)👇👇👇
https://www.himalaya.com/mPmC6
(此連結已有我的優惠不用再輸入優惠碼!)
2. 點擊「領取30天免費暢聽」
3. 登入 or 注冊後右邊就會出現「優惠碼untyped已兌換 」
★ 如果沒有出現請在優惠碼欄位輸入「untyped」
(可隨時退訂,且30天內完全免費)
這集會聊到...
💬 Overview 💬
1:30 💙 不用早起通勤
2:40 💙 聊聊有聲書
6:30 💙 工作時間彈性
8:26 💙 工作地點彈性
9:09 💙 沒有免費食物
9:40 💙 不用看到同事
11:00 💙 凱心琳喜歡遠端工作嗎
📢 📣 📢 本頻道影片內容有輸出成 podcast 📢 📣 📢
可以在各大podcast平台搜尋「Untyped 對啊我是工程師」
請大家多多支持呀!!🙏🏻💁🏻♀️
#遠端工作 #WorkFromCar #Himalaya有聲書
一定要看到影片最後面並且在「YouTube影片下方」按讚留言訂閱分享唷!
【愛屋及烏】
YouTube 👉 https://www.youtube.com/c/Untyped對啊我是工程師
Podcast 👉 https://open.spotify.com/show/3L5GRMXmq1MRsliQt43oi2?si=3zgvfHlETeuGfp9rIvwTdw
Facebook 臉書粉專 👉 https://www.facebook.com/untyped/
Instagram 👉 https://www.instagram.com/untypedcoding/
合作邀約 👉 untypedcoding@gmail.com
-
Untyped 對啊我是工程師 - There are so many data types in the world of computer science, so are the people who write the code. We aim to UNTYPE the stereotype of engineers and of how coding is only for a certain type of people.
凱心琳: 一個喜歡電腦科學邏輯推理,在科技圈努力為性別平等奮鬥的工程師。
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/O_Hh8BaSTqk/hqdefault.jpg)
science podcast 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的精選貼文
California is leading the United States into the solar panel revolution. And spoilers: it’s actually quite boring. Or at least, it is to the OG environmentalists.
This episode, Nature N8 walks us through the process of installing solar panels on his parents’ roof, inside Californian suburbs. He explains the financial magic of solar, compares it to industrial scale installments, and finds hope in how the once-radical technology has now become ordinary.
Ghost Island Media is proud to be a Media Partner of RESHAPE SUMMIT!
Sign up to this new leadership summit here: https://bit.ly/3kh88gh
Support “Waste Not Why Not” on Patreon. Follow us on Twitter @wastenotpod. Send questions to ask@wastenotwhynot.com. Subscribe to “Waste Not a Newsletter" on Substack.
EPISODE CREDIT | Nate Maynard (@N8May), host | Yu-Chen Lai (@aGuavaEmoji), producer | Emily Y. Wu (@emilyywu), executive producer | Music licensing MB013APQUSHRPW0 | a Ghost Island Media production (@ghostislandme) | www.ghostisland.media
Support us on Patreon:
http://patreon.com/wastenotwhynot
Subscribe to our newsletter:
https://wastenotwhynot.substack.com/
Follow us on Twitter:
https://twitter.com/wastenotpod
Send your questions to:
ask@wastenotwhynot.com
SHOW CREDIT
Emily Y. Wu (Executive Producer)
https://twitter.com/emilyywu
Nate Maynard (Producer / Host)
https://twitter.com/N8MAY
Yu-Chen Lai (Producer / Editing)
https://twitter.com/aGuavaEmoji
Ghost Island Media (Production Company)
https://twitter.com/ghostislandme
www.ghostisland.media
MB013APQUSHRPW0
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/NLZS7lEy2Lk/hqdefault.jpg)
science podcast 在 Untyped 對啊我是工程師 Youtube 的精選貼文
今天巧遇來 Google 借廁所看烏龜的哈佛姐 Alice
雖然廁所沒上到,免費的飯也沒吃到,但是卻從訪談中認識到學霸轉職的心路歷程其實不如大家預期的輕鬆!哈佛姐這次也在訪談中提到許多tips 跟建議,希望對於想轉職軟體工程師的你有所幫助~
哈佛姐的影片:https://youtu.be/P8X5-LoaCis
這集會聊到...
💬 Overview 💬
💙 哈佛姐是誰 0:55
💙 如何去常春藤名校 2:35
💙 學霸兒時夢想就很驚人 4:03
💙 哈佛 vs 博客來 4:45
💙 學霸轉職心得 6:03
💙 工程師職涯規劃 6:39
💙 讀書有用嗎 7:45
💙 為何要讀那麼多學位 9:14
💙 轉職需要學位嗎 9:40
💙 想跟剛進哈佛的自己說什麼 10:50
💙 遊完矽谷,哈佛姐想夢遊 __? 12:10
👇🏻 哈佛姐夢遊矽谷 AliceInSiliconWonderland 👇🏻
https://www.youtube.com/channel/UCB9ryAh6vhavNxALJUJT6-Q
📢 📣 📢 本頻道影片內容有輸出成 podcast 📢 📣 📢
可以在各大podcast平台搜尋「Untyped 對啊我是工程師」
請大家多多支持呀!!🙏🏻💁🏻♀️
#哈佛姐 #讀書有用嗎 #哈總統
一定要看到影片最後面並且在「YouTube影片下方」按讚留言訂閱分享唷!
【愛屋及烏】
YouTube 👉 https://www.youtube.com/c/Untyped對啊我是工程師
Podcast 👉 https://open.spotify.com/show/3L5GRMXmq1MRsliQt43oi2?si=3zgvfHlETeuGfp9rIvwTdw
Facebook 臉書粉專 👉 https://www.facebook.com/untyped/
Instagram 👉 https://www.instagram.com/untypedcoding/
合作邀約 👉 untypedcoding@gmail.com
-
Untyped 對啊我是工程師 - There are so many data types in the world of computer science, so are the people who write the code. We aim to UNTYPE the stereotype of engineers and of how coding is only for a certain type of people.
凱心琳: 一個喜歡電腦科學邏輯推理,在科技圈努力為性別平等奮鬥的工程師。
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/WKNIklHLNc8/hqdefault.jpg)
science podcast 在 Unbiased Science Podcast - Home | Facebook 的推薦與評價
Unbiased Science Podcast. 49565 likes · 1763 talking about this. Dr. Jessica Steier, a public-health expert, and Dr. Andrea Love, an immunologist, are... ... <看更多>