จุดอ่อน ของการชี้วัดเศรษฐกิจ ด้วย GDP /โดย ลงทุนแมน
ถ้าพูดถึงเรื่องเศรษฐกิจ คำแรกๆ ที่เราจะได้ยิน
คงหนีไม่พ้น คำว่า “GDP”
GDP ย่อมาจาก Gross Domestic Product
ซึ่งแปลเป็นไทยว่า “ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ”
คือ มูลค่าตลาดของสินค้า และบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งๆ
แม้ GDP จะถือเป็นตัวชี้วัดที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
ในการวัดขนาด และการเติบโตทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า วิธีวัดแบบนี้จะดี จนไม่มีจุดอ่อนเลย
แล้วจุดอ่อน ของการชี้วัดเศรษฐกิจ ด้วย GDP คืออะไร?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
แนวคิดเรื่อง GDP ถูกนำมาพัฒนาอย่างจริงจัง
ในปี 1934 โดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซียผู้อพยพไปยังสหรัฐอเมริกา
โดยหลักการคำนวณ GDP จะนับมูลค่าขั้นสุดท้ายของสินค้าหรือบริการที่เกิดขึ้นภายในประเทศทั้งหมด
ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นคนไทยหรือคนต่างด้าวที่มาทำงานในประเทศ ผลผลิตหรือรายได้ที่คนเหล่านั้นผลิตได้ จะถูกนำไปคำนวณใน GDP ด้วย
จริงๆ แล้ว GDP สามารถวัดได้จากทั้งด้านรายได้ และด้านของรายจ่าย
แต่เนื่องด้วยการวัดทางด้านรายจ่าย เป็นวิธีที่เป็นพื้นฐาน และทำได้ง่ายกว่า
เราจึงสามารถบอกได้ว่า รายจ่ายในด้านต่างๆ ที่มารวมเป็น GDP สามารถเขียนเป็นสมการได้คือ
GDP = C+I+G+(X-M)
C = Consumption
คือ รายจ่ายเพื่อบริโภค หรือ การจับจ่ายใช้สอยของประชาชน
I = Investment
คือ รายจ่ายเพื่อการลงทุน เช่น การลงทุนของบริษัทต่างๆ ในประเทศ
G = Government Spending
คือ รายจ่ายของรัฐบาล เช่น การลงทุนโครงการต่างๆ ของภาครัฐ
X-M = Exports – Imports หรือ การส่งออกสุทธิ
คือ มูลค่าการส่งออกของประเทศ หักด้วย มูลค่าการนำเข้าของประเทศ
โดยถ้าหากตัวเลข GDP ที่คำนวณออกมา
ของไตรมาสนั้นหรือปีนั้น สูงกว่าช่วงเวลาก่อนหน้าที่นำมาเปรียบเทียบ
ก็จะถือว่า เศรษฐกิจ เกิดการขยายตัว
แต่ถ้าหากน้อยกว่า ช่วงเวลาก่อนหน้าที่นำมาเปรียบเทียบ
ก็จะถือว่า เศรษฐกิจ เกิดการหดตัว นั่นเอง
อย่างไรก็ตาม แม้การใช้ GDP วัดขนาดเศรษฐกิจ
หรือการเติบโตทางเศรษฐกิจ จะเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า การวัดแบบนี้ จะ Perfect ในทุกด้าน
แล้วอะไร ที่เป็นจุดอ่อนของการวัดเศรษฐกิจ ด้วย GDP?
1. GDP ไม่ได้คำนึงถึงเรื่องการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
GDP เป็นการรวมรายได้ของทุกคนในประเทศ โดยไม่ได้สนใจว่า ใครมีรายได้มากน้อยแค่ไหน
ยกตัวอย่างให้เห็นภาพง่ายๆ
กรณีของประเทศไทย ที่มีมูลค่า GDP ประมาณ 16 ล้านล้านบาท ในปี 2019
ซึ่งมูลค่าประมาณ 48% จาก 16 ล้านล้านบาทนั้น กระจุกตัวอยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล
และถ้ายิ่งเจาะไปที่ 10 ตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทย ซึ่งมีทรัพย์สินรวมกันกว่า 3.3 ล้านล้านบาท
ก็จะคิดเป็นประมาณ 1 ใน 5 ของมูลค่า GDP ทั้งประเทศไทย เลยทีเดียว
2. GDP ไม่ได้คำนึงถึงเรื่อง คุณภาพของสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่เสื่อมโทรม
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในเรื่องนี้ คือ อินเดีย และจีน
2 ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 2 และ 6 ของโลก
โดยจีนมีมูลค่า GDP กว่า 444 ล้านล้านบาท ขณะที่อินเดียมีมูลค่า GDP กว่า 78 ล้านล้านบาท
ในช่วงระหว่างปี 2000-2019
จีนมี GDP เติบโตปีละ 9%
ขณะที่อินเดียมี GDP เติบโตปีละ 6.5%
ซึ่งเป็น 2 ประเทศที่อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก
แต่รู้ไหมว่า ทั้งจีนและอินเดียคือ ประเทศที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 และ 3 ของโลก
ปริมาณที่เพิ่มขึ้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไม่เพียงแต่ทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น แต่ยังกระทบต่อระบบนิเวศ ผลผลิตทางการเกษตร และสุขภาพของประชากรในประเทศอีกด้วย
3. GDP ไม่ได้คำนึงถึงเรื่องความสุขทางจิตใจ ของคนในประเทศ
กรณีศึกษาของประเด็นนี้ คือ ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีมูลค่า GDP กว่า 147 ล้านล้านบาท
ใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก
รายได้เฉลี่ยของคนญี่ปุ่นอยู่ที่คนละประมาณ 1.2 ล้านบาทต่อปี ทำให้ญี่ปุ่นถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ประชากรมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีมากเมื่อเทียบกับหลายประเทศ
แต่รู้ไหมว่า ในปี 2017 ญี่ปุ่นเป็นประเทศหนึ่งที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูงมากเป็นอันดับที่ 7 ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และปัญหาดังกล่าวก็ยังคงดำเนินต่อมาจนถึงปัจจุบัน
เฉพาะแค่เดือนตุลาคมปี 2020 ญี่ปุ่นมีจำนวนคนที่ฆ่าตัวตาย มากถึง 2,153 คน ซึ่งแทบไม่ต่างจากจำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดของญี่ปุ่นจากโควิด 19
และอีกปัญหาทางสังคมของญี่ปุ่นอย่าง “ฮิคิโคโมริ ซินโดรม” หรือโรคกลัวการเข้าสังคม ซึ่งอาจเกิดมาจากการถูกกลั่นแกล้ง หรือแรงกดดันต่างๆ ทางสังคม ซึ่งมีการประเมินกันว่า มีคนญี่ปุ่นกว่า 2 ล้านคน ที่กำลังเผชิญกับโรคนี้
จากเรื่องทั้งหมดนี้
เราจะเห็นได้ว่า ถึงแม้ GDP ยังเป็นตัวชี้วัดการเติบโตเศรษฐกิจ และฐานะความเป็นอยู่ของประชากรแต่ละประเทศได้ดีกว่าตัวชี้วัดอีกหลายตัว
แต่ก็ต้องไม่ลืมว่า GDP มันก็มี “จุดอ่อน” ในการนำมาใช้งาน เช่นกัน
การนำ GDP มาใช้เป็นเกณฑ์เพื่อพัฒนาประเทศเพียงมิติเดียว
มันก็อาจจะมีมุมมองด้านอื่นที่ เราอาจลืมนึกถึงไป
ถ้าให้เปรียบประเทศ เป็นครอบครัวก็คงเปรียบได้กับ
การใช้ตัววัดคือ “รายได้ของครอบครัว”
ถึงครอบครัวของเรามีรายได้มาก แต่มันไม่ได้บอกว่า การกระจายของรายได้ให้แต่ละคนในครอบครัวเป็นอย่างไร
รายได้ของครอบครัวมาก ไม่ได้แปลว่า สมาชิกทุกคนในครอบครัว ได้ทานอาหารที่ดี ได้ออกกำลังกาย ได้อยู่ร่วมกันพร้อมหน้า
และสุดท้าย รายได้ของครอบครัวที่มาก ไม่ได้หมายความว่า
เราจะมีความสุขมากตาม..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.pdmo.go.th/th
-https://en.wikipedia.org/wiki/Gross_domestic_product
- https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/Doc_Publication/Book_Economic2555.pdf
-https://www.pdmo.go.th/th/public-debt/debt-outstanding
-https://www.forbes.com/sites/forbespr/2019/05/08/thailands-top-50-richest-on-forbes-list-hit-speed-bump/?sh=42496f105030
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(nominal)
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.MKTP.KD.ZG
-https://www.statista.com/statistics/271748/the-largest-emitters-of-co2-in-the-world/#:~:text=In%202018%2C%20China%20was%20the,biggest%20emitter%20the%20United%20States.
-https://edition.cnn.com/2020/11/28/asia/japan-suicide-women-covid-dst-intl-hnk/index.html
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(nominal)_per_capita
-https://edition.cnn.com/2020/11/28/asia/japan-suicide-women-covid-dst-intl-hnk/index.html
同時也有27部Youtube影片,追蹤數超過21萬的網紅Joshua Se,也在其Youtube影片中提到,過去的兩星期都在使用著全新Samsung Galaxy Note20 Ultra, 今天這影片就來跟大家分享我用它的體驗。 30天免費試用無版權音樂: https://goo.gl/dnYZh5 #Samsung #GalaxyNote20 #Review Timestamps 00:00 ...
speed bump 在 白色豆腐蛋糕電影日記 Facebook 的最佳解答
慘事又來了
《黑寡婦》有不小機率可能延期,至於《靈魂急轉彎》可能轉戰Disney +平台
speed bump 在 新‧二七部隊 軍事雜談 Facebook 的精選貼文
美國富比士雜誌(Forbes)報導一篇《台灣可能擋下中國的入侵》,內容指出,中國要侵略台灣得路徑有多地方,但是每一條都是重大風險和賭注,澎湖變成中國攻台前的先導目標
可登陸的地方似乎只剩下台灣西南部的沿海平原,但是這樣做付出代價極大,因此盯上台北港做首都突擊行動,但在一月的總統大選後,中國解放軍透露一張攻占澎湖的軍事戰略圖,目的訓練攻台的策略,由於台灣的常規軍隊和軍事部署非常堅實,中國可能在奪台之前必須先奪澎湖,澎湖群島上有海軍佈署的雄風二型反艦飛彈和天弓三型飛彈,若解放軍想繞過澎湖直接攻台,艦隊將遭受致命打擊
盡管台灣海軍的潛艦數量稀少,但是一旦發生戰爭,水下作戰將會佈署在澎湖附近伏擊,若中國解放軍想奪取澎湖,必須要透過火箭軍或空軍轟炸澎湖
北京可能有攻佔澎湖的實力,中國的海軍編制巨大,但是中國軍隊往澎湖移動的每一刻,台灣本島都能加快沿岸部署,美國海軍可以在一小時內將兩三個航空母艦戰鬥打擊群轉移到台灣,美軍空中武力和遠程打擊,都成為中國的致命傷害
專家說,中國面對內外部威脅,對台灣發動戰爭是可以想像的最大風險和賭注,然而無論任何一個侵略劇本,時間都不會站在中國那邊,甚至到了咄咄逼人的地步,而且攻打台灣只會使中國內外壓力大到難以想像
speed bump 在 Joshua Se Youtube 的最讚貼文
過去的兩星期都在使用著全新Samsung Galaxy Note20 Ultra, 今天這影片就來跟大家分享我用它的體驗。
30天免費試用無版權音樂: https://goo.gl/dnYZh5
#Samsung #GalaxyNote20 #Review
Timestamps
00:00 Intro
01:06 整體體驗
01:13 設計⼿感
02:07 防暴防花玻璃
03:23 ⽪⾰保護殼
03:40 相機BUMP是否困擾?
04:10 相機測評
06:20 電池耐不耐?
07:25 ⼯作體驗
07:35 S Pen
09:29 One UI 2.5 新隱藏功能
10:09 娛樂體驗
10:18 ⼿機速度快嗎?
10:40 120hz 螢幕超級好
12:07 總結
教学影片播放列表 Filmmaking Tips Playlist :
https://goo.gl/yTV5B5
手持相機拍出超帥轉鏡 EPIC HANDHELD SPEED RAMP TRANSITION:
https://goo.gl/rJoDfs
90秒學七種電影質感拍攝手法 7 CINEMATIC TIPS IN 90 SECONDS :
https://goo.gl/NSeBy2
快速剪辑视频的方法 HOW TO EDIT FAST IN PREMIERE PRO LIKE A PRO :
https://goo.gl/1Y7hE9
基本调色教学 Basic Color Grading :
https://goo.gl/1e7N3Z
制造高画质视频教学 How to Make BETTER videos:
https://goo.gl/7f5KB3
【訂閱RealJoshuaSe/池炜城 】
【 點我訂閱】每日更新影片 : https://goo.gl/hJf8XF
(按下去看更多我的資料)
【聯絡我 / Contact Me】
・Facebook :https://goo.gl/oM2yaL / 池炜城
・Instagram:@JoshuaInstagram
・Twitter:@RealJoshuaSe
・E-mail:RealJoshuaSe@gmail.com
【RealJoshuaSe招牌影片】
・給婆访问会
https://goo.gl/Xl2yMr
・Types Of Dota 2 Players In SEA | 东南亚的Dota 2 玩家
https://goo.gl/VDOOBw
・孩子日记
https://goo.gl/26ZteK
speed bump 在 BumpUPTV Youtube 的最讚貼文
Bump UP iT#523
Redmi Note 9 Pro VS realme X50 5G | Speed Test ทดสอบความเร็ว!!!
การทดสอบความเร็วยกเเรกระหว่าง
Redmi Note 9 Pro VS realme X50 5G
แบบไม่ตัดต่อ ดูกันจะๆ
ติดตามได้ที่ https://www.instagram.com/bumpuptv
https://www.facebook.com/bumpuptv
https://twitter.com/bump145
www.bumpuptv.com
speed bump 在 BumpUPTV Youtube 的精選貼文
Bump UP iT#447
realme 5 VS Vivo Y17 ทดสอบเรื่องความเร็ว Speed test งบ 6,000 บาท
follow me; on https://www.instagram.com/bumpuptv
on https://www.facebook.com/bumpuptv
on https://twitter.com/bump145
www.bumpuptv.com
speed bump 在 Speed bump - Wikipedia 的相關結果
Speed humps typically limit vehicle speeds to about 24–32 km/h (15–20 mph) at the hump and 40–48 km/h (25–30 mph) at the midpoint between humps, depending on ... ... <看更多>
speed bump 在 Speed Bumps vs. Speed Humps | Traffic Management Blog 的相關結果
A speed bump generally slows traffic to 2–10 mph, giving both people and cars time to react safely to one another. Speed bumps are rarely used on public roads ... ... <看更多>
speed bump 在 speed bump中文(繁體)翻譯:劍橋詞典 的相關結果
speed bump 的例句. speed bump. In pedestrian areas, speed bumps are often placed to slow cars, preventing them from going too fast near ... ... <看更多>